The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9.ยาสามัญประจำบ้าน ยาแผนโบราณ ประถม ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooktrat, 2021-01-20 06:58:59

9.ยาสามัญประจำบ้าน ยาแผนโบราณ ประถม ม.ต้น

9.ยาสามัญประจำบ้าน ยาแผนโบราณ ประถม ม.ต้น

Keywords: วิชาสุขศึกษาพละศึกษา

ยาสามญั ประจาบา้ น



~1~

ยาสามญั ประจาบา้ น ยาแผนโบราณและยามสมุนไพรรวมถึงความปลอดภยั ในการใชย้ า
หลกั และวิธีการใช้ยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร

ปัจจุบนั มีการสนบั สนุนใหใ้ ช้ “สมนุ ไพร” ในการรักษาโรคตา่ ง ๆ และ
มีผลิตภณั ฑส์ มุนไพรออกมามากจนเกิดการสบั สนระหวา่ ง “สมนุ ไพร”
และ “ยาแผนโบราณ” ซ่ึง “ยาสมนุ ไพร”น้นั จะหมายถึง ยาที่ไดจ้ าก
พฤกษชาติ สตั ว์ หรือแร่ ซ่ึงมิไดผ้ สมปรุงหรือแปรสภาพในขณะท่ี “ยาแผนโบราณ”
เป็นการนาเอาสมนุ ไพรมาแปรรูปแลว้ อาจจะอยใู่ นรูปยาน้า ยาเมด็ หรือแคปซูล ซ่ึงยา
แผนโบราณน้ี การจะผลิตหรือนาสงั่ เขา้ มาจะตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจาก อย. ก่อน รวมท้งั
การขายยาแผนโบราณตอ้ งขายเฉพาะในร้านขายยา
แผนโบราณหรือในร้านขายยาแผนปัจจุบนั เทา่ น้นั

หลกั และวธิ ีการใช้ยาแผนโบราณความหมายของยาแผนโบราณ
ตามพระราชบญั ญตั ิ พ.ศ. 2510 ไดแ้ บง่ ออกเป็น 2 แบบ คือ ยาแผน

ปัจจุบนั และยาแผนโบราณ “ยาแผนโบราณ” คือ ยาที่มุ่งหมายสาหรบั ใชใ้ นการ
ประกอบโรคศิลป์ แผนโบราณ ซ่ึงเป็นยาที่อาศยั ความรู้จากตาราหรือเรียนสืบตอ่ กนั มา
อนั มิใช่การศึกษาตามหลกั วิทยาศาสตร์ และยาแผนโบราณ ที่ยอมรับของกฎหมายยา
จะตอ้ งปรากฏในตารายาท่ีรัฐมนตรีประกาศหรือเป็นยาที่รัฐมนตรีประกาศหรือรับข้ึน
ทะเบียนเท่าน้นั

~2~

ปัญหายาแผนโบราณที่พบในปัจจุบนั

แมว้ า่ จะมีกฎหมายและหน่วยงานที่คอยควบคุมการผลิตและการขายยาแผน
โบราณเพ่ือคุม้ ครองใหผ้ บู้ ริโภคปลอดภยั จากการใชย้ าแผนโบราณ แต่ก็ไมส่ ามารถที่
จะขจดั ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนได้ ไมว่ า่ จะเป็นการลกั ลอบผลิตและขายยาแผนโบราณ
โดยไม่ไดข้ ออนุญาตผลิตและขายจากสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยาหรือ
สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั การขายยาแผนโบราณที่ไม่ไดข้ ้ึนทะเบียนหรือยาปลอม

