The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบฝึกทักษะกีฬาเซปักตะกร้อขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แบบฝึกทักษะกีฬาเซปักตะกร้อขั้นพื้นฐาน

แบบฝึกทักษะกีฬาเซปักตะกร้อขั้นพื้นฐาน

Keywords: เซปักตะกร้อ

แบบฝก ทกั ษะกฬี าเซปก ตะกรอขนั้ พนื้ ฐาน

โดย
นายกรวิชญ เกตทุ ะนงค
ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการ
โรงเรยี นบางไทรวทิ ยา
อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
กลุม สาระการเรียนรสู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

พระบรมราโชวาท

“…การ กฬี านนั้ ยอมเปนท่ีทราบกันอยูโดยทัว่ ไปแลววา เปน ปจ จยั ในการบรหิ ารรางกายให แขง็ แรง
และฝกอบรมจิตใจใหผอ งแผว รา เรงิ รูจ ักแพ และชนะไมเอารัดเอาเปรียบกนั มีการให อภัยซง่ึ กันและ
กัน สามคั คีกลมเกลียวกัน อยางทีเ่ รียกกนั วา มี น้าํ ใจเปน นักกีฬา…”

"พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"
พระบรมราโชวาทตอนหนึง่ ในพิธีเปดการแขงขนั กรีฑาประจําป ณ กรีฑาสถานแหงชาติ

วันท่ี 1 ธนั วาคม 2498

ประวัตกิ ฬี าตะกรอ ตางประเทศ กีฬาเซปกตะกรอ

การแขง ขันตะกรอตะกรอ เปน การละเลนของไทยมาแตโบราณ แตไมมีหลักฐานแนนอนวา มีมาต้งั แตสมัย
ใด แตคาดวา ราว ๆ ตน กรุงรตั นโกสนิ ทร ประเทศอื่นท่ีใกลเคียงก็มีการเลนตะกรอ คนเลน ไมจ าํ กัดจํานวน เลนเปน
หมหู รอื เดีย่ วก็ได ตามลานท่กี วา งพอสมควร ตะกรอ ที่ใชเ ดิมใชห วายถกั เปน ลกู ตะกรอ ปจจุบัน นิยมใชลกู ตะกรอ
พลาสติก

การเตะตะกรอเปนการเลนทีผ่ ูเ ลนไดอ อก กําลงั กายทุกสัดสวน ฝก ความวองไว ความสังเกต มไี หวพรบิ
ทําใหมีบุคลกิ ภาพดี มคี วามสงา งาม และการเลนตะกรอนับไดวา เปนเอกลักษณของไทยอยางหน่งึ

ในการคน ควาหาหลกั ฐานเกย่ี วกับแหลงกาํ เนิดการกีฬาตะกรอในอดตี น้นั ยังไมส ามารถหาขอสรุปไดอยาง
ชัดเจนวา กฬี าตะกรอนัน้ กําเนดิ จากทใ่ี ด จากการสันนิษฐานคงจะไดหลายเหตผุ ลดงั น้ี

ประเทศพมา เมอ่ื ประมาณ พ.ศ. 2310 พมามาต้งั คา ยอยทู ี่โพธ์ิสามตน กเ็ ลยเลนกีฬาตะกรอ กัน ซง่ึ ทาง
พมา เรียกวา “ชงิ ลง”

ทางมาเลเซยี ก็ประกาศวา ตะกรอเปนกีฬาของประเทศมาลายูเดิมเรยี กวา ซปี ก รากา (Sepak Raga) คาํ
วา Raga หมายถงึ ตะกรา

ทางฟลปิ ปน ส ก็นยิ มเลนกันมานานแลว แตเ รยี กวา Sipak

ทางประเทศจนี กม็ กี ีฬาทคี่ ลา ยกฬี าตะกรอ แตเ ปน การเตะตะกรอชนิดทเี่ ปนลกู หนงั ปกขนไก ซ่ึงจะศกึ ษา
จากภาพเขียนและพงศาวดารจีน ชาวจนี กวางตงุ ที่เดนิ ทางไปตั้งรกรากในอเมรกิ าไดนาํ การเลนตะกรอขนไกนไ้ี ป
เผยแพร แตเ รยี กวา เตกโก (Tek K’au) ซง่ึ หมายถึงการเตะลกู ขนไก

ประเทศเกาหลี กม็ ีลักษณะคลา ยกับของจีน แตล กั ษณะของลูกตะกรอแตกตางไป คือใชด นิ เหนียวหอดว ย
ผา สําลเี อาหางไกฟ า ปก

ประเทศไทยกน็ ิยมเลนกีฬาตะกรอมายาวนาน และประยุกตจนเขา กบั ประเพณขี องชนชาติไทยอยา ง
กลมกลืนและสวยงามท้งั ดานทักษะและความคดิ

ประวัติกฬี าตะกรอ ในประเทศไทย

ในสมยั โบราณน้ันประเทศไทยเรามกี ฎหมายและวิธีการลงโทษผกู ระทาํ ความผิด โดยการนาํ เอานักโทษใส
ลงไปในสิง่ กลมๆที่สานดวยหวายใหช างเตะ แตส ่งิ ท่ชี วยสนับสนุนประวตั ขิ องตะกรอ ไดดี คอื ในพระราชนิพนธ
เรอื่ งอเิ หนาของรชั กาลท่ี 2 ในเรือ่ งมบี างตอนทกี่ ลาวถงึ การเลน ตะกรอ และท่รี ะเบยี งพระอุโบสถวัดพระศรรี ัตน
ศาสดาราม ซงึ่ เขียนเร่อื งรามเกยี รติ์ กม็ ีภาพการเลน ตะกรอแสดงไวใหอนุชนรุนหลังไดร บั รู

โดยภมู ศิ าสตรข องไทยเองกส็ งเสริมสนับสนนุ ใหเราไดทราบประวัติของตะกรอ คอื ประเทศของเราอุดมไปดวยไมไ ผ
หวายคนไทยนยิ มนําเอาหวายมาสานเปนสิ่งของเครื่องใช รวมถึงการละเลน พ้นื บา นดว ย อีกทง้ั ประเภทของกฬี า
ตะกรอ ในประเทศไทยกม็ หี ลายประเภท เชน ตะกรอ วง ตะกรอลอดหวง ตะกรอชิงธงและการแสดงตะกรอ พลกิ
แพลงตา งๆ ซ่งึ การเลน ตะกรอของประเทศอน่ื ๆน้นั มีการเลน ไมหลายแบบหลายวธิ เี ชน ของไทยเรา การเลน ตะกรอ
มีววิ ัฒนาการอยา งตอ เนือ่ งมาตามลาํ ดบั ทั้งดา นรปู แบบและวตั ถุดิบในการทําจากสมัยแรกเปน ผา , หนงั สตั ว ,
หวาย , จนถงึ ประเภทสงั เคราะห ( พลาสตกิ )

ความหมาย คาํ วาตะกรอ ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตสถาน พ . ศ . 2525 ไดใหคําจํากดั ความเอาไว
วา ” ลกู กลมสานดว ยหวายเปนตา สาํ หรับเตะ “

วิวัฒนาการการเลน กีฬาตะกรอ
การเลน ตะกรอไดม ีววิ ัฒนาการในการเลนมาอยา งตอเนือ่ ง ในสมยั แรกๆ ก็เปนเพียงการชวยกนั เตะลกู

