The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

37.(ok)สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooktrat, 2020-07-12 22:07:55

37.(ok)สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี

37.(ok)สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี

บทที่ 8
สมการเคมแี ละปฏกิ ริ ิยาเคมี

การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพกบั การเปลยี่ นแปลงทางเคมี

การเปลยี่ นแปลง (Change) ของสารน้นั มี 2 ลกั ษณะ คือ
1. การเปลี่ยนแปลงทางภายภาพ (Physical Change) ไดแ้ ก่การเปล่ียนแปลงขนาดการเปล่ียนแปลง
รูปร่าง การเปลี่ยนสถานะ และการละลาย โดยที่สมบตั ิทางเคมีของสารไม่เปล่ียนนน่ั คือยงั ไม่เกิดสารใหม่
2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี (Chemical Change) เป็ นการเปลี่ยนแปลงของสารชนิดหน่ึงไปเป็น
สารชนิดอื่นท่ีมีสมบตั ิทางเคมีแตกต่างไปจากเดิม คือ มีสารใหม่ เกิดข้ึนหลกั สาคญั ที่พิจารณา คือว่า มีสาร
ใหม่เกิดข้ึนหรือไม่ ถา้ ไม่มีสารใหม่เกิดข้ึน เป็ นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ถา้ มีสารใหม่เกิดข้ึนเป็ นการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมี
ตัวอย่าง
1. การบดน้าแข็ง การทุบแกว้ ให้แตก การอดั ผงถ่านให้เป็ นถ่านอดั แท่ง เป็ นการเปลี่ยนแปลง
ขนาด รูปร่าง โดยที่สมบตั ิของสารหลงั การเปลี่ยนแปลงยงั คงเหมือนสารก่อนการเปล่ียนแปลง ลว้ นเป็นการ
เปล่ียนแปลงทางภายภาพ เพราะไม่มีสารใหม่เกิดข้ึน
2. การวางน้าแข็งทิ้งไวก้ ลายเป็ นน้า การตม้ น้าจนเดือดกลายเป็ นไอ เป็ นการเปล่ียนแปลงทาง
กายภาพ เพราะสารเพียงแต่เปลี่ยนสถานะเท่าน้นั สมบตั ิทางเคมียงั คงเหมือนเดิม ไม่มีสารใหม่เกิดข้ึน
3. การละลายเกลือในน้าเกิดเป็นน้าเกลือ ก่อนการเปล่ียนแปลงมีเกลือกบั น้า หลงั การเปล่ียนแปลง
เป็ นน้าเกลือ น้าเกลือที่เกิดข้ึนมีสมบตั ิร่วมของเกลือ กบั น้า ยงั ไม่ใช่สารใหม่การเปลี่ยนแปลงน้ีเป็ นการ
ละลาย ยงั ถือวา่ เป็นการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ
4. วางตะปูเหล็ก (ธาตุเหล็ก) ทิ้งไวใ้ นอากาศ (มีก๊าซออกซิเจน) ช้ืน (มีไอน้า) ผล คือเหล็กเกิด
สนิม กรณีน้ีเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะ สารก่อนการเปลี่ยนแปลง คือ เหล็ก ไอน้าก๊าซออกซิเจน
สารหลงั การเปลี่ยนแปลงเกิดจากการรวมตวั ทางเคมีระหว่าง สารท้งั สามน้ันเกิดเป็ นสนิมซ่ึงไม่ใช่เหล็ก
ไม่ใช่น้าและไม่ใช่ออกซิเจน มีสมบตั ิที่แตกต่างไปจากสารท้งั สามอยา่ งสิ้นเชิง ถือเป็นสารใหม่
การเปล่ียนแปลงทางเคมี มีชื่อเรียกเฉพาะว่าปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction) ตามกรณีตวั อย่าง
ข้างต้นจึงอาจกล่าวได้ว่า เหล็ก (Fe) ทาปฏิกิริ ยากับไอน้ า (H2O) และก๊าซออกซิเจน(O2) เกิดเป็ น
สารประกอบออกไซดข์ องเหลก็ เรียกวา่ สนิม (rust) นน่ั เอง