การเลือกซื้อยาแผนโบราณ

เพ่ือความปลอดภยั ในการใชย้ าแผนโบราณ สานกั งานคณะกรรมการอาหารและ
ยาขอแนะนาวิธีการเลือกซ้ือยาแผนโบราณ ดงั น้ี
1. ควรซ้ือยาแผนโบราณจากร้านขายยาที่มีใบอนุญาตและมีเลขทะเบียนตารับยา
2. ไม่ควรซ้ือยาแผนโบราณจากรถเร่ขาย เพราะอาจไดร้ ับยาท่ีผลิตข้ึนโดยผผู้ ลิตท่ี
ไม่ไดม้ าตรฐาน ซ่ึงอาจมีการปนเป้ื อนของจุลินทรียใ์ นระหวา่ งการผลิตอาจทาใหเ้ กิด
อนั ตรายตอ่ ผบู้ ริโภคได้
3. ก่อนซ้ือยาแผนโบราณ ควรตรวจดูฉลากยาทุกคร้ังวา่ มีขอ้ ความดงั กลา่ วน้ีหรือไม่ ชื่อ
ยาเลขท่ีหรือรหสั ใบสาคญั การข้ึนทะเบียนยา ปริมาณของยาที่บรรจุเลขท่ีหรืออกั ษร
แสดงคร้ังที่ผลิต

~3~

ชื่อผผู้ ลิตและจงั หวดั ทตี่ ้งั สถานท่ีผลิตยาวนั เดือน ปี ท่ีผลิตยา คาวา่ “ยาใชภ้ ายนอก”
หรือ “ยาใชเ้ ฉพาะท่ี” แลว้ แตก่ รณี ดว้ ยอกั ษรสีแดงเห็นไดช้ ดั เจน ในกรณีเป็นยาใช้
ภายนอกหรือยาใชเ้ ฉพาะท่ี คาวา่ “ยาสามญั ประจาบา้ น”

สมนุ ไพรไทยทค่ี วรรู้จกั

สมุนไพรไทยที่จะกลา่ วในท่ีน้ีจะกลา่ วเฉพาะช่ือของพืชท่ีสามารถนามาใชเ้ ป็น
ยาในการรักษา ป้องกนั และเสริมสร้างสุขภาพได้ ซ่ึงสมุนไพรไทยน้นั มีจานวน
มากมายมหาศาล ตอ่ ไปน้ีจะกลา่ วเฉพาะที่เราไดพ้ บเห็นกนั อยบู่ ่อย ๆ บางคร้ังอาจคิด
ไม่ถึงวา่ เป็นสมุนไพร พอจะยกตวั อยา่ งไดด้ งั น้ีกระเทียม หอม กระชาย กะเพรา
กระวานไทย กานพลู ขา่ ขิง ขมิ้นชนั ดีปลีตะไคร้ พริกไทย มะละกอ สบั ปะรด กลว้ ย
น้าวา้ ข้ีเหลก็ ฝักคูน ชุมเห็ดเทศ ชุมเห็ดไทย มะขามมะขามเทศ มะขามป้อม หญา้ คา
หญา้ หนวดแมว หญา้ ปักก่ิง วา่ นหางจระเข้ ใบบวั บก ใบพลบั พลึงใบแมงลกั
เพชรสงั ฆาต ฝร่ัง ทบั ทิม มงั คุด ฟ้าทะลายโจร ยอ ผกั คราดหวั แหวน บอระเพด็ ชิงชา้
ลาลี ยา่ นาง กระเจี๊ยบแดง ขลู่ ออ้ ยแดง มะกรูด มะนาว แวง้ เครือ เพกามะแวง้ ตน้ ไพล
พลชู องระอา หญา้ ปลอ้ งทอง วา่ นมหากาฬ ผกั บงุ้ ทะเล สาบเสือ กะเมง็ วา่ นหางชา้ ง
เหงือกปลาหมอทองพนั ชงั่ ประคาดีควาย พญาไร้ใบ นอ้ ยหน่า สม้ ป่ อย เอน็ อ่อน วา่ น
ชกั มดลกู หนุมานประสานกาย วา่ นน้า แก่นขนุน ชะลูด เปราะหอมวา่ นนางคา

วธิ ีใช้สมนุ ไพร

สมนุ ไพรท่ีมีการนามาใชใ้ นปัจจุบนั น้ีมกั นามาปรุงเป็นยาเพ่ือใชร้ ักษา ป้องกนั และ
สร้างเสริมสุขภาพ แต่ส่วนมากจะเป็นการรักษาโรค ท่ีพบมากมีดงั น้ี
1. ยาต้ม อาจเป็นสมุนไพรชนิดเดียวหรือหลาย ๆ ชนิดก็ไดท้ ี่
นามาตม้ เพ่ือให้