ไมใ หตกถงึ พืน้ ตอมาเมื่อเกดิ ความชํานาญและหลีกหนีความจําเจ กค็ งมีการเรม่ิ เลน ดว ยศรี ษะ เขา ศอก ไหล มีการ
จดั เพมิ่ ทาใหย ากและสวยงามขน้ึ ตามลาํ ดบั จากนน้ั กต็ กลงวางกติกาการเลนโดยเออ้ื อํานวยตอ ผูเลน เปน สวนรวม
อาจแตกตางไปตามสภาพภมู ปิ ระเทศของแตละพน้ื ที่ แตค งมีความใกลเ คยี งกันมากพอสมควร

ตะกรอนั้นมมี ากมายหลายประเภท เชน
- ตะกรอขา มตาขาย – ตะกรอลอดบวง – ตะกรอ พลกิ แพลงเปนตน

เมอื่ มกี ารวางกตกิ าและทา ทางในการเลน อยา งลงตัวแลว กเ็ ร่มิ มกี ารแขงขนั กันเกดิ ขึ้นในประเทศไทยตาม
ประวตั ขิ องการกีฬาตะกรอ ต้ังแตอ ดตี ทไ่ี ดบ นั ทกึ ไวดงั นี้

พ.ศ. 2472 กีฬาตะกรอ เรม่ิ มีการแขง ขนั คร้งั แรกภายในสมาคมกีฬาสยาม

พ.ศ. 2476 สมาคมกฬี าสยามประชมุ จัดรางกติกาในการแขง ขนั กฬี าตะกรอขา มตาขายและเปด ใหมีการ
แขงขันในประเภทประชาชนขนึ้ เปนครัง้ แรก

พ.ศ. 2479 ทางการศกึ ษาไดมีการเผยแพรจัดฝกทักษะในโรงเรยี นมธั ยมชายและเปด ใหมีแขงขนั ดว ย

พ.ศ. 2480 ไดมกี ารประชมุ จัดทําแกไ ขรางกฎระเบียบใหสมบูรณขน้ึ โดยอยูในความควบคมุ ดูแลของ
เจา พระยาจินดารกั ษ และกรมพลศกึ ษาก็ไดอ อกประกาศรับรองอยางเปน ทางการ

พ.ศ. 2502 มีการจัดการแขง ขันกฬี าแหลมทอง คร้ังที่ 1 ข้นึ ทก่ี รุงเทพฯ มกี ารเชิญนกั ตะกรอ ชาวพมามา
แสดงความสามารถในการเลน ตะกรอ พลกิ แพลง

พ.ศ. 2504 กีฬาแหลมทองครัง้ ที่ 2 ประเทศพมาไดร ับเกียรตใิ หเ ปน เจา ภาพในการแขงขนั นกั ตะกรอของ
ไทยก็ไดไ ปรวมแสดงโชวการเตะตะกรอ แบบพลกิ แพลงดว ย

พ.ศ. 2508 กฬี าแหลมทองครง้ั ท่ี 3 จดั ขนึ้ ท่ปี ระเทศมาเลเซีย ไดม ีการบรรจกุ ารเตะตะกรอ 3 ประเภท
เขาไวใ นการแขง ขนั ดวยก็คือ

- ตะกรอวง – ตะกรอ ขามตาขาย – ตะกรอลอดบว ง

อกี ทงั้ มกี ารจดั ประชมุ วางแนวทางดานกติกาทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพ่ือสะดวกในการเลน และการ
เขาใจของผชู มในสว นรวมอีกดว ย

พอเสรจ็ สิ้นกฬี าแหลมทองคร้ังท่ี 3 กฬี าตะกรอไดรบั ความนยิ มเพ่ิมข้นึ เปนอันมาก บทบาทของประเทศ
มาเลเซียก็เร่ิมมมี ากขึ้น จากการไดเขา รว มในการประชุมตัง้ กฎกติกากีฬาตะกรอประเภทขา มตาขาย หรือทเ่ี รยี กวา
” เซปกตะกรอ ” และสง ผลใหกีฬาตะกรอขา มตาขา ย ไดรบั การบรรจเุ ขาในการแขง ขันกฬี าแหลมทองครงั้ ท่ี 4
จนถงึ ปจ จบุ ัน

ตะกรอเปน กฬี าไทยที่เลน กันแพรหลายมานานนับศตวรรษ ไมวา จะเปนตามชนบท ในวดั ในวัง ในเมือง
จะพบเหน็ การเลน ตะกรอเสมอ เพราะตะกรอ ไมตอ งใชบ รเิ วณพ้นื ทีก่ วา งขวางเหมอื นกีฬาประเภทอนื่ ๆ อุปกรณก ็
หาไดง าย ทง้ั ผเู ลนกไ็ มจํากัดรปู รา ง เพศหรอื วยั ตลอดจนไมจะกดั ผูเ ลนตายตวั อาจยดื หยุน ไดตามความเหมาะสม
การเลน ตะกรอจงึ ไดรบั ความนยิ มตลอดมาซงึ่ ผู เลนจะไดรับประโยชนจากการเลน ทง้ั ทางตรงและทางออมนับ
อเนกประการดงั นี้

1 ) ตะกรอเปนกีฬาที่ประหยัด ลงทนุ นอยแตเลน ไดหลายคน คุมคาเงิน สามารถรวมทนุ กันคนละ
เล็กละนอ ยหรอื ผลดั กันซ้อื ก็ได ท้ังลกู ตะกรอกม็ คี วามทนทาน โดยเฉพาะอยางย่ิงถารจู ักใชแ ละรจู กั เก็บรกั ษา
ใหด ี

2 ) การเลน ตะกรอเปนการใชเ วลาวางใหเปนประโยชน ทํา ใหจ ติ ใจสดชืน่ แจม ใสและที่สาํ คัญผทู เี่ ลน
ตะกรอยงั ไดช ่อื วา เปนผูห น่งึ ท่ีสงเสรมิ กฬี าศิลปะและวฒั นธรรมไทย ซึง่ ถอื ไดวา เปน การรักษาเอกลกั ษณของชาติ
อกี ดวย

3 ) การเลน ตะกรอยังเปน พื้นฐานของการเลน กีฬาปะเภทอืน่ ไดเปน อยางดี เพราะ ทาํ ใหผ ูเ ลนรูจัก
วิธกี ารครอบครองลกู รจู งั หวะเขาออก จงั หวะการเตะ โดยใหม ีความสมั พันธระหวางมอื เทา อวยั วะตา งๆ ได
เคลอ่ื นไหวสอดคลอ งกัน สรางความแขง็ แกรงของกลามเน้อื กอ ใหเ กิดความแขง็ แรงและความอดทนอกี ดว ย

4 ) การเลน ตะกรอสามารถเลน คนเดยี วก็ได หรือ ถามีผูเลน มากข้นึ กส็ ามารถปรับการเลน ไดต าม
ความเหมาะสม อันตรายจากการเลนตะกรอนนั้ มนี อยมาก เพราะจะไมมีการปะทะหรือถกู ตอ งตวั กนั ระหวา งผูเลน
ดวยกนั เอง หรอื แมแตอุปกรณก ารเลน กม็ ิไดทําใหเ กดิ อันตราย ถา ผูเ ลนรจู ักสงั เกตวามอี ุปกรณใดชํารดุ ก็
ปรบั เปลีย่ นหรือซอมแซมให พรอมกอนท่จี ะเลน การเคล่อื น ที่ดวยความระมดั ระวังกจ็ ะทําใหเกดิ การหกลม เสีย
หลักไดย าก และการเลนตะกรอ นัน้ สามารถใชอ วัยวะไดหลายสว น ทาํ ใหไ มเกดิ การบอบช้ําเฉพาะสว นใดสวนหนงึ่
ของรางกายอีกดวย