~1~

สมการเคมี (Chemical equation)

เป็นสัญลกั ษณ์ที่ใชเ้ ขียนแทนปฏิกิริยาเคมีสัญลกั ษณ์น้ีจะเป็นตวั แทนวา่ สารหน่ึง เรียกว่าสารต้งั ตน้
(Reactant เม่ือมีชนิดเดียวหรือReactants เม่ือมีมากกว่า 1 ชนิด )เกิดการเปลี่ยนแปลงแลว้ เปล่ียนไปเป็ นสาร
ใดหรือสารใดบา้ งเรียกว่า ผลผลิตหรือผลิตภณั ฑ์ ( Product ถา้ เกิดข้ึนชนิดเดียว หรือ products ถา้ เกิดข้ึน
หลายชนิด)

สัญลกั ษณ์ที่ใช้ในสมการเคมี
ในสมการเคมี สญั ลกั ษณ์ที่ใชเ้ ขียนแทนสาร ใชส้ ญั ลกั ษณ์ธาตุ (กรณีที่เป็นธาตุ) สูตรเคมี (กรณีเป็น
สารประกอบ) ใชเ้ คร่ืองหมายลูกศร (→) แทนการเปล่ียนแปลง และใชต้ วั ยอ่ บอกสถานะของสารที่เก่ียวขอ้ ง
ในสมการน้นั ๆ นอกจากน้ีอาจจะยงั ตอ้ งบอกเงื่อนไขท่ีทา ให้เกิดปฏิกิริยา เช่น ความร้อน ความดนั แสง
สว่าง เอนไซม์ ตวั เร่งปฏิกิริยา เป็ นตน้ ลองพิจารณาสมการแสดงการเผาหินปูน ที่มีแคลเซียมคาร์บอเนต
(CaCO3) เป็นองคป์ ระกอบหลกั ดงั สมการ

3( ) → ( ) + 2( )

สารต้งั ตน้ (reactant) ผลิตภณั ฑ์ (Products)

สูตรของสารที่อยู่ทางซ้ายมือของเครื่องหมายลูกศร เป็ นสารต้งั ตน้ กรณีน้ีมีชนิดเดียวคือ CaCO3
เคร่ืองหมายลูกศร บอกวา่ มีการเปล่ียนแปลง

สูตรของสารท่ีอยทู่ างขวาของเคร่ืองหมายลูกศรเป็นผลิตภณั ฑ์ กรณีน้ีมี 2 ชนิด คือ CaO กบั CO2
ตวั อกั ษรยอ่ ท่ีวงเลบ็ หลงั สูตรของสารเป็นตวั บ่งบอกสถานะของสาร ไดแ้ ก่ตวั ยอ่ ต่อไปน้ี

s มาจาก solid หมายถึง สารน้นั เป็นของแขง็

l มาจาก liquid หมายถึง สารน้นั เป็นของเหลว

g มาจาก gas หมายถึง สารน้นั เป็นกา๊ ซ

aq มาจาก aqueous หมายถึง สารน้นั เป็นสารละลายในน้า

~2~

จากสมการเคมที ีก่ าหนดให้ จะอธิบายอะไรได้บ้าง

2 3( ) + 2 ( ) → 2 ( ) + 2 ( ) + 2( )

จากสมการเคมี ที่ยกมา อธิบายไดว้ า่
1. สารต้งั ตน้ คือ สารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) ทาปฏิกิริยากบั สารละลายกรดไฮโดร

คลอริก (HCl)
2. ผลิตภณั ฑท์ ่ีเกิดข้ึน คือ สารละลายโซเดียมคอลไรด์ (NaCl) น้า และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
3. จากตวั อยา่ งน้ีจะเห็นวา่ มีส่ิงที่เพ่ิมข้ึนมาคือ ตวั เลขท่ีอยหู่ นา้ สูตรของสารในสมการเคมีในที่น้ี

เลข 2 หนา้ HCl และเลข 2 หนา้ NaCl ตวั เลขเหล่าน้ีเรียกวา่ สัมประสิทธ์ิแสดงจานวนโมลของสารในสมการ
ท่ีดุลแลว้ การเติมตวั เลขเหล่าน้ีลงไปเป็นการทาใหส้ มการเคมีน้นั เป็นไปตามกฎทรงมวล