~4~

สาระสาคญั ที่มีในสมุนไพรละลายออกมาในน้า
2. ยาผง เป็นสมุนไพรที่นามาบดใหเ้ ป็นผง ซ่ึงตามร้านขาย
สมุนไพรจะมีเครื่องบด โดยคิดคา่ บดเพิ่มอีกเลก็ นอ้ ย อาจเป็น
สมุนไพรชนิดเดียวหรือหลายชนิดกไ็ ดท้ ี่นามาบดใหเ้ ป็นผงแลว้
นามาใส่กลอ่ ง ขวด หรือถุง
3. ยาชง วธิ ีเตรียมจะง่ายและสะดวกกวา่ ยาตม้ มกั มีกล่ินหอม
เตรียมโดยหน่ั เป็นชิ้นเลก็ ๆ ตากหรืออบใหแ้ หง้ แลว้ นามาชงน้าด่ืม
เหมือนกบั การชงน้าชา ปัจจุบนั มีสมุนไพรหลายอยา่ งท่ีนามาชงด่ืม มกั เป็นสมนุ ไพร
ชนิดเดียว เช่น ตะไคร้ หญา้ หนวดแมว ชาเขียวใบหมอ่ น หญา้ ปักก่ิง เป็นตน้

4. ยาลกู กลอน เป็นการนายาผงมาผสมกบั น้าหรือน้าผ้ึงแลว้ ป้ันเป็นลกู กลม ๆ เลก็ ๆ วธิ ี
รับประทานโดยการนายาลกู กลอนใส่ปาก ด่ืมน้าตาม

~5~

5. ยาเมด็ ปัจจุบนั มีการนายาผงมาผสมน้าหรือน้าผ้งึ แลว้ มาใส่เครื่องอดั เป็นเมด็
เคร่ืองมือน้ีหาซ้ือไดง้ ่าย มีราคาไม่แพง ใชม้ ือกดได้ ไมต่ อ้ งใชเ้ คร่ืองจกั ร ตามสถานที่
ปรุงยาสมนุ ไพร

6. ยาดองเหล้า ไดจ้ ากการนาสมนุ ไพรมาใส่โหลแลว้ ใส่เหลา้ ขาวลง
ไปใหท้ ว่ มสมนุ ไพร ปิ ดฝาทิ้งไวป้ ระมาณ 1-6 สปั ดาห์ แลว้ รินเอาน้า
มาด่ืมเป็นยา ปัจจุบนั มกี ารจาหน่ายเป็น “ซุม้ ยาดอง”

7. นามาใชส้ ด ๆ อาจนามาใชท้ าบาดแผล หรือใชท้ าแกพ้ ิษ เช่น วา่ น
หางจระเขผ้ กั บงุ้ ทะเล เป็นตน้ นามาตาใหแ้ หลกแลว้ พอติดไวท้ ่ีแผล
เช่น หญา้ คา ใบชุมเห็ด เป็นตน้ นามายา่ งไฟแลว้ ประคบ เช่น ใบ
พลบั พลึง เป็นตน้ หรือนามาใชเ้ ป็นอาหาร เช่น หอม กระเทียม กลว้ ยน้าวา้ ขา่ ขงิ ใบ
บวั บก เป็นตน้

ความปลอดภยั จากการใช้ยา
1. ยาน้าทุกขนาดควรเขยา่ ขวดก่อนรินยา เพื่อใหต้ วั ยาท่ีตกตะกอนกระจายเขา้ เป็นเน้ือ
เดียวกนั ไดด้ ี
2. ยาบางชนิดยงั มีขอ้ กาหนดไวไ้ มใ่ หใ้ ชร้ ่วมกบั อาหารบางชนิด เช่น หา้ มดื่มพร้อมนม
หรือน้าชา
กาแฟ เน่ืองจากมีฤทธ์ิตา้ นกนั ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดอนั ตรายหรือไม่มีผลต่อการรักษาโรคได้