5 ) การเลนตะกรอ เปน การฝก ใหเกิดความคลองแคลววอ งไว ปราดเปรียว เพราะ ตองมคี วาม
ระมดั ระวงั ตัวและเตรียมตัวพรอมทจี่ ะเขาเลนลกู ในลักษณะตา งๆ อยตู ลอดเวลา การเคลือ่ นไหวก็ตองกระทาํ ดว ย
ความรวดเรว็ กระฉบั กระเฉง เพอื่ ใหทนั กบั จังหวะที่จะเลน ลกู

6 ) การเลน ตะกรอเปนการฝก ใหเ ปนผทู ่มี ีอารมณเ ยอื กเย็น สุขมุ รอบคอบ เพราะ การเลน หรือการ
เตะลกู แตละครั้งจะตองอาศัยสมาธิ และความตัง้ ใจอยา งแนวแน ถาหากใจรอนหรือลกุ ลี้ลุกลน การเตะแตล ะคร้ังก็
จะเสยี ไป ทาํ ใหเลน ผดิ พลาดไดบอ ยๆ ถา เปนการแขงขันก็จะพา ยแพแ กคแู ขง ขันไดง า ย

7 ) การเลน ตะกรอเปนการฝกการตดั สินใจ เพราะ กอ นการเลนลกู ทุกครงั้ จะตอ งมกี ารตดั สนิ ใจ
เก่ียวกับทศิ ทาง ความเรว็ ความแรงและลกั ษณะการหมนุ ของลกู ซงึ่ จะเปนสิ่งท่ีชว ยในการตดั สนิ ใจวาตอ งเลนลกู
ดวยทา ใด สงลูกไปยังทิศทางใด การกะระยะสงลกู เปน ตน

8 ) การเลนตะกรอจะชว ยประสานหนาท่ขี องอวัยวะในรางกายใหมรี ะบบการทํางานดขี ้ึน และเปน
การฝก ประสาทไดเปนอยา งดี เพราะการเลน ลูกแตล ะคร้งั ตองอาศัยระหวางความสมั พนั ธ ระหวา งประสาทกบั
กลา มเน้อื และอวยั วะตางๆ เพ่ือทําใหก ารเตะและการเลนลูกเปน ไปอยา งราบร่ืน นม่ิ นวลและไดจ ังหวะ ท้งั จะตอ ง
มปี ฏภิ าณไหวพรบิ มกี ารแกไขปญหาตลอดเวลาที่เลน โดยเฉพาะอยา งยิ่งในการเลน เพ่อื แขง ขนั จะตองมีการวาง
แผนการเลน โดยอาศยั ปจจัยหลายประการ เน่ืองจากการแขง ขนั จะชีไ้ ดว าใครมเี ชาวปญญา ปฏิภาณไหวพริบดีกวา
หรอื มากกวา กัน

9 ) การเลน ตะกรอ กอ ใหเ กิดความสนกุ สนานเพลดิ เพลิน ชวยผอ นคลายความตึงเครยี ดทง้ั ผูเลน และ
ผูชม การ รวมวงเลน ตะกรอมกั จะมกี ารสงเสียงแสดงความดีใจพอใจตลอดเวลาในการเลน หรือการเตะทา พลกิ
แพลงตา งๆ ของผเู ขา รว มวงอยูเสมอ จงึ กอใหเ กิดความสามัคคีระหวางผูเลนดว ยกัน รูจักหนา ที่รบั ผิดชอบและให
โอกาสแกผูอน่ื เกิดมนษุ ยสมั พันธท ่ดี ีมีความเขาอกเขา ใจ รนู สิ ยั ใจคอกนั ดีข้ึน ยอมรบั ผิดและใหอภัยกันเสมอ
นบั เปนการชว ยสง เสรมิ ใหเขา สงั คมไดดยี ่ิงข้ึนอกี ดวย

10 ) การเลน ตะกรอนัน้ เลนไดไมจาํ กัดเวลา คอื จะเลนเวลาใดกไ็ ดต ามความประสงคข องผเู ลน ทั้ง
ระยะเวลาในการเลนกไ็ มก ําหนดข้นึ อยกู บั ความเหมาะสมและความพอใจของผเู ลน

11 ) กฬี าตะกรอ เลน ไดไมจาํ กดั สถานที่ อาจจะเปนในรมหรอื กลางแจง ทั้งสภาพของสนามกไ็ มเปน
อุปสรรคมากมายนกั ขนาดของสนามก็ยืดหยุน ไดไมต ายตัวเหมอื นกีฬาอ่นื ๆ

12 ) ตะกรอ เปนกฬี าทเ่ี หมาะสมกบั บุคคลทกุ เพศทุกวัย เพราะ เปนกีฬาทไ่ี มหนักหรือเบาจนเกินไป
สามารถปรับการเลนตามความสามารถและกําลังของผูเ ลนได ทงั้ ในดา นทกั ษะกม็ หี ลายระดบั ชนั้ ซง่ึ ดเู หมือนจะทา
ทายและจูงใจผเู ลนไมรูจบส้ิน ผูเ ลนสามารถพัฒนาทกั ษะไปตามวยั นอกจากนนั้ อาจเลนเพอื่ ความสวยงาม เพ่ือ
การออกกําลังกาย เพ่อื การแสดง หรอื เพ่ือการแขงขนั กไ็ ด

ขัน้ ตอนการฝกการเลน ตะกรอดวยขางเทา ดานใน
1. ผูเลนเตรยี มรับลูกที่ลอยมา โดยยืนทรงตัวแยกขาท้ังสองขางยอ ตัวลงเล็กนอยตามองตรงไปยังลูกตะกรอ ยก
เทาท่ีจะเตะใหขางเทาดา นในขนานกบั พื้นแลวเตะลูกเปน แนวตรงและเอนตัว ไปดา นหลัง (ดังรปู ท่ี 1 - 2)

2. เม่ือลกู ท่ีเตะลอยข้นึ ผูเลน ยอเขา ขา งท่ไี มไดเ ตะ ใหเ ทาที่จะใชเตะอยดู านหลงั เหวย่ี งเทาขางที่จะเตะสัมผัสลูก
ดวยขา ง เทาดา นในเพอื่ สงลกู ไปตามทิศทางท่ีตอ งการ

การเดาะตะกรอ ดว ยหลังเทา หมายถงึ การเตะตะกรอดวยหลงั เทา เบาๆ ซาํ้ กนั หลายๆครัง้ เปน การเตะเพอ่ื
บังคบั ลกู ใหอ ยูใกลตัวในระดับสูงเกินสะเอว หลกั การฝก เชนเดียวกับการเตะตะกรอ ดวยหลังเทา แตมีขอ แตกตาง
กนั เพยี งเลก็ นอย ซง่ึ มหี ลักการเตะตะกรอ ดวยหลงั เทา ดงั น้ี

1. การเดาะลกู ดวยหลงั เทา ปลายเทาที่เดาะลูกจะกระดกขึ้น และลูกตะกรอ จะถกู หลงั เทาคอ นไปทาง
ปลายเทา บรเิ วณโคนน้ิวเทาทัง้ หา ใชป ลายเทาตวัดลูกตะกรอ ใหล อยขึ้นมาตรง ๆ