กฎทรงมวล (Law of Conservation of Mass)

กฎทรงมวลกล่าววา่ “ในปฏิกิริยาเคมี ใด ๆ มวลของสสารจะไม่สูญหาย ไปไหนคือ มวลของสสาร
ก่อนและหลงั การทาปฏิกิริยา มีค่าเท่ากนั ”

ขยายความไดว้ ่า มวลรวมของสารต้งั ตน้ ที่ทาปฏิริยากนั กบั มวลของสารที่เกิดจากปฏิกิริยาทุกสาร
รวมกนั ตอ้ งมีคา่ เท่ากนั พจิ ารณาสมการเคมีแสดงการเกิดปฏิกิริยาระหวา่ ง ก๊าซไนโตรเจนกบั ก๊าซไฮโดรเจน
เกิดเป็นกา๊ ซแอมโมเนีย แสดงดว้ ยสมการ

2( ) + 2( ) → 3( )

ถา้ พิจารณาจานวนอะตอมของธาตุทางซ้าย มีอะตอมของ N จานวน 2 อะตอม แต่ทางขวามีจานวน
อะตอม N เพียง 1 อะตอม ซ่ึงไม่เท่ากนั และสาหรับจานวนอะตอมของธาตุ H ก็เช่นกนั ทางซ้ายมีจานวน
อะตอม H จานวน 2 อะตอม ทางขวามี 3 อะตอม ซ่ึงไม่เป็นไปตามกฎทรงมวล

ถา้ เติมตวั เลข 3 ลงหนา้ สูตรของสาร H2 และเติมเลข 2 ลงหนา้ NH3 ดงั น้ี

2( ) + 3 2( ) → 2 3( )

ทาใหจ้ านวนอะตอมของธาตุ N ทางซา้ ยและทางขวามีจานวน 2 อะตอมเท่ากนั และมีจานวนอะตอม
ของธาตุ H ทางซา้ ยและทางขวา จานวน 6 อะตอมเท่ากนั เรียกวา่ เป็นไปตามกฎทรงมวล

~3~

แสดงวา่ สมการ 2( ) + 2( ) → 3( ) เป็นสมการที่ยงั ไม่ไดด้ ุล
และ สมการ 2( ) + 3 2( ) → 2 3( ) เป็นสมการที่ดุลแลว้

การเติมตวั เลขลงไปหนา้ สูตรของสารเพ่ือทาให้สมการเคมีท่ียงั ไม่ดุล เป็ นสมการเคมีท่ีดุลแลว้ ว่า
“การดุลสมการ” ซ่ึงเป็ นการทาให้สมการเป็ นไปตามกฎทรงมวล นน่ั เองตวั เลขสัมประสิทธ์ิเป็ นการแสดง
จานวนโมลของสารน้นั ๆ ท่ีใชใ้ นการทาปฏิกิริยา หรือท่ีไดจ้ ากผลของการเกิดปฏิกิริยา

หลกั การดุลสมการเคมี

วธิ ีการดุลสมการเคมีทวั่ ไป
1. ระบุวา่ สารใดเป็นสารต้งั ตน้ และสารใดเป็นสารผลิตภณั ฑ์
2. เขียนสูตรเคมีท่ีถูกตอ้ งของสารต้งั ตน้ และสารผลิตภณั ฑ์ ซ่ึงสูตรเคมีน้ีจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
3. ดุลสมการโดยหาตวั เลขสัมประสิทธ์ิมาเติมขา้ งหนา้ สูตรเคมี เพื่อทาให้อะตอมของธาตุชนิด
เดียวกนั ท้งั ซา้ ยและขวาของสมการมีจานวนเท่ากนั
4. ตรวจสอบอีกคร้ังวา่ ถูกตอ้ งโดยมีจานวนอะตอมชนิดเดียวกนั เท่ากนั ท้งั สองขา้ ง
ตวั อยา่ ง สามารถดุลสมการไดต้ ามข้นั ตอน ดงั น้ี
1. เขียนสูตรสารต้งั ตน้ และสารผลิตภณั ฑ์

