The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noonzanarak29, 2021-04-28 12:21:02

รายงานประเมินครูผู้ช่วย-ครั้งที่-1

รายงานประเมิน-ครั้งที่-1

รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรียมความพรอ มและพฒั นาอยางเขม ตำแหนงครูผชู วย
ครง้ั ที่ ๑ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ถงึ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔

โรงเรียนอนุบาลบานดาน สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา บรุ รี ัมย เขต ๑
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

องคประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบตั ติ น

เกณฑการประเมิน บันทกึ ผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน/แหลง ขอมลู

๑.วินยั และการรกั ษาวนิ ัย ขาพเจา แสดงออกทางอารมณ กรยิ า ทา ทาง และการ • พฤติกรรม
สื่อสารไดเ หมาะสมกับกาลเทศะตอผเู รียน เชน การพดู จา • สอบสมั ภาษณครู
๑.๑ การแสดงออกทาง ไพเราะประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเปนแบบอยางทดี่ แี กล ูกศิษย ยึด
อารมณ กริยา ทา ทาง และ หลักคำสอนทางพระพทุ ธศาสนาในการดำเนนิ ชีวิต โดยหมัน่ ผูบริหาร
การสื่อสารไดเหมาะสมกบั สวดมนตและน่งั สมาธทิ ำจิตใจใหส งบ เพอื่ ใหขา พเจาสามารถ
กาลเทศะตอผเู รียน ควบคุมอารมณของตนเองไดเปนอยางดี

๑.๒ การแสดงออกทาง ขาพเจาแสดงออกทางอารมณ กรยิ า ทาทาง และการ • สมุดลงเวลาการ
อารมณ กริยา ทาทาง และ สื่อสารไดเ หมาะสมกับกาลเทศะตอผูบังคับบัญชาเพ่ือน ปฏบิ ัตงิ าน
การสอ่ื สารไดเหมาะสมกบั รวมงาน ผปู กครอง และบุคคลอืน่ เชน การพูดจาไพเราะ มี
กาลเทศะตอผบู งั คบั บัญชา สัมมาคารวะออนนอมถอม เชอ่ื ฟง และปฏิบัติตามคำสัง่ ของ • สอบสมั ภาษณครู
เพือ่ นรวมงาน ผูปกครอง ผบู ริหาร
และบุคคลอ่นื ผบู งั คบั บญั ชา
• พฤติกรรม

๑.๓ การมเี จตคตเิ ชงิ บวกกับ ขาพเจาปฏบิ ตั ติ นเปนผมู คี ุณธรรม จรยิ ธรรม เพือ่ การเปน • สอบสมั ภาษณครู
ประเทศชาติ ครูทป่ี ระกอบดวยคณุ งามและความดี ซ่ึงกระทำดว ยความ ผบู รหิ าร
สำนึกในจิตใจ เชน ความเสียสละ มีน้ำใจ ความเกรงใจ ความ • พฤติกรรม

ยตุ ธิ รรม ความเหน็ อกเหน็ ใจ การมมี ารยาททีง่ ดงาม ความรัก

และความเมตตาตอศิษยเพ่ือเปน กำลงั สำคญั ในการขับเคลื่อน

ระบบการศึกษาใหม ีคุณภาพและพฒั นาประเทศชาตใิ หมี

ความเจริญกาวหนา

๑.๔ การปฏิบัติตามกฎ ขา พเจาปฏิบัติตนตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผน • สอบสมั ภาษณครู

ร ะ เ บ ี ย บ ห ล ั ก เ ก ณ ฑ  ท่ี หลกั เกณฑและวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการ โดยเปน บุคคลทีเ่ คารพและ ผบู ริหาร
เกี่ยวของกับความเปน ปฏิบัติตามกฎหมาย รักษาระเบียบวนิ ยั ของทางราชการ • สังเกตพฤติกรรม

