The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความเชื่อพื้นฐานของการศึกษาผู้ใหญ่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooktrat, 2020-07-05 11:38:15

ความเชื่อพื้นฐานของการศึกษาผู้ใหญ่

ความเชื่อพื้นฐานของการศึกษาผู้ใหญ่

Keywords: ความเชื่อพื้นฐานของการศึกษาผู้ใหญ่

ความเช่ือพนื้ ฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/
การศึกษานอกระบบ

ความเช่ือพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้ หญ่/การศึกษานอกระบบ เช่ือวา่ คนมีความแตกต่างกนั
อยา่ งหลากหลาย ท้งั รูปลกั ษณะภายนอก ภมู ิหลงั พ้นื ฐานทางครอบครัว ฯลฯ ความ

1 ตอ้ งการของคนจึงไมเ่ ท่าเทียมกนั ไม่เหมือนกนั แตส่ ิ่งหน่ึงที่ทุกคนตอ้ งการคือ “ความสุข”

ความสุขของ แต่ละคนจะเกิดข้ึนได้ ต่อเม่ือมนุษย์ กบั สภาวะแวดลอ้ มที่ เป็ นวถิ ีชีวติ ของตน
สามารถปรับเขา้ หากนั ไดอ้ ยา่ งกลมกลืน จนเกิดความพอดีและพงึ พอใจ ความสุขของแต่ละ
คนจึงไม่จาเป็ นตอ้ งเหมือนกนั เมื่อมนุษยต์ อ้ งการความสุข เป็นเป้ าหมายสูงสุดของชีวิต
การคิดตดั สินใจเลือกกระทาหรือไม่ กระทาใดๆ ลว้ นตอ้ งใชเ้ หตุผล หรือขอ้ มลู มา
ประกอบการคิด อยา่ งนอ้ ย 3 ดา้ น คือ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเอง ขอ้ มูลเกี่ยวกบั สงั คม และขอ้ มูล
ทางวชิ าการ

ทฤษฎกี ารเรียนรู้สาหรับผู้ใหญ่สมยั ใหม่
ซึ่งมสี าระสาคญั ดงั ต่อไปนี้

1. ความตอ้ งการและความสนใจ ผใู้ หญ่จะถูกชกั จูงใหเ้ กิดการเรียนรู้ไดดี ถา้ ตรงกบั ความตอ้ งการ และ
ความสนใจ ในประสบการณ์ที่ผา่ นมา เขาจะเกิดความพึงพอใจ เพราะฉะน้นั ควรเร่ิมตน้ ในสิ่งเหล่าน้ีอยา่ ง
เหมาะสม โดยเฉพาะการจดั กิจกรรมท้งั หลาย ที่ตอ้ งการใหผ้ ใู้ หญ่เกิดการเรียนรู้
2. สถานการณ์ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ชีวติ ผใู้ หญ่ การเรียนรู้ของผใู้ หญจ่ ะไดผ้ ลดี ถา้ หากถือเอาตวั ผใู้ หญ่เป็น
ศูนยก์ ลางในการเรียนการสอน ดงั น้นั การจดั หน่วยการเรียนที่เหมาะสมเพอื่ การเรียนรู้ของผใู้ หญ่ ควรจะ
ยดึ ถือสถานการณ์ท้งั หลาย ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ชีวติ ผใู้ หญเ่ ป็ นหลกั สาคญั มิใช่ตวั เน้ือหาวชิ าท้งั หลาย