2. ยกเทาท่เี ดาะลกู ใหต ํา่ ทส่ี ุดเทาทจ่ี ะทําได
3. ขณะทีเ่ ดาะลูกควรกมตวั ไปขางหนา เลก็ นอย
4. ควรฝกเดาะลกู ตะกรอดวยหลังเทาใหไ ดทง้ั สอง

การเดาะตะกรอ ดว ยเขา
ยนื ในทา เตรียมพรอ ม มอื ถอื ลูกตะกรอ โยนแลว เดาะดวยเขาขางถนดั ตอเน่ืองกันจนกวาลูกตะกรอจะ ตก

พน้ื แลว หยบิ ลกู ตะกรอ ขึ้นมาเดาะใหม ปฏิบตั ิเหมือนเดมิ หลาย ๆ คร้งั เม่ือพจิ ารณาแลว เหน็ วา การเดาะดว ยเขา
ขางท่ีถนดั ดแี ลว ใหเปลี่ยนเดาะดวยเขา ขา งทไี่ มถ นดั บา ง หรืออาจจะสลบั การเดาะดวยเขา ทง้ั สองขางกไ็ ด

การเลน ตะกรอดวยศีรษะ
เปน ทกั ษะพืน้ ฐานทมี่ ีความสาํ คัญสาํ หรบั การเลนกฬี าเซปกตะกรอเปน อยา งมาก นยิ มใชใ นการเปดลกู เสิรฟ

การรุกดว ยศรี ษะ ( การเขก ) การรับ การสง การชงลกู หรอื การตง้ั ลกู ตะกรอ และการสกัดกน้ั หรอื การบล็อกลกู
จากการรกุ ของฝา ยตรงขาม ผูเลน จะตองฝก หัดการเลนตะกรอดวยศีรษะไดหลาย ๆ ลักษณะ โดยเฉพาะผูเลน
ตําแหนง หนาซายและหนา ขวา จะตอ งเลนตะกรอดวยศีรษะไดเ ปนอยางดี

กตกิ าเซปก ตะกรอ

ของสหพนั ธเ ซปก ตะกรอนานาชาติ (ISTAF)

ขอ 1. สนามแขงขัน (THE COURT)
1.1 สนาม พ้นื ที่ของสนามมคี วามยาว 13.40 เมตร และกวา ง 6.10 เมตรจะตอ งไมม ีสิง่ กีดขวางใด ๆ วดั

จากพ้นื สนามสงู ข้ึนไป 8 เมตร (พื้นสนามไมค วรเปน หญา หรือสนามทราย)
1.2 เสน สนาม ขนาดของเสนสนามทุกเสน ท่ีเปน ขอบเขตของสนามตองไมก วา งกวา 4 เซนตเิ มตรใหต ี

เสนจากขอบนอกเขามาในสนาม และถอื เปนสวนหนึ่งของพนื้ ที่สนามแขง ขนั เสน เขตสนามทุกเสน ตองหา งจากสิ่ง
กีดขวางอยางนอ ย 3 เมตร

1.3 เสน กลาง มีขนาดความกวางของเสน 2 เซนติเมตรโดยจะแบงพืน้ ที่ของสนามออกเปนดา นซา ยและ
ขวาเทา ๆ กัน

1.4 เสน เสย้ี ววงกลม ท่ีมุมสนามของแตล ะดานตรงเสนกลาง ใหจดุ ศูนยกลางอยูท่กี ึง่ กลางของเสนกลาง
ตัดกบั เสนขอบนอกของเสนขางเขียนเสน เส้ียววงกลมทั้งสองดานรศั มี 90 เซนติเมตร ใหตีเสน ขนาดความกวาง 4
เซนตเิ มตร นอกเขตรัศมี 90 เซนตเิ มตร

1.5 วงกลมเสริ ฟ ใหม ีรัศมี 30 เซนติเมตร โดยวัดจากขอบดา นนอกของเสน หลงั เขา ไปในสนามยาว 2.45
เมตร และวัดจากเสนขา งเขาไปในสนามยาว 3.05 เมตร ใชต รงจดุ ตัดจากเสนหลงั และเสนขา งเปนจดุ
ศูนยกลาง ใหเ ขียนเสน วงกลมขนาดความกวาง 4 เซนติเมตร นอกเขตรศั มี30 เซนติเมตร

ขอ 2. เสา (THE POST)
2.1 เสามคี วามสูง 1.55 เมตร สําหรบั ผูชาย และ 1.45 เมตร สําหรับผูหญิง เสาใหต้ังอยูอยางมั่นคงพอ

ท่จี ะทําใหตาขายตึงได โดยเสาตอ งทาํ จากวตั ถทุ ี่มีความแข็งแกรง และรศั มไี มเกิน4 เซนตเิ มตร
2.2 ตําแหนง ของเสาใหต ง้ั หรอื วางไวอยางมัน่ คงนอกสนามตรงกับแนวเสนกลางหางจากเสน ขา ง

30 เซนตเิ มตร

ขอ 3. ตาขาย (THE NET)
3.1 ตาขายใหทาํ ดวยเชอื กอยางดหี รือไนลอน มีรูตาขา ย กวาง 6-8 เซนตเิ มตรมคี วามกวา งของผืนตา

ขาย 70 เซนตเิ มตร และความยาวไมน อ ยกวา 6.10 เมตร ใหมีวัสดุท่ีทําเปนแถบ ขนาดความกวาง 5 เซนตเิ มตร
ตรงดานขางของตาขา ยท้ังสองดานจากบนถึงลา งตรงกบั แนวเสนขางซึ่งเรียกวา "แถบแสดงเขตสนาม"

3.2 ตาขายใหมีแถบหมุ ขนาดกวา ง 5 เซนตเิ มตร ทงั้ ดานบนและดานลา ง โดยมลี วดหรือเชอื กไนลอน
อยา งดรี อยผา นแถบ และขงึ ตาขายใหต งึ เสมอระดับหวั เสา ความสูงของตาขายโดยวดั จากพ้ืนถึงสว นบนของตา
ขา ยท่ีกึง่ กลางสนามมคี วามสูง 1.52 เมตร สําหรับชาย และสาํ หรับหญิง 1.42 เมตร และวดั ตรงเสาท้ังสองดา น มี
ความสูง 1.55 เมตร สาํ หรับชาย และสาํ หรบั หญิง 1.45 เมตร

ขอ 4. ลกู ตะกรอ (THE TAKRAW BALL)
4.1 ลกู ตะกรอตองมีลกั ษณะลกู ทรงกลม ทาํ ดว ยใยสงั เคราะหถ กั สานชน้ั เดยี ว
4.2 ลกู ตะกรอทีไ่ มไดเ คลือบดวยยางสงั เคราะหตองมีลักษณะดังน้ี
4.2.1 มี 12 รู
4.2.2 มจี ดุ ตัดไขว 20 จุด
4.2.3 มขี นาดเสน รอบวง 41-43 ซม. สําหรบั ชาย และ 42-44 ซม. สาํ หรบั หญงิ
4.2.4 มีนาํ้ หนกั 170-180 กรมั สําหรบั ชาย และ 150-160 กรมั สําหรับหญิง
4.3 ลกู ตะกรอ อาจมีสเี ดียวหรอื หลายสีหรือใชส ีสะทอนแสง กไ็ ด แตจ ะตอ งไมเ ปน สที ่ีเปน อปุ สรรคตอ