~6~

3. ไมค่ วรนาตวั อยา่ งเมด็ ยา ขวดยา ซองยา หรือหลอดยาไปหาซ้ือมาใชห้ รือ
รับประทานเอง หรือใชย้ าตามคาโฆษณาสรรพคุณยาจากผขู้ ายหรือผผู้ ลิต
4. เม่ือใชย้ าแลว้ ควรปิ ดซองยาใหส้ นิท ป้องกนั ยาช้ืน และไมค่ วรเกบ็ ยาในที่แสงแดด
ส่องถึง หรือเก็บในท่อี บั ช้ืนหรือร้อนเกินไป เพราะจะทาใหย้ าเสื่อมคุณภาพ
5. เมื่อลืมรับประทานยาม้ือใดม้อื หน่ึง หา้ มนายาไปรับประทาน
รวมกบั ม้ือตอ่ ไป เพราะจะทาใหไ้ ดร้ ับยาเกินขนาดได้ ให้
รับประทานยาตามขนาดปกติในแตล่ ะม้ือตามเดิม
6.หากเกิดอาการแพย้ าหรือใชย้ าผิดขนาด เช่น มีอาการคลื่นไส้
อาเจียน บวมตามหนา้ ตาและร่างกาย มีผน่ื ข้ึนหรือแน่นหนา้ อก หายใจไม่ออก ใหห้ ยดุ
ยาทนั ทีและรีบไปพบแพทยโ์ ดยด่วน พร้อมท้งั นายาที่รับประทานไปใหแ้ พทยว์ นิ ิจฉยั
ดว้ ย
7. ไมค่ วรเกบ็ ยารักษาโรคของบคุ คลในครอบครัวปนกบั ยาอ่ืนๆยาฆา่ แมลงหรือ
สารเคมีอื่น ๆ เพราะอาจเกิดการหยบิ ยาผดิ ไดง้ า่ ย
8. ไม่ควรเก็บยารักษาโรคไวใ้ กลม้ ือเดก็ หรือในท่ีท่ีเดก็ เอ้ือมถงึ เพราะเดก็ อาจหยบิ ยา
ไปใส่ปากดว้ ยความไม่รู้และอาจเกิดอนั ตรายตอ่ ร่างกายได้
9. ควรซ้ือยาสามญั ประจาบา้ นไวใ้ ชเ้ องในครอบครัว เพือ่ ใชร้ ักษาโรคทว่ั ๆ ไปท่ีไม่
ร้ายแรง

อนั ตรายจากการใช้ยา
ยาทกุ ชนิดมีท้งั คุณและโทษ ดงั น้นั เพ่ือหลีกเลีย่ งอนั ตรายจากการใชย้ าจึงควรใชย้ า
อยา่ งระมดั ระวงั และใชเ้ ท่าที่จาเป็นจริงๆ เทา่ น้นั อนั ตรายจากการใชย้ ามีสาเหตุที่
สาคญั ดงั น้ี

~7~

ผลข้างเคยี งของยา (Side Effect)
หมายถึง ผลหรืออาการอ่ืน ๆ ของยาอนั เกิดข้ึนนอกเหนือจากผลที่ตอ้ งการใชใ้ นการ
รักษาดงั เช่น ยาแกแ้ พม้ กั จะทาใหเ้ กิดอาการง่วงซึมเป็นผลขา้ งเคียงของยา หรือเตตรา
ซยั คลีนใชก้ บั เดก็ ทาใหเ้ กิดผลขา้ งเคียง คือฟันเหลืองอยา่ งถาวร เป็นตน้ ในกรณีท่ีเกิด
ผลขา้ งเคียงของยาข้ึน ควรหยดุ ยาและหลีกเลยี่ งการใชย้ าน้นั ทนั ที
การดื้อยา (Drug Resistance)
พบมากที่สุด มกั เนื่องมาจากการใชย้ าปฏชิ ีวนะไม่ตรงกบั ชนิดของเช้ือโรคหรือใชไ้ ม่
ถูกขนาดหรือใชใ้ นระยะเวลาที่ไม่เพียงพอต่อการทาลายเช้ือโรค ซ่ึงเรียกวา่ การด้ือยา
เช่น การด้ือตอ่ ยาเตตราซยั คลีน ยาคลอแรมเฟนิคอล เป็นตน้