( ) + 2 4( ) → 2( ) + 2( 4)3
2. ดุลจานวนอะตอม Al โดยการเติมเลข 2 ลงหนา้ Al จะทาให้ Al ท้งั สองขา้ งเท่ากนั
3. ดุลจานวนกลุม่ ไอออน 42− โดยเติมเลข 3 ลงหนา้ H2SO4 ทาใหอ้ ะตอม S และ O ท้งั สอง
ขา้ งเท่ากนั
4. ดุลจานวนอะตอม H โดยการเติมเลข 3 ลงหนา้ H2 จะไดส้ มการเคมีที่ดุลแลว้ ดงั น้ี

2 ( ) + 3 2 4( ) → 3 2( ) + 2( 4)3( )
จากสมการท่ีดุลแลว้ มีคา่ สมั ประสิทธ์ิ หนา้ Al เป็น 2 หนา้ H2SO4 เป็น 3 หนา้ H2 เป็น3 และหนา้ Al2(SO4)3
เป็น 1 (กรณีเป็นเลข 1 จะไม่แสดงไวใ้ นสมการ)

จากสมการทดี่ ลุ แล้วข้างต้นจงึ สามารถแปลความได้ว่า

2 ( ) + 3 2 4( ) → 3 2( ) + 2( 4)3( )
จานวน 2 โมล จานวน 3 โมล จานวน 3 โมล จานวน 1 โมล

โลหะ Al จานวน 2 โมล ทาปฏิกิริ ยาพอดีกับสารละลายกรด H2SO4 จานวน 3 โมล เกิด
กา๊ ซไฮโดรเจน จานวน 3 โมล และ Al2(SO4)3 จานวน 1 โมล

~4~

ปฏิกริ ิยาเคมี

เราอาจแบ่งประเภทของปฏิกิริยาเคมีอยา่ งง่าย ๆ ได้ 3 ประเภท ดงั น้ี
1. ปฏิกิริยาการรวมตวั (combination) เป็ นปฏิกิริยาท่ีเกิดจากการรวมตวั ของสารโมเลกุลเล็ก
รวมกนั เป็นสารโมเลกลุ ใหญ่ หรือเกิดจากการรวมตวั ของธาตุซ่ึงจะไดส้ ารประกอบ
2. ปฏิกิริยาการแยกสลาย (decomposition) เป็นปฏิกิริยาท่ีเกิดการแยกสลายของสารโมเลกลุ ใหญ่
ใหไ้ ดส้ ารโมเลกุลเลก็ ลง
3. ปฏิกิริยาการแทนที่ (replacement) เป็ นปฏิกิริยาการแทนท่ีของสารหน่ึงเขา้ ไปแทนที่อีกสาร
หน่ึง
นอกจากน้ี ยงั มีปฏิกิริยาแบบอ่ืน ๆ เช่น การจดั เรียงตวั ใหม่ (Rearrangement) ซ่ึงยงั ไม่กลา่ วถึงในท่ีน้ี

อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยา
ลองพิจารณาเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลง ต่อไปน้ี
1. วางตะปูเหล็ก มวล 10 กรัมไวใ้ นอากาศช้ืน ตะปูเหล็กเกิดเป็นสนิมอยา่ งชา้ ๆ ใชเ้ วลานานนบั
เดือน จึงจะเกิดสนิมหมด
2. วางผงเหล็ก มวล 10 กรัม เท่ากนั ไวใ้ นอากาศช้ืน เวลาผ่านไปเพียง 2 วนั ผงเหล็กเกิดสนิม
ท้งั หมด
ปฏิกิริยาเคมีขา้ งตน้ เป็ นการเกิดสนิมเหล็ก จากเหล็กมวลเท่ากนั คือ 10 กรัม ซ่ึงก่อให้เกิดผลผลิต
เท่ากนั แต่กรณีตามขอ้ 1 ปฏิกิริยาเกิดชา้ กรณีตาม 2 ปฏิกิริยาเกิดไดเ้ ร็ว
เราจะกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงท้งั สองน้ีมี อตั ราการเกิดปฏิกิริยาต่างกนั อตั ราการเกิดปฏิกิริยาจึง
หมายถึง ค่าที่บอกวา่ ปฏิกิริยาเคมีน้นั ๆ เกิดไดเ้ ร็วหรือชา้ เพียงใด

