กฎหมายนา่ รู้
โดย สำ� นักกฎหมาย๑
บทลงโทษการน�ำเข้า
ออนไลน์ข้อมูลอันเป็นเท็จในโลกสังคม
โลกในสังคมยุคปัจจุบันเต็มไปด้วยเทคโนโลยี ความตอ้ งการของตนเองโดยไมค่ ำ� นงึ ถงึ ความเสยี หาย
ใหม่ ๆ ท่ีถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความ ต่อผู้อ่ืน ท้ังนี้ ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม
ต้องการและอ�ำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตของ สำ� หรบั การใชส้ อ่ื ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ สงั คม และสทิ ธสิ ว่ น
มนษุ ย์ เทคโนโลยกี ารสอื่ สารทไี่ ดร้ บั ความนยิ มในขณะนี้ บุคคล เช่น การแสดงความคิดเห็นท่ีน�ำมาสู่ความ
คือ สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งหมายถึง ส่ือดิจิทัลที่เป็น แตกแยก การล่อลวง หลอกลวง การเปิดเผยข้อมูล
เคร่ืองมือในการปฏิบัติการทางสังคม (Social Tool) สว่ นบคุ คล หรอื การเผยแพรข่ อ้ มลู อนั เปน็ เทจ็ การกระทำ�
เพอ่ื ใชส้ อื่ สารระหวา่ งกนั ในเครอื ขา่ ยทางสงั คมออนไลน์ เหลา่ นี้ลว้ นสง่ ผลกระทบตอ่ ผู้ถูกกระทำ� หรือผู้ทตี่ กเปน็
(Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรม เหยอ่ื เปน็ อยา่ งมาก เพราะเทคโนโลยใี นปจั จบุ นั ทเี่ ผยแพร่
ประยุกต์บนสือ่ ตา่ ง ๆ ท่มี ีการเชอื่ มตอ่ กบั อินเทอร์เนต็ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ และงา่ ยต่อการเขา้ ถงึ ท�ำใหผ้ ลกระทบ
โดยเนน้ ผใู้ ช้ ทงั้ ทเ่ี ปน็ แบบผสู้ ง่ สารและผรู้ บั สารมสี ว่ นรว่ ม ทีเ่ กดิ ขน้ึ น้นั แผ่ขยายเป็นวงกว้าง
(Collaborative) อย่างสรา้ งสรรค์ ในการผลิตเน้ือหา ส�ำหรับประเทศไทยในขณะน้ีอยู่ในช่วงการเฝ้าระวัง
ขน้ึ เอง (User-Generate Content: UGC) ในรูปของ สถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ท่ีระบาดใน
ข้อมูล ภาพ และเสยี ง ในปจั จบุ นั ทไ่ี ด้รบั ความนยิ ม เช่น หลายประเทศ ซึ่งเป็นช่วงเดียวกับท่ีคนในสังคมติดตามข้อมูล
Facebook, YouTube, Twitter, Line, WhatsApp และ ความเคลื่อนไหวทางส่ือสังคมออนไลน์จากข่าวหลายแหล่ง
Instagram ซึ่งสอ่ื เหลา่ น้ีสร้างประโยชน์เป็นอย่างมาก เพ่ือป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และความ โคโรนา ๒๐๑๙ ที่เกิดขึ้น จึงก่อให้เกิดปัญหาการเผยแพร่
บันเทิง อย่างไรก็ตาม การใช้สื่อสังคมออนไลน์ก็ยัง “ข่าวปลอม” ในเพจ หรือการใชง้ านระดบั บคุ คล ดังนัน้ “ศูนย์
น�ำพาปัญหาต่าง ๆ เข้ามาในสังคมเป็นอย่างมาก ตอ่ ตา้ นขา่ วปลอม ประเทศไทย” หรอื Anti-Fake News Center
เพราะผู้ใช้งานบางส่วนใช้สื่อดังกล่าวเพ่ือตอบสนอง Thailand ทกี่ อ่ ตงั้ โดยกระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม
๑ พันธท์ุ ิพา หอมทิพย์. วิทยากรช�ำนาญการ, กล่มุ งานกฎหมาย ๒, ส�ำนักกฎหมาย, ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารวฒุ ิสภา.