ขา ราชการ กระทำตนเปนแบบอยา งท่ีดี มหี ลักในการปฏิบัตหิ นา ที่ของครู

อยา งชัดเจนยุติธรรมพระพุทธศาสนาในการชว ยเหลอื ผูอ ื่น

เกณฑก ารประเมนิ บนั ทึกผลการปฏบิ ตั ิงาน หลกั ฐาน/แหลง ขอ มูล

๑.๕ การปฏิบตั ติ ามกฎ ขาพเจา ปฏิบัตติ นตามกฎหมายและกระทำตนให • สรุปรายงานผลการ
ระเบยี บหลักเกณฑทเ่ี กย่ี วของ เปนประโยชนตอ ตนเองและสังคม โดยใชเ หตผุ ลและ เขารว มกิจกรรม
กับความเปน ขาราชการครู วิจารณญาณในการตดั สนิ ใจเลือกปฏบิ ตั หิ นาท่ีท่ีไดรบั
มอบหมาย จนบรรลเุ ปาหมายหนาที่ขา ราชการ ใน บนั ทึกขอความรายงาน
ฐานะเปน พลเมืองทีด่ ี ยึดมั่นในหลกั ศีลธรรมและ ผลการเขา รว มกจิ กรรม
คณุ ธรรมทาง

๑.๖ การปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ขาพเจารักษาวนิ ัยทเี่ ปนขอหา มและขอขอปฏิบัติ • สมุดลงเวลาการ
อยา งเครงครดั อยเู สมอ โดยศึกษาพระราชบญั ญัติ ปฏบิ ตั ิงาน
ระเบยี บขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
พ.ศ.๒๕๔๗ เพือ่ เตือนตนมใิ หกระทำความผดิ ทางวนิ ัย • สอบสมั ภาษณครู
ผูบรหิ าร
ราชการ
พฤติกรรมการมาทำงาน
อยา งสมำ่ เสมอ

๒. คุณธรรม จริยธรรม ขาพเจา ปฏิบัติตนเปน ผมู ีคุณธรรม จรยิ ธรรม เพื่อ • พฤติกรรม
การเปน ครูทป่ี ระกอบดวยคุณงามและความดี ซ่ึง
๒.๑ การปฏิบตั ติ นตามหลกั กระทำดว ยความสำนึกในจติ ใจ เชน มีการยดึ

ศาสนาท่นี ับถืออยางเครง ครัด หลกั ธรรมพรหมวิหาร ๔ คือ
๑. เมตตาตอ ศิษย มคี วามรักศิษย ปรารถนาจะ

ใหศ ิษยเ ปนสุข

๒. มคี วามกรุณาตอศิษย ชวยเหลอื ใหคำแนะนำ
อบรมสั่งสอนใหศ ิษยประพฤติตนอยางเหมาะสม และ
อยูร ว มกบั ผูอน่ื อยา งเปนสุข

๓. มีมฑุ ิตาจิต คือมีความยินดีเสมอเม่ือศิษยไ ดดี
พรอมกับกลา วยกยอ งชมเชยในความสามารถของเขา

๔. มอี ุเบกขา คือ มีการพยายามวางเฉยตอบาง
พฤติกรรมกา วราวท่ีศษิ ยแ สดงออกมาโดยไมต้ังใจ คือ
ไมโกรธตอบ แตจ ะพยายามพดู เตือนดีๆ ดว ยอารมณ
และนำ้ เสียงปกติ

เกณฑก ารประเมนิ บันทกึ ผลการปฏบิ ตั ิงาน หลักฐาน/แหลงขอมลู

๒.๒ การเขารวม สง เสรมิ ขาพเจาดำรงตนตามหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา • สอบสมั ภาษณครู

สนับสนุนศาสนกิจของศาสนาที่ และปฏบิ ัตติ ามขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจน ผูบริหาร
คานยิ มของสงั คม ทำใหขา พเจา สามารถอยูร ว มกับผูอนื่ • สังเกตพฤติกรรม
นับถืออยา งสม่ำเสมอ