ผเู ลน (ลดความสามารถของผูเลน )
4.4 ลกู ตะกรออาจทาํ ดว ยยางสงั เคราะหหรือเคลือบดวยวสั ดนุ ุมท่มี คี วามคงทนเพ่อื ใหม ีความออนนมุ ตอ

การกระทบกบั ผูเลน ลักษณะของวัสดุและวธิ กี ารผลติ ลกู ตะกรอหรือการเคลอื บลกู ตะกรอดวยยางหรอื วสั ดทุ ่ีออน
นุม ตอ งไดรับการรับรองมาตรฐานจากISTAF (สหพนั ธ) กอนการใชใ นการแขง ขัน

4.5 รายการแขงขนั ระดับโลก, นานาชาติ และการแขง ขนั ระดบั ภูมภิ าคทีไ่ ดร บั รองจาก ISTAF
รวมทง้ั ในการแขงขนั โอลิมปคเกมส, เวลิ ดเ กมส, กฬี าเครอื จักรภพ, เอเช่ียนเกมส และซเี กมส ตอ งใชลกู ตะกรอ ที่
ไดรบั การรบั รองจาก ISTAF

ขอ 5. ผเู ลน (THE PLAYERS)
5.1 การแขงขันมี 2 ทีม ประกอบดว ยผูเลน ฝายละ 3 คน
5.2 ผูเลนคนหน่งึ ในสามคนจะเปน ผูเสิรฟ และอยูดา นหลงั เรยี กวา "ผูเสริ ฟ"(SERVER OR TEKONG)
5.3 ผูเลนอกี สองคนอยูด า นหนา โดยคนหน่งึ จะอยดู านซา ยและอีกคนหนึ่งจะอยูดานขวาคนทอี่ ยู

ดานซาย เรยี กวาหนาซา ย (LEFT INSIDE) และคนทอี่ ยดู านขวา เรยี กวา (RIGHT INSIDE)
5.4 ประเภททมี
5.4.1 แตล ะทีมประกอบดวยผูเลน อยางนอ ย 9 คน (3 ทมี ผูเลน ทมี ละ 3 คน)และไมเกนิ

15 คน แตใ หข ึน้ ทะเบียนเพยี ง 12 คนในการแขง ขนั
5.4.2 กอ นการแขงขัน แตล ะทีมตองมีผเู ลน ท่ขี น้ึ ทะเบียนอยา งนอ ย 9 คน ในสนามแขง ขัน

5.4.3 ทีมใดท่มี ีผูเลนนอ ยกวา 9 คน จะไมอนญุ าตใหเขาแขงขัน และถอื วาถูกปรบั เปนแพใน
การแขง ขัน

5.5 ประเภททีมเด่ยี ว
5.5.1 แตล ะทีมประกอบดว ยผูเลนอยางนอ ย 3 คน และไมเ กิน 5 คน (ผเู ลน 3 คน สาํ รอง

2 คน) ผเู ลน ทกุ คน ตอ งข้ึนทะเบียน
5.5.2 กอนการแขงขนั แตล ะทมี ตองมีผูเลนอยา งนอย 3 คน พรอ มอยูในสนาม
5.5.3 ทมี ใดมผี ูเลน นอ ยกวา 3 คน ในสนามแขงขันจะไมอ นญุ าตใหทาํ การแขงขนั และถูก

ตดั สนิ เปน แพใ นการการแขงขนั

ขอ 6. เครอื่ งแตง กายของผูเลน (PLAYER'S ATTIRE)
6.1 อปุ กรณทผี่ ูเลน ใชตองเหมาะสมกับการเลนเซปก ตะกรอ อปุ กรณใดที่ออกแบบเพือ่ เพม่ิ หรือลด

ความเร็วของลูกตะกรอ เพ่ิมความสงู ของผเู ลนหรือการเคลื่อนไหว หรือโดยทาํ ใหไดเ ปรยี บ หรอื อาจเปน อันตราย
ตอตวั ผเู ลน และคูแขงขนั จะไมไดรับอนุญาตใหใ ช

6.2 เพอื่ ปองกนั การขดั แยง หรอื โตเถียงกนั โดยไมจ าํ เปน ทมี ท่เี ขาแขง ขนั ตองใชเ ส้ือสตี างกัน
6.3 แตละทมี ตอ งมีชุดแขงขันอยางนอย 2 ชุด เปน สีออ นและสเี ขม หากทมี ที่เขา แขง ขนั ใชเสื้อสี
เดียวกัน ทมี เจาบา นตองเปลีย่ นเสอ้ื ทีม ในกรณีสนามกลางทีมที่มชี ่อื แรกในโปรแกรมแขง ขันตองเปลย่ี นสีเส้อื
6.4 อุปกรณข องผูเ ลนประกอบดวย เสอ้ื ยืดคอปกหรือไมมปี ก กางเกงขาส้ัน, ถุงเทา และรองเทา พื้นยาง
ไมม สี น สว นตา ง ๆ ของเครื่องแตงกายของผเู ลน ถือเปนสว นหนงึ่ ของรา งกาย และเสอ้ื จะตอ งอยใู นกางเกง
ตลอดเวลาการแขงขันในกรณที อี่ ากาศเย็น อนุญาตใหผูเลนสวมชุดวอรม ในการแขงขัน
6.5 เสอ้ื ผูเ ลนทุกคนจะตองตดิ หมายเลขทงั้ ดา นหนาและดานหลงั และผูเลนแตละคนตอ งใชหมายเลข
ประจําน้นั ตลอดการแขง ขัน ใหแ ตละทมี ใชหมายเลข 1-15 เทา นั้น สําหรบั ขนาดของหมายเลข ดานหลงั สงู ไมนอย
กวา 19 ซม. และสูงไมน อยกวา 10 ซม. ดา นหนา (ตรงกลางหนา อก)
6.6 หัวหนา ทีมตองสวมปลอกแขนดานซา ยของแขน และใหสีตางจากสีเสือ้ ของผูเลน
6.7 กรณีท่ไี มไดระบไุ วใ นกติกาน้ี ตอ งไดรับการรบั รองจากกรรมการเทคนคิ ของ ISTAF กอน

ขอ 7. การเปลีย่ นตวั ผเู ลน (SUBSTITUTION)
7.1 ผูเ ลนคนใดท่ีลงแขง ขนั ในแตล ะทีมหรอื ไดเปลี่ยนตวั ไปแลว จะไมอ นุญาตใหล งแขงขันในทีมอื่น ๆ

อกี สําหรบั การแขง ขนั ประเภททีมชุด เฉพาะคร้ังนั้น ๆ
7.2 การเปลีย่ นตวั ผเู ลนจะกระทําในเวลาใดกไ็ ด โดยผูจัดการทมี ย่ืนขอตอ กรรมการประจําสนาม

(Official Referee)เมือ่ ลกู ตะกรอไมไดอยใู นการเลน (ลูกตาย)
7.3 แตล ะทมี เดย่ี ว (Regu) อาจมีผเู ลนสาํ รองไมเกนิ 2 คน แตสามารถเปล่ยี นตวั ผเู ลนไดเพียง 1 คน ใน

การแขงขนั น้ัน ๆ
7.4 แตละทมี จะอนญุ าตใหเ ปลย่ี นตัวผูเลน กรณบี าดเจบ็ และไมม ีการเปลย่ี นตวั ผเู ลนมากอ น แตถาไดมี