~5~

ปัจจยั ที่มีผลต่ออตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการเกิดอตั ราปฏิกิริยาเคมี หมายถึงสิ่งท่ีจะมีผลทาใหป้ ฏิกิริยาเคมีเกิดข้ึน เร็วข้ึนหรือ
ชา้ ลง ไดแ้ ก่
1. ความเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ สารละลายท่ีมีความเข้มขน้ มากกว่าจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่า
สารละลายที่เจือจาง
2. พ้นื ที่ผวิ ของแขง็ ที่มีพ้นื ท่ีผวิ มากกวา่ จะเกิดปฏิกิริยาไดเ้ ร็วกวา่
3. อณุ หภูมิ ปฏิกิริยาเคมี โดยทวั่ ไปแลว้ จะเกิดปฏิกิริยาไดเ้ ร็วข้ึนเมื่ออณุ หภูมิสูงข้ึน
4. การใชต้ วั เร่งปฏิกิริยา (catalyst) เป็นสารท่ีเติมลงไปในปฏิกิริยาแลว้ ทาใหป้ ฏิกิริยาเกิดเร็วข้ึน /
ตวั หน่วงปฏิกิริยา (Inhibitor) เป็นสารท่ีเติมลงไปในปฏิกิริยาแลว้ ทาใหป้ ฏิกิริยาเกิดชา้ ลง

ผลทที่ าให้อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเปลยี่ นแปลง
การเปล่ียนแปลงปัจจยั แต่ละปัจจยั ดงั กล่าว มีผลต่ออตั ราการเกิดปฏิกิริยา ดงั น้ี
1. การเพิม่ ความเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ เป็นการเพิม่ โอกาสใหโ้ มเลกลุ ของสารต้งั ตน้ ชนกนั มากข้ึน
ปฏิกิริยาจึงเกิดไดเ้ ร็วข้ึน
2. การเพิ่มพ้ืนท่ีผิว ในกรณีของของแข็ง ก็เป็ นการเพิ่มโอกาสให้โมเลกุลของสารต้งั ตน้ ชนกนั
มากข้ึน ทาใหม้ ีโอกาสในการเกิดปฏิกิริยามากข้ึน
3. การเพ่ิมอุณหภูมิ เป็ นการทาให้โมเลกุลของสารต้ังต้นมีพลังงานจลน์สูงข้ึน จึงมีโอกาส
เปลี่ยนแปลงเป็นผลิตภณั ฑไ์ ดง้ ่ายข้ึน ปฏิกิริยาจึงเกิดเร็วข้ึน
4. การใชต้ วั เร่งหรือตวั หน่วงปฏิกิริยาเป็ นการทาให้กลไกของปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงไปจึงทาให้
ปฏิกิริยาเกิดไดเ้ ร็วข้ึน (เม่ือใชต้ วั เร่ง) หรือเกิดข้ึนไดช้ า้ ลง (เมื่อใชต้ วั หน่วง)