2 3. การวเิ คราะห์ประสบการณ์ เน่ืองจากประสบการณ์ เป็ นแหล่งการเรียนรู้ที่มีคุณค่ามากที่สุดสาหรับ
ผใู้ หญ่ ดงั น้นั วธิ ีการหลกั สาหรับการศึกษาผใู้ หญ่กค็ ือ การวเิ คราะห์ถึงประสบการณ์ของผใู้ หญ่ แตล่ ะคน
อยา่ งละเอียด วา่ มีส่วนไหนของประสบการณ์ ที่จะนามาใชใ้ นการเรียนการสอนไดบ้ า้ ง แลว้ จึงหาทาง
นามาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนต์ ่อไป
4. ผใู้ หญต่ อ้ งการเป็นผนู้ าตนเอง ความตอ้ งการท่ีอยใู่ นส่วนลึกของผใู้ หญ่ คือ การมีความรู้สึกตอ้ งการท่ี
จะสามารถนาตนเองได้ เพราะฉะน้นั บทบาทของครู จึงควรอยใู่ นกระบวนการสืบหา หรือคน้ หาคาตอบ
ร่วมกบั ผเู้ รียน มากกวา่ การทาหนา้ ที่ส่งผา่ น หรือเป็นส่ือสาหรับความรู้ แลว้ ทาหนา้ ท่ีประเมินผลวา่ เขา
คลอ้ ยตามหรือไมเ่ พียงใด
5. ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลจะเพิ่มมากข้ึนเร่ือยๆ ในแตล่ ะบุคคล เมื่อมี
อายเุ พิ่มมากข้ึน เพราะฉะน้นั การสอนผู้ ใหญจ่ ะตอ้ งเตรียมการดา้ นน้ีอยา่ งดีพอ เช่น รูปแบบของการเรียน
การสอน เวลาที่ใชส้ อน สถานที่สอน เป็ นตน้

ปรัชญาคดิ เป็ น

ดร.โกวทิ วรพิพฒั น์ อดีตปลดั กระทรวงศึกษาธิการ และเคยเป็นอธิบดีกรมการ
ศึกษานอกโรงเรียนไดอ้ ธิบายถึง คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องคน ในการดารงชี วติ อยใู่ น
สังคม ที่มีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว รุนแรง และซบั ซอ้ น ไวว้ า่ “คิดเป็น” มาจากความ
เชื่อพ้ืนฐานเบ้ืองตน้ ที่วา่ คนมีความแตกตา่ งกนั เป็นธรรมดา แต่ทุกคนมีความตอ้ งการ
สูงสุดเหมือนกนั คือ ความสุขในชีวติ คนจะมีความสุขในชีวติ ได้ ตอ้ งมีการปรับตวั เอง

3 และสงั คมสิ่งแวดลอ้ มใหเ้ ขา้ หากนั อยา่ งกลมกลืน จนเกิดความพอดี นาไปสู่ ความพอใจ
และมีความสุข คนท่ีจะทาไดเ้ ช่นน้ี ตอ้ งรู้จกั คิด รู้จกั ใช้ สติปัญญา รู้จกั ตวั เอง และธรรมชาติ
สังคมส่ิงแวดลอ้ มเป็นอยา่ งดี สามารถแสวงหาขอ้ มูลที่เกี่ยวขอ้ งอยา่ งหลากหลายและ
พอเพยี ง นามาพจิ ารณาขอ้ ดี ขอ้ เสียของแต่ละเร่ืองเพ่ือนามาใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการตดั สินใจ
อาจกล่าวไดว้ า่ “คิดเป็น” เป็ นแนวคิดที่สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ ท่ีสอนใหบ้ ุคคลสามารถ
พน้ ทุกข์ และพบความสุขไดด้ ว้ ยการคน้ หาสาเหตุของปัญหา สาเหตุของทุกข์ ซ่ึงส่งผลให้
บุคคลผนู้ ้นั สามารถอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข
นกั วชิ าการไดใ้ หค้ วามหมายของ “คิดเป็ น” ไวห้ ลากหลาย เป็นตน้ วา่ หมายถึง
การวเิ คราะห์ ปัญหาและการแสวงหา คาตอบหรือทางเลือก เพอื่ แกป้ ัญหา หรือดบั ทุกข์
ในอีกความหมายหน่ึง “คิดเป็ น” หมายถึง การคิดอยา่ งรอบคอบเพ่ือแกป้ ัญหา โดยอาศยั
ขอ้ มลู ดา้ นตนเอง ดา้ นสังคมและสิ่งแวดลอ้ ม และดา้ นวชิ าการ มาเป็นองคป์ ระกอบในการ
คิดตดั สินใจแกป้ ัญหา นอกจากน้ี “คิดเป็น” ยงั หมายถึง การคิดที่ดี มีหลกั การในการ
ดารงชีวติ ท่ีถูกตอ้ งที่สุด หากบุคคลใดนาไปใช้ เป็นแนวคิดในการแกป้ ัญหาท่ีเป็ นอุปสรรค
ในการดารงชีวติ ดว้ ยการใชข้ อ้ มลู ท่ีเป็นจริงและเพยี งพอ กจ็ ะช่วยใหแ้ กไ้ ขปัญหาได้