~8~

การติดยา (Drug Dependence)
ยาบางชนิดถา้ ใชไ้ ม่ถูกตอ้ งหรือใชต้ อ่ เน่ืองกนั ไปชวั่ ระยะเวลาหน่ึงจะทาใหต้ ิดยาขนาน
น้นั ไดเ้ ช่น ฝ่ิน มอร์ฟี น บาร์บิทเู รต แอมเฟตามนี ยากลอ่ มประสาท เป็นตน้
พษิ ของยา (Drug Toxicity)
มกั เกิดข้ึนเนื่องจากการใชย้ าเกิดขนาด สาหรับพษิ หรือผลเสียของยาอาจกลา่ ว
โดยสังเขป ไดด้ งั น้ี

1. ยาบางชนิดรับประทานแลว้ เกิดอาการไข้ ทาใหเ้ ขา้ ใจผดิ วา่ ไขเ้ กิดจากโรค ใน
รายเช่นน้ีเมื่อหยดุ ยาอาการไขจ้ ะหายไปเอง

2. ความผิดปกติของเมด็ เลือดและส่วนประกอบของเลือด ยาบางอยา่ ง เช่น ยาเฟ
นิลบิวตาโซนคลอแรมเฟนิคอล และยารักษาโรคมะเร็ง จะยบั ย้งั การทางานของไข
กระดูก ทาใหเ้ มด็ เลอื ดขาวและเมด็ เลอื ดแดงลจานวนลงกวา่ ระดบั ปกติ เป็นผลใหเ้ กิด
ภาวะโลหิตจาง

3. ความเป็นพษิ ตอ่ ตบั ถึงแมต้ บั จะเป็นอวยั วะท่ีมีสมรรถภาพสูงสุดในการกาจดั
ยา แตม่ นั กถ็ ูกกบั ตวั ยาในความเขม้ ขน้ ที่สูง จึงอาจเป็นอนั ตรายจากยาดว้ ยเหตนุ ้ีกไ็ ด้ ยา
บางขนานท่ีอาจเป็นอนั ตรายต่อเซลลข์ องตบั โดยตรง เช่น ยาจาพวก Chlorinated
hydrocarbons ยาเมด็ คุมกาเนิด ยาปฏิชีวนะจาพวกโพลิมิกซิน และวติ ามินเอ ในขนาน
สูงมากๆ อาจทาใหต้ บั หยอ่ นสมรรถภาพได้

4. ความเป็นพษิ ตอ่ ไต ไตเป็นอวยั วะที่สาคญั ที่สุดในการขบั ถา่ ยยาออกจาก
ร่างกาย ยาจาพวกซลั ฟาบางขนานอาจตกตะกอนในไต ทาใหไ้ ตอกั เสบเวลา
รับประทานยาพวกน้ีจึงควรดื่มน้ามาก ๆนอกจากน้ี ยงั มียาที่อาจทาใหเ้ กิดพิษโดยตรง
ต่อไตได้ เช่น ยานีโอมยั ซิน เฟนาเซดิน กรดบอริก ยาจาพวกเพนิซิลลิน หรือการให้
วติ ามินดีในขนาดสูงมากและเป็นเวลานาน อาจก่อใหเ้ กิดพษิ ตอ่ ไต ไตหยอ่ น
สมรรถภาพ จนถึงข้นั เสียชีวติ ได้

~9~

5. ความเป็นพษิ ตอ่ เส้นประสาทของหู ยาบางชนิดเป็นพษิ ตอ่ เสน้ ประสาทของหู
ทาใหอ้ าการหูอ้อื หูตึง และหูหนวกได้ เช่น ยาสเตร็ปโตมยั ซิน นีโอมยั ซิน กานามยั ซิน
ควนิ ิน และยาจาพวกซาลิซยั เลท เป็นตน้