~6~

ปฏิกริ ิยาเคมที พี่ บในชีวติ ประจาวัน
ในชีวิตประจา วนั เราตอ้ งเก่ียวขอ้ งกบั ปฏิกิริยาเคมีอยู่ตลอดเวลา ทุกที่ทุกแห่งเพราะในร่างกายเรา
เองกเ็ กิดปฏิกิริยาเคมีเช่นกนั ตวั อยา่ งปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวติ ประจาวนั เช่น
1. ปฏิกิริยาการเผาไหมก้ ลูโคสเป็นพลงั งานเพ่ือใชใ้ นกระบวนการดารงชีวิต ท่ีเรียกวา่ การหายใจ
ระดบั เซลล์ โดยกลูโคส (C6H12O6) ถูกเผาไหมด้ ว้ ยก๊าซออกซิเจน (O2) เปล่ียนเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) และไอน้าปนออกมากบั ลมหายใจ ปฏิกิริยาน้ีปลดปล่อยพลงั งานออกมา เพื่อเป็ นตน้ กาเนิดของ
พลงั งานของร่างกาย และการเผาไหมก้ ลูโคสในบรรยากาศก็มีผลลพั ธ์เช่นเดียวกนั น้ี เพียงแต่การเผาไหมใ้ น
ร่างกายน้นั กลไกการเกิดการเปล่ียนแปลงเกิดโดยเอนไซมแ์ ละสารอื่น ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งอีกหลายชนิด
2. การเผาไหม้ของกามะถนั การเผาไหม้ของกามะถนั ไม่ว่าจะเป็ นกามะถันที่บริสุทธ์ิหรือ
กามะถนั ท่ีปนอยู่กับเช้ือเพลิงอ่ืน ๆ เช่น ถ่านหินท่ีใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เช้ือเพลิงกลุ่มน้ามนั เตา
เป็นตน้ การเผาไหมก้ ามะถนั หรือสารที่มีกามะถนั ปนอยดู่ ว้ ย จะทาใหก้ ามะถนั ทาปฏิกิริยากบั ก๊าซออกซิเจน
ในอากาศเปล่ียนเป็ นก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ สามารถทาปฏิกิริยากบั ก๊าซ
ออกซิเจนเกิดเป็นก๊าซซลั เฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3)
3. ปฏิกิริยาการหมกั น้าตาลเป็นแอลกอฮอล์ โดยจุลินทรียก์ ลุ่มยสี ตแ์ ละรา โดยใชเ้ อมไซมผ์ ลผลิต
สุดทา้ ยของปฏิกิริยา ปฏิกิริยาน้ีใชใ้ นการหมกั น้าตาลเป็นเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ เช่น ไวน์ เป็นปฏิกิริยาที่คน
ทวั่ ไปใชป้ ระโยชน์มาเป็นเวลานาน ต้งั แต่สมยั โบราณ นอกจากน้ียงั พบเหตุการณ์น้ี ในการหมกั ขนมปังซ่ึง
ใส่ยีสต์ลงไปด้วย ในเน้ือขนมปังมีน้าตาลเป็ นสารต้งั ตน้ เอนไซม์จากยีสต์จะไปเปล่ียนน้าตาลให้เป็ น
เอทิลแอลกอฮอล์และคาร์บอนไดออกไซด์ การท่ีเน้ือขนมปังฟูข้ึนมาเน่ืองจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
แทรกออกมาระหวา่ งท่ีหมกั หากลองดมดูในขณะหมกั จะไดก้ ลิ่นแอลกอฮอล์

~7~

แบบทดสอบหลงั เรียน

1. ปัจจยั ในขอ้ ใด ทาใหอ้ ตั ราการเกิดปฏิกิริยาเร็วข้ึน
ก. อณุ หภูมิ
ข. ตวั เร่งปฏิกิริยา
ค. พ้ืนท่ีผวิ สมั ผสั
ง. ตวั หน่วงปฏิกิริยา

2. ขอ้ ใดเป็นสาเหตขุ องระบบฟิ วชนั
ก. ธาตุเบารวมกนั เป็นธาตุหนกั
ข. ธาตุเบาแยกตวั ออกเป็น 2 ส่วน
ค. ธาตุหนกั แตกตวั ออกเป็น 2 ส่วน
ง. ธาตุหนกั สลายตวั ใหอ้ นุภาคเบตา้

3. ขอ้ ใดคือผลจากปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม
ก. การเกิดพายุ
ข. การเกิดสึนามี
ค. การเกิดฝนตกหนกั
ง. การเกิดภาวะโลกร้อน

~8~

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน

1. ปัจจยั ในขอ้ ใด ทาใหอ้ ตั ราการเกิดปฏิกิริยาเร็วข้ึน
ก. (ผดิ ) อณุ หภูมิ แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจเร่ือง สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี ควรศึกษาซ้าอีก

คร้ัง
ข. ✓(ถูกตอ้ ง) ตวั เร่งปฏิกิริยา แสดงวา่ ผเู้ รียนเขา้ ใจเร่ือง สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี
ค. (ผดิ ) พ้นื ที่ผวิ สมั ผสั แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจเร่ือง สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี ควรศึกษา