ในสงั คมไดอยางมคี วามสขุ

๒.๓ การเห็นความสำคัญ เขา ขาพเจามีความยนิ ดใี หค วามรวมมอื กบั ผปู กครองและ • สอบสมั ภาษณครู
รวม สง เสริม สนบั สนนุ เคารพ ชุมชนในกิจกรรมตา งๆ ทช่ี ุมชนจดั ขึน้ เชน วัน ผูบริหาร
กจิ กรรมที่แสดงถึง จารีต เขา พรรษา วันสำคัญทางพระพทุ ธศาสนา ฯลฯ
ประเพณี วฒั นธรรมทองถิน่ • สงั เกตพฤติกรรม

หรอื ชุมชน

๒.๔ การเห็นความสำคญั เขา ขา พเจา เคารพธงชาติและรวมพธิ กี รรมหนาเสาธงทุก • สอบสมั ภาษณครู
รว ม สงเสริม สนับสนุน เชามิไดขาด จนเปนทป่ี ระจักษแกสายตาของนกั เรียน ผบู รหิ าร
กิจกรรมที่แสดงถงึ จารีต และเพื่อนรวมงาน แตงกายชุดพืน้ เมืองรกั ษา
ประเพณี วัฒนธรรมของชาติ ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย • สังเกตพฤติกรรม

๒.๕ การมจี ิตบริการและจติ ขา พเจาใหม ีความเตม็ ใจทจี่ ะใหบ รกิ ารแกผ ูปกครอง • สอบสมั ภาษณครู
สาธารณะ นักเรียนทม่ี าติดตอ ราชการกับทางโรงเรียนดวยความ ผบู รหิ าร
เตม็ ใจและมีจิตอาสาในการรว มงานกับทางชุมชน
• สงั เกตพฤติกรรม

๒.๖ การตอ ตานการกระทำ ขาพเจายึดมนั่ ในหลกั ธรรมคำสอนของ • สอบสมั ภาษณครู
ของบุคคลหรอื กลมุ บุคคลท่ี พระพทุ ธศาสนาและเปนแบบอยางที่ดีใหแ กศษิ ย เพอ่ื น ผูบ รหิ าร
สงผลตอความมั่นคงของชาติ รวมงาน และบุคคลอ่ืนๆ ดำรงชพี ตามสายกลาง
หรือผลกระทบเชิงลบตอสังคม • สงั เกตพฤติกรรม
โดยรวม •

๓. จรรยาบรรณวิชาชีพครู ขาพเจา ปฏิบัติตนเหมาะสมกบั ความเปนครู ตาม • ภาพกิจกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู และมีการพัฒนาตนจนเปน ท่ี • บันทึกขอความรายงาน
๓.๑ การพฒั นาวชิ าชพี และ ยอมรบั ในสถานศึกษา วาเปนผูท่ีประพฤติปฏิบัตติ นตาม ผลการเขารวมกจิ กรรม
บุคลกิ ภาพอยางตอเน่ือง • คำสงั่ ปฏบิ ัติหนาท่ี
จรรยาบรรณวิชาชีพ
• สอบสมั ภาษณครู
ผูบริหาร

เกณฑก ารประเมนิ บนั ทึกผลการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐาน/แหลงขอมลู

๓.๒ การมีวสิ ยั ทศั น รแู ละ มุง หวังความเจรญิ กา วหนาโดยกำหนดเปาหมายใน • ภาพกจิ กรรม
เขาใจ สนใจ ตดิ ตามความ การปฏบิ ัตงิ าน และการศึกษาตอ โดยมีการติดตามขา ว สงั เกตพฤตกิ รรม
เปลย่ี นแปลงดา นวิทยาการ การเคลื่อนไหวทางการศึกษาในเร่ืองความกาวหนาใน
เศรษฐกิจ สังคม การเมืองของ วชิ าชีพอยเู สมอ เพื่อจะไดน ำมาวางแผนและปรับตัว
ไทย และนานาชาตใิ นปจจุบนั เพ่อื ความกา วหนาในวิชาชีพ