ความหมายของ
การคดิ เป็ น

“คิดเป็น” หมายถึง การวเิ คราะห์ ปัญหาและการแสวงหาคาตอบหรือทางเลือกเพอื่ แกป้ ัญหา
หรือดบั ทุกขใ์ นอีกความหมายหน่ึง “คิดเป็น” หมายถึง การคิดอยา่ งรอบคอบเพื่อแกป้ ัญหา
โดยอาศยั ขอ้ มลู ของตนเอง ดา้ นสงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม และดา้ นวชิ าการมาเป็นองคป์ ระกอบ
ในการคิดตดั สินใจแกป้ ัญหา นอกจากน้ี “คิดเป็น” ยงั หมายถึง การคิดท่ีดี มีหลกั การในการ
ดารงชีวติ ท่ีถูกตอ้ งที่สุด หากบุคคลใดนาไปใช้ เป็นแนวคิดในการแกป้ ัญหาที่เป็นอุปสรรค

4 ในการดารงชีวติ ดว้ ยการใชข้ อ้ มลู ที่เป็นจริงและเพียงพอ กจ็ ะช่วยใหแ้ กไ้ ขปัญหาได้

จากความหมายของ “คิดเป็น” ท้งั 3 ความหมาย จะเห็นไดว้ า่ มีทิศทางไปในทางเดียวกนั คือ
1. ปรัชญาน้ีมีไวเ้ พื่อแกป้ ัญหา
2. สิ่งสาคญั ท่ีสุดในการตดั สินใจแกป้ ัญหาคือ ข้อมูล
3. ขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจ ตอ้ งเป็นขอ้ มูลจริง และมีจานวนมากพอต่อการ

ตดั สินใจ
4. ในความหมายของขอ้ มูล ปรัชญาน้ี ใชข้ อ้ มูลใกลต้ วั ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ปัญหาเหล่าน้นั

ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลตนเอง ขอ้ มลู สงั คมสิ่งแวดลอ้ ม และขอ้ มลู วชิ าการ
5. การคิดเป็นมีลกั ษณะเป็นพลวตั ร หมายถึง ปรับเปล่ียนไดเ้ สมอ ในกรณีที่

เปลี่ยนแปลงขอ้ มูลหรือเป้ าหมายชีวติ

ความสาคญั ของการคิดเป็น

การคิดท่ีผา่ นกระบวนการอยา่ งเป็นระบบ จะส่งผลใหก้ ารปฏิบตั ิมีประสิทธิภาพและเกิด
ความสาเร็จไดง้ ่าย อาจกล่าวไดว้ า่ กระบวนการแกป้ ัญหาดว้ ยปรัชญาคิดเป็น มีความสาคญั
ต่อสงั คม คือ ช่วยสร้างสนั ติสุขใหเ้ กิดกบั สังคม เพราะถา้ คนส่วนใหญ่ยดึ หลกั การคิดดว้ ย
กระบวนการคิดเป็น การมองปัญหาจึงมองอยา่ งเป็นเหตุเป็นผลสมจริง ความขดั แยง้ จะ
ลดลงหรือไม่เกิดความขดั แยง้ ข้ึน เมื่อไม่มีความขดั แยง้ เกิดข้ึน สงั คมกจ็ ะมีแต่ความสุข
ดงั น้นั อาจสรุปความสาคญั ของการคิดเป็น ไดด้ งั น้ี

1. สามารถแกไ้ ขปัญหาที่เกิดข้ึนกบั ตนเองไดแ้ ละมกั ไม่มีขอ้ ผดิ พลาดเกิดข้ึน
2. ช่วยใหเ้ ป็นคนใจเยน็ ยดึ ถือเหตุผล และมกั ไม่ทาอะไรตามอารมณ์ของตนเอง

5 3. ช่วยใหเ้ ป็นคนท่ีมีความเช่ือมน่ั ในตนเองสูง ท้งั น้ีเกิดจากความสาเร็จของงานท่ีมีผลมาจาก
การคิดเป็ น
4. ช่วยใหไ้ ม่ ถกู หลอกดว้ ยขอ้ มลู ที่ไดร้ ับและไม่เช่ือถือสิ่งต่างๆ อยา่ งง่ายๆ แต่จะวนิ ิจฉยั
ไตร่ตรองและพิสูจนค์ วามจริงอยา่ งรอบคอบก่อนตดั สินใจเลือก
5. สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มูลที่ไดร้ ับ มาสร้างสรรคใ์ หเ้ กิดส่ิงท่ีมีประโยชนไ์ ด้