6. ความเป็นพษิ ตอ่ ประสาทส่วนกลาง ยาบางขนานทาใหม้ ีอาการทางสมอง เช่น
การใชแ้ อมเฟตามีน ทาใหส้ มองถกู กระตนุ้ จนเกิดควรจนนอนไมห่ ลบั ปวดหวั กระวน
กระวาย อยไู่ มส่ ุข และชกั ได้ ส่วนยากดประสาทจาพวกบาร์บิทูเรต ถา้ ใชไ้ ปนาน ๆ จะ
ทาใหเ้ กิดอาการง่วง ซึมเศร้า จนถงึ ข้นั อยากฆา่ ตวั ตาย

7. ความเป็นพษิ ตอ่ ระบบหวั ใจและการไหลเวยี นเลือด มกั เกิดจากยากระตนุ้
หวั ใจ ยาแกห้ อบหืดไปทาใหห้ วั ใจเตน้ เร็วผดิ ปกติ

8. ความเป็นพษิ ต่อกระเพาะอาหาร ยาบางชนิด เช่น แอสไพริน เฟนิลบิวตาโซน
เพรดโซโลน อินโดเมธาซิน ถา้ รับประทานตอนทอ้ งวา่ งและรับประทานบอ่ ยๆ จะทา
ใหก้ ระเพาะอาหารอกั เสบและเป็นแผลได้

9. ความเป็นพษิ ตอ่ ทารกในครรภ์ มียาบางชนิดที่แมไ่ ม่ควรรับประทานระหวา่ ง
ต้งั ครรภ์ เช่น ยาธาลิโดไมลช์ ่วยใหน้ อนหลบั และสงบประสาท ยาฟี โนบาร์บิตาลใช้
รักษาโรคลมชกั ยาไดอะซีแพมใชก้ ลอ่ มประสาท และยาแกค้ ล่ืนไส้อาเจียน เน่ืองจาก
อาจเป็นอนั ตรายตอ่ ตวั มดลูกและตอ่ ทารกในครรภเ์ ป็นผลใหเ้ ดก็ ที่คลอดออกมามีความ
พกิ าร เช่น บางรายอาจมือกดุ ขากดุ จมกู โหว่ เพดานและริมฝีปากแหวง่ หรือบางคน
ศีรษะอาจยบุ หายไปเป็นบางส่วน ดงั น้นั แม่ในระหวา่ งต้งั ครรภค์ วรระมดั ระวงั การใช้
ยาเป็นอยา่ งยง่ิ

~ 10 ~

แบบทดสอบ (เลือกคาตอบที่ถูกเพยี งข้อเดียว)

1.ยาที่มุ่งหมายสาหรับใชใ้ นการประกอบโรคศลิ ป์ แผนโบราณเรียกวา่
ก.ยาสามญั
ข.ยาสามญั ประจาบา้ น
ค.ยาแผนโบราณ
ง.ยาแผนปัจจุบนั

2. “ ยาใชภ้ ายนอก” พมิ พอ์ กั ษรสีใด
ก.แดง
ข.เหลือง
ค.เขียว
ง.ดา

3.”ยาสมนุ ไพร” หมายถึง
ก.ยาทีไดจ้ ากเคมี
ข.ยาที่ไดจ้ ากพฤกษชาติ
ค.ยาแผนโบราณ
ง.ยาแผนปัจจุบนั

~ 11 ~

เฉลย

ข้อ 1.
ขอ้ ก X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาที่ถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิม่ เติม
ขอ้ ข X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิ่มเตมิ
ขอ้ ค / (ถกู ตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถูกตอ้ ง
ขอ้ ง X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถูกตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพ่มิ เติม
ข้อ 2.
ขอ้ ก / (ถกู ตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถูกตอ้ ง
ขอ้ ข X (ผิด) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในเน้ือหาที่ถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิ่มเตมิ
ขอ้ คX (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถูกตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิม่ เตมิ
ขอ้ ง X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพ่มิ เติม
ข้อ 3.
ขอ้ ก X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาที่ถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิ่มเติม
ขอ้ ข / (ถกู ตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจในเน้ือหาที่ถกู ตอ้ ง
ขอ้ คX (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถูกตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพ่ิมเตมิ
ขอ้ ง X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในเน้ือหาที่ถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพม่ิ เตมิ