๓.๓ การไมอ าศัยวิชาชพี ขา พเจา เหน็ คุณคา และความสำคัญของการเปนครูที่ดี • สอบสมั ภาษณครู
แสวงหาผลประโยชนท ีไ่ ม อยูเสมอ โดยมีความรกั และศรทั ธาในวชิ าชพี ครู พงึ ผบู รหิ ารนักเรยี น
ถูกตอง ผปู กครอง เพอื่ น
กระทำตนใหเปน แบบอยางท่ีดตี อศิษยทัง้ ทางตรงและ รว มงาน
๓.๔ การมงุ มน่ั ตอ การพัฒนา ทางออม • สงั เกตพฤติกรรม
ความรูความสามารถของ
ผเู รียน ขาพเจา มงุ มัน่ ในการทำงาน โดยไมมคี วามยอทอตอ • สอบสมั ภาษณครู
ปญหาและอุปสรรค ท่เี กิดข้ึน เพอ่ื ใหบ รรลุเปา หมายที่ ผูบรหิ ารนกั เรียน
• ผูปกครอง เพอื่ น
กำหนดไว รว มงาน

สงั เกตพฤตกิ รรม

๓.๕ การใหค วามสำคญั ตอการ ขาพเจาเขา รวมการประชุม/การอบรม ความรทู ่ี • สรุปรายงานผลการเขา
เขารว ม สงเสริม สนบั สนนุ เกยี่ วของกับการศึกษาอยเู สมอ เมอื่ เสร็จส้ินการจดั
กิจกรรมทีเ่ กีย่ วของกบั วิชาชีพ รว มกิจกรรมการอบรม
ครูอยางสม่ำเสมอ กจิ กรรม ขาพเจา ทำการบนั ทึกและสรปุ ผลการเขารวม ตา งๆ
กิจกรรม นำความรูทไ่ี ดร ับมาพัฒนาตนเองและผูเรียน • ภาพกิจกรรม
๓.๖ รกั เมตตา เอาใจใส และรายงานผลใหผ ูบ ริหารรับทราบอยูเสมอ
ชวยเหลือ สง เสริม สนบั สนนุ • บันทึกขอความรายงาน
ใหบ รกิ ารผเู รียนทกุ คน ดว ย ผลการเขารว มกจิ กรรม
ความเสมอภาค ขา พเจา มคี วามรักและศรทั ธาในวชิ าชพี ครู พงึ กระทำ • สอบสมั ภาษณครู
ตนใหเ ปนแบบอยา งที่ดีตอศิษยท ง้ั ทางตรงและทางออม ผบู ริหารนกั เรียน
ผปู กครอง เพ่ือน
สง เสริม สนบั สนนุ ชวยเหลือศษิ ยเ สมอมา รวมงาน

• สงั เกตพฤตกิ รรม

๓.๗ การประพฤติปฏิบัติตน ขาพเจา ดำรงตนดว ยความสุภาพออ นนอม สำรวมใน • สอบสมั ภาษณครู
เปนที่ยอมรบั ของผเู รยี น กริ ิยามารยาท และการแสดงออกดวยปย วาจา แตงกาย ผูบรหิ ารนักเรยี น
ผูบริหาร เพอ่ื นรว มงาน สะอาด เรียบรอย และถกู กาลเทศะ ผูปกครอง เพอ่ื น
ผปู กครอง ชุมชน รว มงาน

• สังเกตพฤตกิ รรม

เกณฑก ารประเมิน บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติงาน หลักฐาน/แหลง ขอ มูล

๓.๘ การไมป ฏบิ ัตติ นที่สงผล ขา พเจา ปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพครอู ยา ง • สอบสมั ภาษณครู
เชงิ ลบตอกายและใจของ เครง ครดั ผูบริหารนักเรียน
นักเรียน ผูปกครอง เพือ่ น
รว มงาน