ซ้าอีกคร้ัง
ง. (ผดิ ) ตวั หน่วงปฏิกิริยา แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจเร่ือง สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี ควร

ศึกษาซ้าอีกคร้ัง
2. ขอ้ ใดเป็นสาเหตขุ องระบบฟิ วชนั
ก. ✓(ถูกตอ้ ง) ธาตุเบารวมกนั เป็นธาตุหนกั แสดงวา่ ผเู้ รียนเขา้ ใจเรื่อง สมการเคมีและปฏิกิริยา

เคมี
ข. (ผดิ ) ธาตเุ บาแยกตวั ออกเป็น 2 ส่วน แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจเร่ือง สมการเคมีและ

ปฏิกิริยาเคมี ควรศึกษาซ้าอีกคร้ัง
ค. (ผดิ ) ธาตหุ นกั แตกตวั ออกเป็น 2 ส่วน แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจเร่ือง สมการเคมีและ

ปฏิกิริยาเคมี ควรศึกษาซ้าอีกคร้ัง
ง. (ผดิ ) ธาตุหนกั สลายตวั ใหอ้ นุภาคเบตา้ แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจเร่ือง สมการเคมีและ

ปฏิกิริยาเคมี ควรศึกษาซ้าอีกคร้ัง
3. ขอ้ ใดคือผลจากปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อชีวิตและส่ิงแวดลอ้ ม
ก. (ผดิ ) การเกิดพายุ แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจเร่ือง สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี ควรศึกษาซ้า

อีกคร้ัง
ข. (ผดิ ) การเกิดสึนามี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจเรื่อง สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี ควรศึกษา

ซ้าอีกคร้ัง
ค. (ผดิ ) การเกิดฝนตกหนกั แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจเรื่อง สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี ควร

ศึกษาซ้าอีกคร้ัง
ง. ✓(ถูกตอ้ ง) การเกิดภาวะโลกร้อน แสดงวา่ ผเู้ รียนเขา้ ใจเร่ือง สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี

~9~

มอบหมายกจิ กรรม

ใหผ้ เู้ รียนศึกษาคน้ ควา้ เพิ่มเติม ในเรื่อง สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี แลว้ จดั ทาเป็น Infographic

ขอให้ผู้เรียนทากจิ กรรมแล้วเขยี นลงบนกระดาษ A4

ถ่ายรูปส่งให้ครูผ่านทาง กล่มุ LINE

ให้นักเรียนทุกคนทาแบบประเมนิ เม่ือเสร็จสิ้นการเรียนรู้ ตามลงิ้ ค์

https://forms.gle/qLJjCeZWHQUoNr4J9

~ 10 ~

ท่ีปรึกษา คณะผู้จัดทา

นายวรรณวิจกั ษณ์ กศุ ล ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายสุธี วรประดิษฐ ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด

คณะดาเนนิ งาน ครูผชู้ ่วย กศน.อาเภอคลองใหญ่
ครูอาสาสมคั ร กศน.อาเภอบ่อไร่
นางสาวสุธีรา แกลว้ เกษตรกรณ์ ครูอาสาสมคั ร กศน.อาเภอเกาะกูด
นางสาวกรกช พลสงคราม ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเขาสมิง
นางสาวกาญจนา สงั ขผ์ าด
นางจุฑารัตน์ ปลอ้ งเงิน ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
หวั หนา้ กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั
คณะบรรณาธิการ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นกั วชิ าการศึกษา สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายสุธี วรประดิษฐ พนกั งานขบั รถหอ้ งสมุดเคล่ือนที่
นางสาวสุประวณี ์ กลีบสมุทร สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด

นางสาววรรณภสั สร ศรีสวา่ งวรกลุ พนกั งานขบั รถหอ้ งสมุดเคล่ือนท่ี
นายอคั รพล เรียเตม็
ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
ผู้ออกแบบปก หวั หนา้ กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายอคั รพล เรียเตม็

ผู้ควบคุมการดาเนินงาน

นายสุธี วรประดิษฐ
นางสาวสุประวีณ์ กลีบสมุทร

~ 11 ~

~ 12 ~


Click to View FlipBook Version