24 สารวุฒิสภา
The Senate Newsletter
จงึ มกี ารประกาศทม่ี าขา่ วปลอมและขา่ วบดิ เบอื นเปน็ จำ� นวนมาก ความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ
ในโลกสังคมออนไลน์ ซ่ึงจะพบข่าวท่ีเกี่ยวข้องกับโรคติดเชื้อ ความมนั่ คงในทางเศรษฐกจิ ของประเทศ หรอื โครงสรา้ งพน้ื ฐาน
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ที่ได้มีการแชร์โพสต์ท้ังท่ีเป็นคลิป อันเป็นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิดความ
วิดีโอ รูปภาพ รวมถงึ ข้อมูลตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวกบั โรคดังกลา่ ว ซ่งึ ใน ตืน่ ตระหนกแกป่ ระชาชน
จ�ำนวนน้ีมีท้ังข่าวจริงและข่าวปลอม โดยทางกระทรวงดิจิทัล
เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ได้มีการตรวจสอบข่าวดังกล่าวอย่าง ฯลฯ ฯลฯ
เข้มข้น เพ่ือส่ือสารความจริง และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้
ให้แกป่ ระชาชน๒ อยูแ่ ล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพวิ เตอรต์ าม (๑) (๒) (๓) หรอื (๔)
ถา้ การกระทำ� ความผดิ ตามวรรคหนงึ่ (๑) มไิ ดก้ ระทาํ ตอ่
อยา่ งไรกต็ าม การเผยแพรข่ า่ วปลอมหรอื ขา่ วบดิ เบอื น ประชาชน แตเ่ ป็นการกระทาํ ตอ่ บคุ คลใดบคุ คลหน่งึ ผ้กู ระทาํ
ดังกล่าวในสื่อสังคมออนไลน์ถือเป็นการน�ำข้อมูลเข้าสู่ระบบ ผู้เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวต้องระวาง
คอมพิวเตอร์ และถ้าหากมีลักษณะที่น่าจะเกิดความเสียหาย โทษจําคุกไมเ่ กนิ สามปี หรือปรบั ไม่เกินหกหม่นื บาท หรอื ท้งั จํา
แก่ประชาชน หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน ทงั้ ปรบั และใหเ้ ปน็ ความผิดอันยอมความได”้ ๓
อาจเป็นการกระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการ อย่างไรก็ตาม การกระท�ำท่ีจะเป็นความผิดตามมาตรา
กระทำ� ความผิดเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๔ ๑๔ วรรคหนง่ึ (๑) ดงั กล่าวนน้ั ผู้เผยแพรข่ า่ วปลอมหรอื ขา่ ว
ซงึ่ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทำ� ความผดิ บิดเบือนจะต้องกระท�ำ “โดยทุจริตหรือโดยหลอกลวง” หาก
เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ทบ่ี ัญญัติวา่ มใิ ชก่ ารกระทำ� โดยทจุ รติ หรอื โดยหลอกลวงกจ็ ะไมเ่ ปน็ ความผดิ
นอกจากน้ี บทบัญญัติดังกล่าวยังมุ่งก�ำหนดเป็นความผิด
“มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทําความผิดท่ีระบุไว้ดังต่อไปนี้ เฉพาะการกระท�ำ “โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่
ตอ้ งระวางโทษจาํ คกุ ไม่เกนิ ห้าปี หรือปรับไมเ่ กินหน่ึงแสนบาท ประชาชน” หากเปน็ การหลอกเพ่ือน แกลง้ เพ่อื น หรือกระทำ�
หรอื ท้งั จาํ ท้ังปรบั ตอ่ บคุ คลใดบคุ คลหนงึ่ แตอ่ าจจะเกดิ ความเสยี หายแกป่ ระชาชน
ก็เปน็ ความผิด เพยี งแต่จะมอี ัตราโทษเบาลง และเป็นความผิด
(๑) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นําเข้าสู่ระบบ ท่ียอมความไดต้ ามมาตรา ๑๔ วรรคสอง
คอมพวิ เตอร์ ซ่งึ ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ที่บิดเบอื นหรอื ปลอมไม่วา่ ส�ำหรับองค์ประกอบความผิด ตามมาตรา ๑๔ วรรค
ทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดย หน่งึ (๒) กเ็ ป็นไปในท�ำนองเดยี วกัน กล่าวคอื เปน็ บทบญั ญัติ
ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน อันมิใช่การ ที่มุ่งบัญญัติเป็นความผิดเฉพาะการกระท�ำที่น่าจะเกิดความ
กระทาํ ความผดิ ฐานหมน่ิ ประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา เสยี หายตอ่ ประเทศ หรอื สาธารณะ หรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความตน่ื ตระหนก
แกป่ ระชาชน หากเปน็ การกระทำ� โดยประการทน่ี า่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ
(๒) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ผลกระทบต่อบุคคลหนึ่งบุคคลใด หรือกลุ่มบุคคลท่ีมีจ�ำนวน
อันเป็นเท็จ โดยประการทน่ี า่ จะเกดิ ความเสียหายตอ่ การรักษา ไมม่ ากพอทจี่ ะถอื วา่ เปน็ กลมุ่ ประชาชน กจ็ ะยงั ไมเ่ ปน็ ความผดิ
อย่างไรก็ดี แม้ว่าการเผยแพร่ข่าวปลอมหรือข่าว
บดิ เบอื นทเ่ี กดิ ผลกระทบตอ่ บคุ คลใดบคุ คลหนงึ่ หรอื กลมุ่ บคุ คล
ดงั กลา่ ว จะไมเ่ ปน็ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระท�ำ
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ข้างต้น แต่อาจจะเป็นความผิด
ตามกฎหมายอ่ืนได้ เช่น ความผิดฐาน “หม่ินประมาท” ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖ และมีมาตรา ๓๒๘ เปน็
บทเพ่ิมโทษ ซึง่ ไดบ้ ัญญตั ิไว้ ดงั นี้
๒ ข้อมูลออนไลน์, สืบค้นไดจ้ าก https://www.nationweekend.com/content/politics/5969, (สืบค้นเม่ือวันท่ี ๑๕ เมษายน ๒๕๖๓).
๓ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๔ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติว่าด้วยการ
กระทำ� ความผดิ เก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐.
มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ 25
June 2020
“มาตรา ๓๒๖ ผู้ใดใส่ความผู้อ่ืนต่อบุคคล ประชาชน จงึ นา่ จะยงั ไมเ่ ปน็ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ย
ทส่ี าม โดยประการทน่ี า่ จะทำ� ใหผ้ อู้ นื่ นน้ั เสยี ชอื่ เสยี ง การกระทำ� ความผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอรฯ์ มาตรา ๑๔ วรรค
ถูกดูหม่ิน หรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระท�ำความผิด
ฐานหมนิ่ ประมาท ตอ้ งระวางโทษจำ� คกุ ไมเ่ กนิ หนงึ่ ปี หน่งึ (๑) และ (๒) แต่เขา้ ขา่ ยเป็นการใส่ความนาย ข. ตอ่
หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ สองหมนื่ บาท หรอื ทงั้ จำ� ทงั้ ปรบั ” บคุ คลทสี่ าม โดยประการทน่ี า่ จะทำ� ใหน้ าย ข. เสยี ชอ่ื เสยี ง
ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง อันเป็นการกระท�ำความ
“มาตรา ๓๒๘ ถา้ ความผดิ ฐานหมน่ิ ประมาท ผิดฐานหม่ินประมาท ตามประมวลกฎหมายอาญา
ได้กระท�ำโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด มาตรา ๓๒๖ และเข้าข่ายเป็นการกระท�ำโดยการ
ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรทที่ ำ� ให้ โฆษณาที่ต้องได้รับโทษเพ่ิมขึ้น ตามมาตรา ๓๒๘
ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึก เพราะเป็นการกระท�ำที่มีการบันทึกอักษร และ
เสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระท�ำโดย
การกระจายเสียง หรือการกระจายภาพ หรือโดย กระจายภาพ หรือป่าวประกาศใน Facebook ที่มีบุคคลอ่ืน
กระท�ำการป่าวประกาศด้วยวิธีอ่ืน ผู้กระท�ำต้อง ร้เู ห็นเป็นจ�ำนวนมาก
ระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกิน จะเห็นได้ว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเก่ียวกับ