การเปลีย่ นตวั ผูเลน ไปกอนแลว จะไมอนญุ าตใหม ีการเปลยี่ นตัวอกี และถือวา ทีมดงั กลา วแพในการแขง ขนั

7.5 ทีมใดทม่ี ีผเู ลน นอยกวา 3 คน จะไมอนุญาตใหแขงขัน เวน แตผเู ลนถูกลงโทษใหอ อกจากการ
แขงขนั ทมี น้ันสามารถเลนตอ ไดโ ดยไมม ีการเปลีย่ นตัว

ขอ 8. การเสย่ี งและการอบอุนรา งกาย (THE COIN TOSS AND WARM UP )
8.1 กอ นเรมิ่ การแขง ขนั กรรมการผูต ัดสนิ กระทาํ การเสย่ี งโดยใชเหรยี ญหรอื วัตถุกลมแบนผูชนะการ

เสย่ี งจะไดส ิทธเิ์ ลอื ก "ขา ง" หรอื เลอื ก "สง" ผแู พการเส่ียงตองปฏบิ ัตติ ามกตกิ าการเสีย่ ง
8.2 ทีมที่ชนะการเส่ยี งจะตองอบอุนรางกายเปน ระยะเวลา 2 นาที ในสนามแขงขนั กอนทมี ที่แพก าร

เสย่ี งดว ยลูกตะกรอ ท่ใี ชในการแขง ขัน โดยอนญุ าตใหม บี ุคคลในสนามเพียง 5 คน

ขอ 9. ตาํ แหนง ผเู ลน ในระหวา งการเสริ ฟ (POSITION OF PLAYERS DURING SERVICE)
9.1 เม่ือเรมิ่ เลนผเู ลน ทัง้ สองทมี ตองยนื อยใู นท่ีท่ีกาํ หนดไวใ นแดนของตนในลักษณะเตรียมพรอ ม
9.2 ผเู สริ ฟตอ งวางเทาขางหนงึ่ ในวงกลมเสิรฟ
9.3 ผูเ ลน หนา ทัง้ สองคนของฝา ยเสริ ฟตอ งยนื ในเสย้ี ววงกลมของตนเอง
9.4 ผูเลน ของฝา ยรบั (ฝายตรงขาม) จะยนื อยูท ีใ่ ดก็ไดใ นแดนของตนเอง

ขอ 10. การเริม่ เลนและการเสิรฟ (THE START OF PLAY & SERVICE)
10.1 ฝายท่ีเสิรฟ จะตองเร่ิมเสิรฟในเซ็ทแรก ฝา ยทชี่ นะในเซ็ทแรกจะเปน ผเู ริ่มเสริ ฟ ในเซท็ ทส่ี อง
10.2 ผสู งลกู จะตองโดนลูกตะกรอ เมอ่ื กรรมการตดั สินขานคะแนน หากผูเลน โยนลูกตะกรอ กอน

ท่กี รรมการผตู ดั สนิ ขานคะแนน กรรมการตอ งตกั เตอื นและใหเ ริ่มใหม หากกระทําซํ้าดังทีก่ ลา วอกี จะตัดสิน
วา "เสยี " (Fault)

10.3 ระหวา งการเสิรฟ ทันทที ี่ผูเสริ ฟ เตะลูกตะกรออนุญาตใหผูเ ลน ทุกคนเคลอื่ นท่ีไดใ นแดนของตน
10.4 การเสิรฟท่ีถกู ตอ งเมื่อลกู ตะกรอ ขามตาขา ย ไมว าลกู ตะกรอ จะสัมผสั ตาขายหรือไม และตกลง
ในแดนหรือขอบเขตของสนามฝายตรงขาม
10.5 ในระบบการแขง ขันแบบแพคัดออกไมจาํ เปนตองแขงขนั ในทีมที่ 3 ท้งั นี้ขึ้นอยกู ับการตัดสินใจของ
ทีมที่ชนะ
10.6 ในการแขงขนั ในระบบแบง สายตองแขงขนั ท้งั 3 ทมี หากชดุ ใดไมมที ีมที่ 3 ตองตดั สนิ เปนยอม
ใหชนะผาน และทมี ทีช่ นะผานจะไดร บั คะแนน 21 คะแนน ในแตล ะเซ็ท

ขอ 11. การผดิ กตกิ า (FAULTS)
11.1 ผูเลน ฝา ยเสริ ฟระหวา งการเสริ ฟ

11.1.1 ภายหลังจากท่ผี ูตัดสนิ ขานคะแนนแลว ผเู ลน หนา ท่ีทําหนา ท่ีโยนลูกกระทําอยางหน่งึ อยาง
ใดกับลูกตะกรอ เชน โยนลกู เลน , เคาะลูกเลน, โยนลกู ใหผเู ลน หนา อีกคนหนงึ่ เปนตน

11.1.2 ผเู ลนหนายกเทาหรอื เหยยี บเสนหรือวางเทา นอกเสน หรอื สวนหน่งึ สวนใดของรา งกายแตะ
ตาขายขณะโยนลูกตะกรอ

11.1.3 ผเู สิรฟกระโดดเสริ ฟ ในขณะเตะสง ลูก หรือเทา หลกั ท่แี ตะพน้ื เหยยี บเสน วงกลมกอนและ
ระหวางการสงลกู

11.1.4 ผเู สิรฟไมไดเตะลูกทีผ่ ูโยน โยนไปใหเ พอื่ การเสิรฟ
11.1.5 ลกู ตะกรอถูกผูเลนคนอ่ืนภายในทมี กอ นขา มไปยงั พ้นื ท่ขี องฝา ยตรงขา ม
11.1.6 ลกู ตะกรอขามตาขา ยแตตกลงนอกเขตสนาม
11.1.7 ลูกตะกรอ ไมข า มไปยงั ฝายตรงขา ม
11.1.8 ผูเลนใชม อื ขางหนึ่งขา งใดหรอื ท้งั สองขา ง หรอื สว นอ่ืนของแขนเพอ่ื ชวยในการเตะลูก แมม อื
หรือแขนไมไ ดเตะลกู ตะกรอ โดยตรง แตแตะหรือสมั ผัสสงิ่ หน่ึงส่ิงใดในขณะกระทาํ ดังกลาว
11.1.9 ผสู ง ลูกโยนลกู ตะกรอ กอ นทก่ี รรมการผูต ดั สนิ ขานคะแนนเปนครงั้
ท่ีสอง หรอื กระทาํ บอย ๆ ในการแขง ขนั
11.2 ฝา ยเสริ ฟและฝายรับในระหวา งการเสิรฟ
11.2.1 กระทําการในลกั ษณะทําใหเสยี สมาธิ หรือสงเสียงรบกวน หรอื ตะโกนไปยังฝา ยตรงขา ม
11.3 สําหรบั ผูเลนทั้งสองฝา ยระหวา งการแขงขัน
11.3.1 เหยยี บเสนแบง คร่ึงสนาม ยกเวนการเคลอ่ื นไหวตอ เนอื่ ง (Follow Through) ภายหลงั
การรุก หรือการปอ งกนั
11.3.2 ผเู ลนทส่ี ัมผสั ลกู ตะกรอในแดนของฝายตรงขา ม
11.3.3 สวนหน่งึ สวนใดของรา งกายผเู ลน ลํ้าไปในแดนของคูแ ขงขนั ไมวาจะเปนดานบนหรือดานลาง
ของตาขาย ยกเวนการเคล่อื นไหวตอ เน่อื ง (Follow Through)
11.3.4 เลนลกู เกิน 3 ครัง้ ตดิ ตอ กัน
11.3.5 ลกู ตะกรอ สัมผสั แขน
11.3.6 หยดุ ลกู หรอื ยึดลูกตะกรอ ไวใ ตแ ขน หรือระหวา งขาหรือรา งกาย
11.3.7 สวนหน่งึ สว นใดของรา งกายผเู ลนหรอื อปุ กรณ เชน รองเทา, เสื้อ, ผาพันศรี ษะแตะ
ตาขา ย หรือเสาตาขาย หรือเกา อกี้ รรมการผูตัดสิน หรอื ตกลงในแดนของฝา ยตรงขา ม
11.3.8 ลกู ตะกรอ ถูกเพดาน, หลังคา หรือผนัง หรือวัตถสุ ่งิ ใด
11.3.9 ผเู ลนคนใดท่ีใชอุปกรณภ ายนอกเพอ่ื ชวยในการเตะ