~ 12 ~

มอบหมายกจิ กรรม
1.ใหผ้ เู้ รยี นคน้ ควา้ เนือ้ หาเก่ียวกบั ยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร
2.ใหผ้ เู้ รยี นบนั ทกึ เนือ้ หาจากการเรยี นรูผ้ ่านทางอินเตอรเ์ นต็
3.ใหผ้ เู้ รียนสรุปเนือ้ หาท่ไี ดจ้ ากการเรียนรู้ (ไมเ่ กิน 5 บรรทดั )

ขอใหผ้ เู้ รยี นทำกจิ กรรมแลว้ เขยี นลงบนกระดำษ A4

ถำ่ ยรปู สง่ ใหค้ รผู ำ่ นทำง กลมุ่ LINE

ใหน้ กั เรยี นทกุ คนทำแบบประเมนิ เมอ่ื เสร็จสน้ิ กำรเรยี นรู้
ตำม …LINK...

https://clck.ru/SsDtt

ที่ปรึกษา ~ 13 ~

นายวรรณวิจกั ษณ์ กศุ ล คณะผ้จู ัดทา
ดร.สุธี วรประดิษฐ คร้ังที่ 1 (วันท่ี 17-19 มถิ นุ ายน 2563)

คณะดาเนนิ งาน ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาวสุวรรณา สิงห์ภู่
นายอนิรุทธ์ ตนั ตระกลู หวั หนา้ กลุ่มอานวยการ สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
นางลาวลั ย์ ญาติโพธ์ิ ครู กศน.ตาบลแหลมกลดั
นางสาวจุไรรัตน์ ตอ่ โชติ ครู กศน.ตาบลชา้ งทนู
บรรณรักษห์ อ้ งสมุดเฉลิมราชฯ อ.เขาสมิง
ทีป่ รึกษา
คร้ังที่ 2 (วันที่ 21-23 ธันวาคม 2563)
ว่าท่ีร้อยโทจานงค์ นนทะมาศ
ดร.สุธี วรประดิษฐ ผอู้ านวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางภาวิณี วรประดิษฐ ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายภกั ดี พงษไ์ พบลู ย์ ขา้ ราชการบานาญ
ขา้ ราชการบานาญ
คณะดาเนินงาน
หวั หนา้ กลุ่มอานวยการ สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
นางสาวสุวรรณา สิงห์ภู่ ครูผชู้ ่วย กศน.อ.เมืองตราด
นางสาวหงษฟ์ ้า ปัสบาล ครู กศน.ตาบลแหลมกลดั
นายอนิรุทธ์ ตนั ตระกลู ครู กศน.ตาบลชา้ งทนู
นางลาวลั ย์ ญาติโพธ์ิ ครู กศน.ตาบลตะกาง
นางสาวเนตรนภา บางเพชร เจา้ หนา้ ที่บนั ทึกขอ้ มูล สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาวพิชยา นรมาศ
ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
คณะบรรณาธิการ หวั หนา้ กลุ่มอานวยการ สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
หวั หนา้ กลุม่ ส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
ดร.สุธี วรประดิษฐ หวั หนา้ กลมุ่ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบ สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
นางสาวสุวรรณา สิงหภ์ ู่ พนกั งานขบั รถหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
นางสาวสุประวีณ์ กลบี สมทุ ร
นางสาววรรณภสั สร ศรีสว่างวรกลุ ครู กศน.ตาบลตะกาง
นายอคั รพล เรียเตม็
ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
ผู้ออกแบบปก หวั หนา้ กลมุ่ ส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด

นางสาวเนตรนภา บางเพชร

ผู้ควบคุมการดาเนินงาน

ดร.สุธี วรประดิษฐ
นางสาวสุประวีณ์ กลีบสมทุ ร

~ 14 ~

ดร.สุธี วรประดิษฐ ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวั


Click to View FlipBook Version