การที่คนเราจะมีคุณสมบตั ิในการเป็นคนคิดเป็นได้ ตอ้ งมีการฝึ กฝนทกั ษะเร่ืองการคิด
เป็นนอยเู่ สมอ จนกลายเป็นเรื่องปกติในชีวติ ประจาวนั แลว้ การดาเนินชีวติ กจ็ ะมีลกั ษณะ
ของคนคิดเป็น ดงั น้ี
1.มีความเชื่อวา่ ปัญหาที่เกิดข้ึนเป็นเรื่องธรรมดา สามารถแกไ้ ขได้
2. การคิดท่ีดีตอ้ งใชข้ อ้ มลู หลายๆ ดา้ น (ตนเอง สังคม วชิ าการ)
3.เชื่อวา่ ขอ้ มูลมีการเปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ
4. สนใจท่ีจะวเิ คราะห์ขอ้ มูลอยเู่ สมอ
5. รู้วา่ การกระทาของตนเองมีผลต่อสังคม
6. ทาแลว้ ตดั สินใจแลว้ เกิดความสบายใจและเตม็ ใจรับผดิ ชอบ

7.

แก ไขป ญหาในชวี ิตประจําวนั อย างเป นระบบ
8. รู จกั ชง่ั นํ้าหนกั คณุ ค าของการกระทํากบั สง่ิ รอบ ๆ ด าน

การเชื่อมโยงความเช่ือพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้ หญ่/
การศึกษานอกระบบ สู่ปรัชญาคิดเป็น

ความเช่ือพ้นื ฐานทางการศกึ ษาผใู้ หญ่หรือการศึกษานอกระบบ ท่ีวา่ คนเราทุกคน
มีความแตกต่างกนั แต่ทุกคนตอ้ งการความสุข ดงั น้นั ความสุขของแต่ละคนจึง
แตกต่างกนั โดยความสุขของคนจะเกิดข้ึนไดก้ ต็ ่อเม่ือมีการปรับตวั เองกบั
ส่ิงแวดลอ้ มใหเ้ ขา้ หากนั ไดอ้ ยา่ งผสมกลมกลืนจนเกิดความพอดี อยา่ งไรกต็ าม
สงั คม สิ่งแวดลอ้ มไม่ได้ หยดุ นิ่ง แต่จะมีการเปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา
ก่อใหเ้ กิดปัญหา ความไม่สบายกายไม่สบายใจข้ึนไดเ้ สมอ กระบวนการปรับ
ตนเองกบั สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม ใหผ้ สมกลมกลืนจึงตอ้ งดาเนินไปอยา่ งต่อเนื่องและ

6 ทนั เหตุการณ์ คนท่ีจะทาไดเ้ ช่นน้ีตอ้ งเขา้ ใจในความเป็นจริงของธรรมชาติ สังคม
สิ่งแวดลอ้ มเป็นอยา่ งดี สามารถแสวงหาขอ้ มลู ท่ี เก่ียวขอ้ งอยา่ งหลากหลายและ
เพียงพอ อยา่ งนอ้ ย 3 ประการ คือ
ขอ้ มลู ทางวชิ าการ ขอ้ มลู ทางสังคมและส่ิงแวดลอ้ ม และขอ้ มูลท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั
ตนเอง มาเป็นหลกั ในการวเิ คราะห์ปัญหา เพอ่ื เลือกแนวทางการตดั สินใจท่ีดี
ที่สุดในการแกป้ ัญหาหรือสภาพการณ์ที่เผชิญอยอู่ ยา่ งรอบคอบ เพ่อื ปรับตวั เอง
และสงั คมส่ิงแวดลอ้ ม ใหผ้ สมกลมกลืนจนเกิดความพอดี พอเพียง และมี
ความสุขในชีวติ หากไดล้ งมือปฏิบตั ิตามแนวทางท่ีไดต้ ดั สินใจแลว้ ผลที่ออกมา
ยงั ไม่พอใจ ไม่มีความสุข กย็ งั มีสติ ไม่กระวนกระวาย แต่พยายามทบทวนศึกษา
ทาความเขา้ ใจกบั ปัญหา คน้ ควา้ หาขอ้ มลู เพิม่ เติม กลบั เขา้ สู่กระบวนการคิดใหม่
เพอ่ื เลือกทางปฏิบตั ิใหม่ หมุนเวยี นไปอยา่ งต่อเน่ือง จนกวา่ จะพอใจ ซ่ึงเรียกได้
วา่ “คนคิดเป็น” นน่ั เอง