ขอ 12. การนับคะแนน (SCORING SYSTEM)
12.1 ผูเลนฝา ยเสิรฟ หรอื ฝายรับทําผดิ กตกิ า (Fault) ฝายตรงขา มจะไดคะแนนและจะไดเ ปน ผูเสิรฟ
12.2 การชนะในแตล ะเซท็ ตอ งไดค ะแนน 21 คะแนน ถาคะแนนเทา กันท่ี 20 : 20

ผูชนะตอ งไดค ะแนนตา งกนั 2 คะแนน และคะแนนสงู สดุ ไมเกนิ 25 คะแนนเม่ือคะแนนเทา กัน
20 : 20 กรรมการผตู ดั สนิ ตอ งขานวา “ดวิ สไมเกนิ 25 คะแนน" (Setting up 25 point)

12.3 การแขงขันตองชนะกัน 2 เซท็ มีการพักระหวา งเซท็ 2 นาที

12.4 ถาแตละทมี ชนะกนั ทีมละ 1 เซ็ท ตอ งมกี ารแขง ขนั ในเซท็ ท่ี 3 เรียกวา ไทเบรก
(Tiebreak)
โดยแขง ขัน 15 คะแนน เวนแตคะแนนเทา กนั ท่ี 14 : 14 ผูช นะตอ งมีคะแนนตางกนั 2 คะแนน และคะแนนสูงสดุ
ไมเ กิน 17 คะแนน กรรมการผตู ัดสินตอ งขานวา “ดิวสไมเ กิน17 คะแนน" (Setting up 17 point)

12.5 กอ นเริ่มการแขงขนั เซ็ทไทเบรก กรรมการผตู ดั สินตองใหมีการเสีย่ งเหรียญ หรือแผนกลม และ
ทีมทช่ี นะการเส่ียงตองเปน ผสู งลกู เมือ่ ทมี หนึ่งทีมใดทาํ คะแนนไดถงึ 8 คะแนน ตอ งมกี ารเปล่ยี นแดน

ขอ 13. การขอเวลานอก (TIME – OUT)
13.1 ในแตละเซท็ ถาทมี หน่ึงทมี ใดทําคะแนนถึง 11 คะแนน จะไดเวลาพัก1 นาทีในระหวางการ

แขงขนั เซ็ทไทเบรกหากทีมหนง่ึ ทมี ใดทาํ คะแนนไดถึง 8 คะแนน กจ็ ะไดพกั โดยอัตโนมัติ ระหวางเวลาพกั จะ
อนญุ าตใหม นี กั กฬี าและเจาหนา ที่อยใู นเสน หลงั เพียง 5 คน

13.2 ซง่ึ ตามขอ 14.1 จะประกอบดวยผูเ ลน 3 คน และเจาหนาที่ทมี 2 คน

ขอ 14. การหยุดการแขงขนั ชัว่ คราว (TEMPORARY SUSPENSION OF PLAY)
14.1 กรรมการผูต ัดสนิ สามารถหยุดการแขงขันชว่ั คราว เม่อื ผูเลน บาดเจบ็ และตองการ

การปฐมพยาบาล โดยใหเวลาไมเกิน 5 นาที
14.2 นักกฬี าทบี่ าดเจ็บจะไดรบั การพักไมเ กิน 5 นาที หลังจาก 5 นาทแี ลวนักกีฬาไมสามารถทําการ

แขง ขนั ตอตองมีการเปลย่ี นตัวผเู ลน แตถาทีมท่ีมีนกั กฬี าบาดเจ็บไดมกี ารเปล่ียนตัวผูเลน ไปแลว การแขง ขนั จะ
ไดร ับการประกาศใหท ีมตรงขามชนะ

14.3 ในกรณีที่มีการขดั ขวาง รบกวนการแขง ขัน หรือสาเหตุอืน่ ใด กรรมการผูตัดสินจะเปน
ผูพจิ ารณาหยดุ การแขงขันช่วั คราว โดยการหารือกบั คณะกรรมการจดั การแขง ขัน

14.4 ในการหยดุ การแขง ขนั ชว่ั คราวไมอนุญาตใหผูเลนทกุ คนออกจากสนาม และไมอ นุญาตให
ดื่มนา้ํ หรอื ไดร ับความชวยเหลือใดๆ

ขอ 15. วินยั (DISCIPLINE)
15.1 ผเู ลนทกุ คนตอ งปฏิบัติตามกตกิ าการแขง ขัน
15.2 ในระหวางการแขงขนั เฉพาะหวั หนาทมี เทา นน้ั ทีจ่ ะเปนผูติดตอ กบั กรรมการผตู ัดสินไมว าจะเปน

เรื่องทีเ่ กีย่ วกบั ตนเอง หรือเร่อื งทเี่ กย่ี วขอ งกบั ผูเ ลนในทมี หรอื เร่ืองทต่ี องการซกั ถามเพอ่ื ขออธบิ ายในการตดั สิน
ของกรรมการผูตดั สิน ซงึ่ กรรมการผตู ัดสินตองอธิบายหรอื ชี้แจงตามทห่ี ัวหนา ทมี ซักถาม

15.3 ผจู ดั การทีม, ผูฝกสอน, นักกฬี า และเจาหนา ท่ปี ระจาํ ทมี จะไมไ ดร บั อนญุ าตใหถ กเถยี งตอ การ
ตดั สินของกรรมการผูต ดั สินในระหวางการแขงขนั หรอื แสดงปฏกิ ริ ยิ าที่จะเปนผลเสียตอ การแขงขัน หากมกี าร
กระทําดังกลา วจะถอื เปนการผิดวนิ ยั รา ยแรง

ขอ 16. การลงโทษ (PANALTY)
การทาํ ผิดกติกาและผดิ วินยั จะมกี ารลงโทษดังน้ี :-
การลงโทษทางวินัย
16.1 การตักเตือน
ผเู ลน จะถูกตักเตือนและไดรบั บัตรเหลืองหากมคี วามผิดขอ หนึ่งขอ ใดใน 6 ประการดงั น้ี