สองแสนบาท”๔ คอมพวิ เตอร์ฯ และประมวลกฎหมายอาญา มผี ลใช้บงั คับโดยตรงในการ
ควบคุมผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ให้มีความระมัดระวังในการเผยแพร่ข้อมูล
ส�ำหรับการเผยแพร่ข่าวปลอมหรือข่าว หรือแสดงความคิดเห็นท่ีจะเป็นการล่วงละเมิดต่อบุคคลอื่นบนพื้นท่ี
บดิ เบอื นทจี่ ะเปน็ ความผดิ ฐานหมนิ่ ประมาทดงั กลา่ ว สาธารณะ ซ่ึงย่อมเป็นผลโดยตรงท�ำให้ผู้ท่ีภาษาในโลกสังคมออนไลน์
นัน้ ตอ้ งมีลกั ษณะเปน็ การ “ใสค่ วาม” ผู้เสียหายต่อ เรียกกันว่า “นักเลงคีย์บอร์ด” หรือผู้ท่ีน�ำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็น
บุคคลท่ีสาม ซ่ึงเป็นบุคคลอ่ืนนอกจากผู้ใส่ความ เทจ็ ปลอม หรือบิดเบือน ตอ้ งตระหนกั ถงึ เร่อื งการโพสต์หรือแสดงความ
และผู้เสียหายเอง เช่น นาย ก. โพสต์ข้อความใน คิดเหน็ ในแง่ตา่ ง ๆ ของตนเองว่า ถา้ หากเป็นการกระท�ำที่ฝ่าฝนื กฎหมาย
Facebook ใสค่ วามนาย ข. วา่ เป็นโรคติดเชื้อไวรัส ดังกลา่ ว ยอ่ มจะเป็นความผิดและตอ้ งไดร้ ับโทษตามกฎหมาย ดงั นน้ั การ
โคโรนา ๒๐๑๙ และมีพฤติกรรมเผยแพร่เช้ือโรค เผยแพร่ข้อมูลหรอื แสดงความคดิ เหน็ ต่าง ๆ ผูใ้ ชส้ อื่ สงั คมออนไลนจ์ ึงควร
โดยไม่ล้างมือและสัมผัสของใช้ที่เพื่อนร่วมงานต้อง มีสติ และผู้อ่านก็ต้องมีวิจารณญาณในการรับข้อมูลด้วยเช่นกัน เพ่ือให้
ใช้รว่ มกัน ท�ำใหน้ าย ข. ถกู เพ่อื นรว่ มงานเกลยี ดชงั โลกแหง่ ขอ้ มลู ขา่ วสารเปน็ พน้ื ทแ่ี หง่ การสรา้ งสรรค์ และสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
ทงั้ ทไ่ี มเ่ ปน็ ความจรงิ ซงึ่ จะเหน็ ได้วา่ การกระท�ำของ หรอื เป็นพื้นที่ท่เี ป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองตอ่ ไป
นาย ก. ยงั ไมถ่ งึ ขนาดทนี่ า่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย อนงึ่ ประเดน็ เรอื่ งการบงั คบั ใชก้ ฎหมายทงั้ ๒ ฉบบั ดงั กลา่ วใหถ้ กู ตอ้ ง
แกป่ ระชาชน หรอื จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความตน่ื ตระหนกแก่ และเป็นธรรมก็ถือเป็นประเด็นที่ส�ำคัญ กล่าวคือ เมื่อประชาชนได้รับ
ความเสยี หายแลว้ ควรมชี อ่ งทางในการนำ� เรอ่ื งเขา้ สกู่ ระบวนการยตุ ธิ รรม
ท่ีสะดวกและรวดเร็ว เพื่อเป็นการเยียวยาและบรรเทาความเสียหาย
ทเ่ี กดิ ขึ้นกับผเู้ สยี หายไดอ้ ย่างทนั ท่วงที นอกจากนี้ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ยงั สมควรทจี่ ะตอ้ งมกี ารประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั
กฎหมายดังกล่าวกับประชาชน เพ่ือให้เกิดผลในเชิงป้องกันการกระท�ำ
ความผิดท่ีจะเกิดขึ้นด้วย ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรักษาความสงบเรียบร้อย
และลดผลกระทบทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ กบั สงั คมสว่ นรวม และทา้ ยทสี่ ดุ จำ� เปน็
อย่างย่ิงที่บุคคลทุกคนในสังคมควรตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการ
ใช้สื่อสังคมออนไลน์ว่า นอกจากตนเองจะมีเสรีภาพในเรื่องดังกล่าวแล้ว
ในขณะเดียวกันยังมีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิของบุคคลอื่น และต้องปฏิบัติ
ตามกฎหมายเพ่อื ประโยชนส์ ุขของสงั คมโดยรวมตอ่ ไป
๔ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖ และมาตรา ๓๒๘.
26 สารวุฒสิ ภา
The Senate Newsletter