ขอ้ มูลท่ีใชใ้ นการประกอบการคิด การคิดเพื่อแกป้ ัญหาต่างๆ น้นั
จาเป็นตอ้ งใช้ ขอ้ มลู มาประกอบ
1. ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ตนเอง หมายถึง การรู้จกั การคิด อยา่ งนอ้ ย 3 ประการ
ตนเอง อยา่ งถ่องแท้ เที่ยงธรรม โดยพจิ ารณา
ความพร้อมดา้ นการเงิน สุขภาพอนามยั ความรู้ ไดแ้ ก่
อายุ และวยั รวมท้งั การมีเพ่ือนฝงู และอื่นๆ

7 2. ขอ้ มลู เก่ียวกบั สงั คม หมายถึง สังคม และ
ส่ิงแวดลอ้ ม หมายถึง คนอื่นนอกเหนือจากเราและ
3. ขอ้ มลู เกี่ยวกบั วชิ าการ ครอบครัว จะเรียกวา่ บุคคลที่ 3 กไ็ ด้ คือ ดูวา่ สงั คมเขา
หมายถึง ความรู้ทางวชิ าการ คิดอยา่ งไรกบั การตดั สินใจของเราเขาเดือดร้อนไหม
เป็นความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ หรือ เขารังเกียจไหม เขาชื่นชมดว้ ยไหม เขามีใจปันใหเ้ รา
ความรู้วชิ าการ ในเร่ืองที่เราจะตอ้ งใช้ ไหม รวมตลอดถึง เศรษฐกิจ และ สังคม น้นั ๆ เหมาะ
ประกอบการตดั สินใจ กบั เร่ืองที่เราตดั สินใจ หรือไมร่ วม ท้งั ขนบธรรมเนียม
ประเพณี คุณธรรม และค่านิยมของสงั คม

ขอ้ มลู ท้งั 3 ประการน้ี ตอ้ งใช้ ประกอบกนั จึงจะช่วยให้เกิดการวเิ คราะห์พิจารณาท่ีดี
ที่ถูกตอ้ งมากกวา่ การใช้ ขอ้ มูลเพียงดา้ นใดดา้ นหน่ึงเทา่ น้นั ซ่ึงปกติมกั จะตดั สินใจกนั ดว้ ย
ขอ้ มลู ดา้ นเดียว ซ่ึงอาจมีการพิจารณาวา่ เหมาะสมกบั ตนเองแลว้ เหมาะสมกบั คนส่วนใหญ่
แลว้ หรือเหมาะสมตามตารา หรือจากคาแนะนาทางวชิ าการแลว้ อาจเป็นเหตุใหต้ ดั สินใจ
ผดิ พลาดได้

แบบทดสอบ

ขอ้ 1 การคิดเป็นหมายถึง

ก. ชอบท่ีจะคิด ข. คิดอยา่ งลึกซ้ึง

ค. คิดอยา่ งมีขอ้ มลู เพยี งพอ ง. คิดอยา่ งแยบยล

ขอ้ 2 ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งที่สุด

ก. การย้าคิดย้าทา เป็นเพราะการขาดขอ้ มลู

ข. การคิดอยา่ งหาขอ้ ยตุ ิไม่ไดเ้ พราะมีขอ้ มลู มากเกินไป

ค. ส่ิงสาคญั ในการตดั สินใจ คือ ขอ้ มูล

ง. คนท่ีมีความคิดมกั ไม่อบั จน

ขอ้ 3 ขอ้ ใดไม่ใช่ความเช่ือพ้ืนฐาน ของการศึกษาผใู้ หญ่

ก. คนทุกคนแตกต่างกนั ข. คนทุกคนตอ้ งการร่ารวย
ง. คนทุกคนมีความตอ้ งการไมเ่ หมือนกนั
8 ค. คนทุกคนตอ้ งการความสุข
ขอ้ 4 ขอ้ ใดคือความหมายของปรัชญาคิดเป็น