16.1.1 ปฏบิ ัตติ นในลักษณะขาดวินัยและไมมนี ํา้ ใจนกั กฬี า
16.1.2 แสดงกริ ิยาและวาจาไมส ุภาพ
16.1.3 ไมปฏิบตั ิตามกติกาการแขง ขนั บอย ๆ
16.1.4 ถว งเวลาการแขง ขนั
16.1.5 เขาหรอื ออกสนามแขงขันโดยไมไ ดร ับอนุญาตจากกรรมการผูต ัดสิน
16.1.6 เจตนาเดนิ ออกจากสนามแขงขันโดยไมไดรบั อนญุ าตจากกรรมการผูตดั สิน
16.2 ความผิดทถี่ ูกใหออกจากการแขง ขนั
ผูเ ลนกระทาํ ผิดขอ ใดขอหนง่ึ ในหา ขอดังกลา วจะถูกใหอ อกจากการแขง ขนั และใหบัตรแดง ดงั น้ี

16.2.1 กระทาํ ผิดกตกิ าอยางรายแรง
16.2.2 ประพฤติผดิ รา ยแรง โดยเจตนาทําใหฝา ยตรงขามบาดเจ็บ
16.2.3 ถมน้าํ ลายใสฝายตรงขามหรือผอู ่นื
16.2.4 ใชว าจาหรือปฏิกิรยิ าหยาบคายหรือดูถูกฝา ยตรงขาม
16.2.5 ไดร บั การเตือนและบตั รเหลอื งเปนครั้งท่ี 2 ในการแขงขันนั
16.3 ผูเ ลนท่ีกระทําผดิ ถกู ตกั เตอื นดว ยบัตรเหลืองหรือใหออกจากการแขงขนั ไมว า จะเปนความผดิ ท้งั ในหรอื
นอกสนามแขง ขันท่กี ระทาํ ตอคูแ ขงขนั , ผูเลนฝา ยเดียวกัน, กรรมการผูตดั สิน, ผูชวยผูตดั สนิ หรือบุคคลอนื่ ๆ ให

พิจารณาโทษวินัย ดังน้ี :-

16.3.1 ไดรับบัตรเหลอื งใบแรก
โทษ : ตกั เตอื น

16.3.2 ไดร บั บตั รเหลืองใบทีส่ อง ในผเู ลน คนเดมิ ในเกมแขง ขนั ตา งเกม แตเ ปน รายการ
แขงขันเดยี วกนั

โทษ : พกั การแขงขัน 1 เกม
16.3.3 ไดรบั บัตรเหลอื งใบทีส่ าม หลงั จากพักการแขงขนั เพราะไดร ับบัตรเหลอื ง 2 ใบ
ในรายการแขง ขันเดยี วกันและในผูเลน คนเดิม

โทษ : พักการแขง ขนั 2 เกม ปรับเปน เงิน 100 เหรียญสหรฐั อเมรกิ า โดยสโมสร
หรือบคุ คลทผ่ี ูเลน สังกัดเปนผรู ับผิดชอบ

16.3.4 ไดร บั บัตรเหลอื ใบทสี ่ี
ไดร บั บตั รเหลืองหลงั จากตอ งพักการแขง ขนั 2 เกม จากการท่ีไดร ับบตั รเหลืองใบ

ท่สี ามในรายการ แขงขันเดยี วกันโดยผูเลน คนเดิม

โทษ : ใหพ ักการแขงขนั ในเกมตอไป และในรายการแขง ขันทร่ี บั รองโดยองคก ร
กีฬาตะกรอ ทเ่ี กยี่ วของจนกวา จะไดร บั การพิจารณาจากคณะกรรมการวนิ ยั ในเรอ่ื งดังกลาว

16.3.5 ไดร ับบัตรเหลอื ง 2 ใบ ในผเู ลน คนเดียวกนั และในเกมแขง ขนั เดยี วกนั
โทษ : พักการแขงขัน 2 เกม ปรบั เปนเงนิ 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา โดยสโมสร

หรอื บคุ ลากรที่เก่ียวขอ งเปน ผูรบั ผิดชอบไดร ับบัตรแดงในกรณีทําผดิ วนิ ัย หรือกระทําผิดกติกาในการแขงขนั ในเกม
อ่ืน ซงึ่ อยูใ นรายการ แขง ขนั เดียวกนั
16.4 ผเู ลน ทีก่ ระทาํ ผิดกติกาอยางรา ยแรง ไมว า จะกระทาํ ในสนามหรือนอกสนามแขงขนั ซึง่ กระทําผดิ ตอฝา ย
ตรงขาม, เพื่อนรว มทมี , กรรมการผตู ดั สนิ , ผูชวยผูตัดสนิ หรือบคุ คลอน่ื โดยไดร บั บตั รแดงจะไดรบั พจิ ารณาโทษ
ดงั น้ี

16.4.1 ไดรับบตั รแดง
โทษ :ใหไ ลออกจากการแขง ขนั และพกั การแขงขนั ในทกุ รายการแขงขนั ทรี่ บั รอง

จากองคก รทกี่ าํ กบั ดแู ลกีฬาเซปกตะกรอ จนกวา คณะกรรมการวนิ ยั จะมกี ารประชุม และพจิ ารณาในเร่ืองดังกลา ว

ขอ 17. ความผิดของเจาหนาทที่ มี (MISCONDUCT OF TEAM OFFICIALS)
17.1 กฎระเบยี บดานวนิ ัย จะใชก บั เจาหนา ท่ีประจาํ ทีม ในกรณีที่ทาํ ผิดวนิ ยั หรอื รบกวนการแขงขนั

ท้งั ภายในและภายนอกสนาม
17.2 เจาหนาทีป่ ระจําทีม ผใู ดประพฤตไิ มสมควรหรอื กระทาํ การรบกวนการแขงขัน จะถกู เชิญออก

จากบริเวณสนามแขงขนั โดยเจาหนา ท่จี ัดการแขง ขัน หรอื กรรมการผูตัดสิน และจะถูกพักการปฏบิ ัติหนา ท่ภี ายใน
ทมี จนกวา คณะกรรมการวินยั จะมีการประชุมเพือ่ พิจารณาตัดสนิ ปญ หาดังกลา ว

ขอ 18. บททัว่ ไป (GENERAL)
18.1 ในการแขงขันหากมีปญ หาหรอื เรือ่ งราวใด ๆ เกดิ ข้ึนซ่ึงไมไดก ําหนดหรอื ระบไุ วในกตกิ า

การแขงขนั ใหถอื การตดั สนิ ของกรรมการผูตัดสินเปนทส่ี นิ้ สุด

กตกิ านไ้ี ดรบั ความเห็นชอบจากการประชุมของสหพนั ธเ ซปกตะกรอ นานาชาติ

( ISTAF) เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2554 ณ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

บรรณานกุ รรม

___________. ประวัติกฬี าเซปก ตะกรอ. สบื คน เมื่อ 17 พฤษภาคม 2564. แหลง ท่มี า
https://sites.google.com/site/teerayutteerasan/1-prawati-kila-sepak-takrx-khwam-
pen-ma-takrx-ktika-laea-wi-thi-kar-len

___________. แบบฝก ทกั ษะกีฬาเซปกตะกรอ ขัน้ พืน้ ฐาน. สืบคน เมื่อ 17 พฤษภาคม 2564.
แหลงที่มา https://sites.google.com/site/dutchadaphornjhantha/baeb-fuk-thaksa-
phun-than-kila-sepak-takrx

___________. กติกากีฬาเซปก ตะกรอ . สบื คน เม่ือ 17 พฤษภาคม 2564. แหลง ที่มา
https://www.siamsporttalk.com/th/entertainment/sport/106-sepak-takraw/rules-
sports-sepak-takraw/542-the-net.html


Click to View FlipBook Version