สังเกตพฤติกรรม

๓.๙ การทำงานกบั ผอู นื่ ไดโ ดย ขา พเจา ปฏบิ ัติงานตา งๆ ท่ที างโรงเรียนมอบหมาย • สอบสมั ภาษณครู
ยดึ หลกั ความสามัคคี เกื้อกลู ซึ่ง ใหความรวมมือกบั คณะครู ในการทำกจิ กรรมตางๆ ทั้ง ผูบริหารนกั เรยี น
กนั และกนั ในและนอกสถานศึกษาดว ยความเตม็ ใจ ผูปกครอง เพ่ือน
รว มงาน

สังเกตพฤตกิ รรม

๓.๑๐ การใชค วามรู ขาพเจา ต้งั ใจปฏิบตั ิหนาท่ีในการถายทอดความรู • สอบสมั ภาษณครู
ความสามารถที่มีอยู นำใหเกิด ทกั ษะท่ีตนเองมีใหก ับนักเรียนโดยมไิ ดป ด บัง พยายาม ผบู รหิ ารนกั เรยี น
ความเปลี่ยนแปลงในทาง ศึกษาคนควา หาความรูเ พม่ิ เตมิ เพ่ือพัฒนาตนเอง ผูปกครอง เพื่อน
พัฒนาใหกบั ผเู รียน โรงเรียน ติดตามขา วสาร และเขาอบรมเทคนิคใหมๆ นำมาชว ย รว มงาน
หรอื ชุมชนในดานใดดานหนึ่ง พฒั นาการเรียนการสอน ใหกับนักเรยี นเพื่อใหนักเรียน
(ดา นการอนรุ กั ษ เปน บคุ คลทีม่ ีความรู ทกั ษะ และทันตอเหตุการณ สงั เกตพฤตกิ รรม
ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปญญา และ สามารถนำความรูทไี่ ดไปพัฒนาชมุ ชนและทอ งถิ่น
สิ่งแวดลอ ม)

๓.๑๑ การยึดมั่นในการ ขาพเจา มีความจงรักภกั ดี ตอสถาบันชาติ ศาสนา • สอบสมั ภาษณครู
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย และพระมหากษัตรยิ  ยดึ มนั่ ในการปกครองระบอบ ผบู ริหารนักเรียน
อันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประชาธิปไตย โดยมพี ระมหากษตั ริยเปน ประมขุ ผูป กครอง เพ่อื น
ประพฤตติ นใหเ ปน สมาชกิ ทดี่ ีของสงั คมและมีจติ รวมงาน
ประมขุ สาธารณะมีความรบั ผิดชอบตอสงั คม โดยชว ยเหลือ
เพื่อนรว มงานโดยไมห วงั ผลประโยชนและสง่ิ ตอบแทน • สังเกตพฤตกิ รรม

ใดๆทงั้ ส้นิ

๔. การดำรงชวี ติ ตามหลัก ขา พเจาตระหนักถึงคณุ คาของการดำเนินชีวิตตาม • สอบสมั ภาษณครู
ผบู ริหาร ผูปกครอง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง และพยายามนอมนำหลัก เพือ่ นรว มงาน

๔.๑ มีความรู ความเขาใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชในชีวิตประจำวนั ภาพกจิ กรรม
เก่ยี วกับหลกั ปรัชญาของ เพ่อื ความผาสกุ ของตนเองในปจ จบุ ันและอนาคต

เศรษฐกิจพอเพยี ง

เกณฑการประเมิน บนั ทึกผลการปฏบิ ตั ิงาน หลักฐาน/แหลง ขอมูล

๔.๒ มกี ารนำหลกั ปรัชญาของ ขา พเจานำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา • สอบสมั ภาษณครู

เศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั สอดแทรกในใบงานของนักเรียน พบวานักเรียนมีความรู ผบู รหิ าร ผปู กครอง
ประยกุ ตใชกับการจดั การ เพื่อนรว มงาน
เรียนรใู นหองเรยี น ความเขา ใจในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • สงั เกตพฤตกิ รรม
สามารถนำหลักของความพอเพียง คือ พอประมาณ มี

เหตผุ ล มีภูมิคุมกนั ที่ดใี นตวั บนเงื่อนไขของความรูค ู

คุณธรรม นกั เรียนนำไปประยุกตใชในชวี ิตประจำวนั ได

๔.๓ มกี ารนำหลกั ปรัชญาของ ขาพเจาดำเนนิ ชวี ิตโดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ • สอบสมั ภาษณครู
เศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั พอเพียงมาเปน แนวทางในการทำงานใหมปี ระสิทธิภาพ ผบู ริหาร ผูปกครอง
ประยุกตใชกบั ภารกจิ ท่ีไดรบั เพอื่ นรวมงาน
มอบหมายอน่ื
สงั เกตพฤติกรรม

๔.๔ มีการนำหลักปรชั ญาของ ขาพเจา ดำเนนิ ชีวิตโดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ • สอบสมั ภาษณครู
เศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั พอเพียงของในหลวง เปน แนวทางในการดำเนินชวี ติ ผูบรหิ าร ผปู กครอง
ประยกุ ตใ ชกับการดำรงชวี ิต
ของตนเอง เพือ่ นรว มงาน
สังเกตพฤติกรรม

๔.๕ เปนแบบอยา งในการนำ ขา พเจา ปฏิบัตติ นเปน แบบอยา งทด่ี ีแกลกู ศษิ ย ใช • สอบสัมภาษณครู
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ชีวิตบนสายกลาง ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ผบู รหิ าร ผูป กครอง
พอเพยี งไปปรับประยุกตใชกับ มาใชในการดำเนินชวี ิตและเปนผใู ฝรู ใฝเรียน และใฝ เพ่อื นรว มงาน
ภารกิจตางๆหรอื การดำรงชีวิต
ของตน พฒั นาตนเองอยา งตอเน่ือง • สังเกตพฤติกรรม

๕. จิตวญิ ญาณความเปน ครู ขาพเจาปฏิบตั หิ นาท่ีท่ีไดรับมอบหมายอยางเต็ม • แผนการจดั การเรยี นรู
๕.๑ การเขาสอนตรงเวลาและ ความสามารถ เต็มเวลา เอาใจใสตอการปฏิบตั หิ นา ท่ี • สอบสมั ภาษณครู
สอนเตม็ เวลา อยา งสมำ่ เสมอ โดยมกี ารวางแผนการสอนลวงหนา
จดั ทำ และจัดหาส่อื จัดกิจกรรมโดยเนนผเู รยี นเปน ผบู รหิ าร
๕.๒ การตระหนกั ในความรู สำคัญ ไมละท้ิงการสอนกลางคนั มีการปรับปรุง • สงั เกตพฤติกรรม
และทักษะที่ถูกตองรวมถึงสงิ่ ท่ี พฒั นางานการสอนอยูเ สมอ • บนั ทกึ การลงเวลามา
ดๆี ใหก บั ผเู รียน
๕.๒.๑ งานสอนคอื การเตรยี มการสอน,วางแผนการสอน ปฏิบัติราชการ
๕.๒.๒ งานครู คอื ครตู องรับผิดชอบงานดา นตาง ๆ
เชน งานธรุ การ งานบรหิ าร งานบริการ และงานอนื่ ๆ • สอบสมั ภาษณครู
ผบู ริหาร ผูปกครอง
เพื่อนรวมงาน