ก. การวเิ คราะห์ปัญหาและแสวงหาคาตอบ ข. การพฒั นาวชิ าการและสร้างองคค์ วามรู้

ค. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและการสร้างอาชีพ ง. การพฒั นาตนเองและการสร้างประสบการณ์

เฉลยแบบทดสอบ

ขอ้ 1 การคิดเป็นหมายถึง
ก. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพ่ิมเติม
ข. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในวธิ ีการท่ีถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพิ่มเติม
ค. (ถูกตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนเขา้ ใจในวธิ ีการท่ีถูกตอ้ ง
ง. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพิ่มเติม

ขอ้ 2 ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งท่ีสุด
ก. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพม่ิ เติม
ข. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในวธิ ีการท่ีถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพมิ่ เติม
ค. (ถูกตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนเขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง
ง. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพิม่ เติม

ขอ้ 3 ขอ้ ใดไม่ใช่ความเชื่อพ้ืนฐาน ของการศึกษาผใู้ หญ่

9 ก. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพิม่ เติม

ข. (ถูกตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนเขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง
ค. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพม่ิ เติม
ง. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในวธิ ีการท่ีถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพิ่มเติม
ขอ้ 4 ขอ้ ใดคือความหมายของปรัชญาคิดเป็น
ก. (ถูกตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนเขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง
ข. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในวธิ ีการท่ีถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพ่มิ เติม
ค. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในวธิ ีการท่ีถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพิ่มเติม
ง. (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง ควรทบทวนเพิม่ เติม

มอบหมายกิจกรรม

ใหผ้ เู้ รียนสารวจตนเอง วา่ เคยประสบปัญหาสาคญั อะไรบา้ งท่ีหนกั ใจท่ีสุด เลือกมา 1 ปัญหาแลว้
ตอบคาถาม โดยการบนั ทึกส้ัน ๆ ในแตล่ ะขอ้ ท่ีกาหนดให้
1. ช่ือปัญหา ............................................................................................................................
2. ลกั ษณะของปัญหา ปัญหาการเรียน

ปัญหาการงาน
ปัญหากบั ครอบครัว
ปัญหาสังคม
อ่ืน ๆ (ระบุ)
3. สาเหตุ หรือที่มาของปัญหา .................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

10 .........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
4. อธิบายผลเสีย หรือผลกระทบที่เกิดข้ึนจากปัญหาดงั กล่าว
.........................................................................................................................................................................
5. ปัญหาน้นั ไดม้ ีการแกไ้ ขเป็ นท่ีพอใจหรือไม่ แกไ้ ขอยา่ งไร
.........................................................................................................................................................................
ขอให้ผู้เรียนทากจิ กรรมแล้วเขยี นลงบนกระดาษ A4

ถ่ายรูปส่งให้ครูผ่านทาง กลุ่ม LINE

ให้นักเรียนทุกคนทาแบบประเมนิ เมอื่ เสร็จสิ้นการเรียนรู้ ตามลงิ้ ค์

https://forms.gle/6b6HcFiVSJofcSa49

คณะผู้จดั ทา

ที่ปรึกษา ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายวรรณวจิ กั ษณ์ กศุ ล
ครูผชู้ ่วย
นายสุธี วรประดิษฐ ครูอาสาสมคั รฯ
ครูอาสาสมคั รฯ
คณะดาเนินงาน ครู กศน.ตาบล

นางสาวกิตติวรา ภวู านร
นายณรงคว์ ทิ ย์ สุภาภา
นางนฤบล แขง็ ขนั ธุ์
นางสาวภทั รนนั ต์ มะโนกิจ

คณะบรรณาธิการ ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
หวั หนา้ กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั
นายสุธี วรประดิษฐ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นกั วชิ าการศกึ ษา สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
11 นางสาวสุประวณี ์ กลีบสมุทร พนกั งานขบั รถหอ้ งสมุดเคลื่อนท่ี
สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาววรรณภสั สร ศรีสวา่ งวรกลุ
นายอคั รพล เรียเตม็ พนกั งานขบั รถหอ้ งสมุดเคลื่อนท่ี

ผู้ออกแบบปก ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
หวั หนา้ กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั
นายอคั รพล เรียเตม็ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด

ผ้คู วบคุมการดาเนินงาน

นายสุธี วรประดิษฐ
นางสาวสุประวณี ์ กลีบสมุทร

12


Click to View FlipBook Version