• แผนการสอน
• สงั เกตพฤตกิ รรม

เกณฑก ารประเมิน บนั ทึกผลการปฏิบัติงาน หลกั ฐาน/แหลง ขอมูล

๕.๓ การสรา งความเสมอภาค ขา พเจา พยายามเรยี นรูและศกึ ษาผเู รยี นเปน รายบคุ คล • การเยีย่ มบานนักเรียน
เปนธรรมกบั ผูเรยี นทุกคน เพอ่ื จะไดทราบความตองการ สภาพสงั คม เศรษฐกิจ • การศึกษานกั เรยี นเปน
ครอบครัวของนักเรียนเปน รายบุคคล แลว นำผลท่ไี ดไป รายบุคคล
ใชในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนใหเ หมาะสมกับ สมั ภาษณน กั เรียน
ผเู รยี นเปน รายบุคคล ทำใหน ักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนทด่ี ขี ึ้น

๕.๔ การรจู ักใหอ ภัย ปราศจาก ขาพเจา ต้งั ใจปฏบิ ตั ิหนาท่ใี นการถา ยทอดความรูใหแ ก • สอบสมั ภาษณครู
อคติ ชว ยเหลือ สงเสริม นักเรียน เพื่อใหนักเรยี นประสบความสำเร็จ ตาม ผูบรหิ าร ผูปกครอง
สนบั สนุนใหผ ูเ รยี นประสบ ศกั ยภาพ ความสนใจหรอื ความตั้งใจ เพอ่ื นรว มงาน
ความสำเรจ็ ตามศักยภาพ • สังเกตพฤติกรรม

ความสนใจหรอื ความตัง้ ใจ

๕.๕ การเปนทพ่ี ง่ึ ใหกบั ผูเ รยี น ขาพเจาเสียสละเวลาตนเอง มีความมงุ มานะและคอย • สอบสมั ภาษณครู
ไดต ลอดเวลา ชว ยเหลือ เปน ที่ปรกึ ษาเกีย่ วกับปญ หาของผูเรียนใน ผูบริหาร ผูปกครอง
ดา นตา ง ๆ เปนกำลงั ใจและใหคำแนะนำเสมอมา เพอ่ื นรว มงาน

• สังเกตพฤติกรรม

๕.๖ การจัดกิจกรรมสงเสริม ขา พเจาปฏบิ ตั ิหนาทดี่ วยจิตวญิ ญาณเปนการทำ • สอบสมั ภาษณครู
การใฝรู คนหา สรา งสรรค หนา ทดี่ วยใจซง่ึ ทำใหเกิดความรัก ศรทั ธาและยึดมัน่ ใน ผูบรหิ าร ผปู กครอง
ถา ยทอด ปลกู ฝงและเปน อดุ มการณแหงวิชาชพี มุงมน่ั ทุม เทในการทำงาน เพ่อื นรว มงาน
ประพฤติตนเปนแบบอยา งท่ดี ี เอาใจใส ดูแลและหวงั ดี
แบบอยางทดี่ ีของผูเรียน ตอศิษย • สงั เกตพฤติกรรม

๕.๗ การทมุ เทเสยี สละในการ ขาพเจาอุทิศเวลาใหกบั ราชการ ไมวาการสอนนั้นจะ • สอบสมั ภาษณครู
จัดการเรยี นรูใหก บั ผูเ รียน อยใู นเวลาราชการหรือนอกเวลาราชการ จนกวา ผูบรหิ าร ผูปกครอง
นกั เรียนจะมีความรอู ยางเต็มเปย ม เสียสละท้งั เวลา เพอ่ื นรว มงาน
และทุนทรัพย เพ่ือผลจะเกิดกับนักเรียนและสงั คม
• สงั เกตพฤติกรรม

เกณฑการประเมิน บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐาน/แหลงขอ มลู

๖. จติ สำนึกความรบั ผดิ ชอบ ขาพเจาปฏบิ ัติตนดงั น้ี • สอบสมั ภาษณครู
ในวิชาชพี
๖.๑.๑ แสดงเจตคติท่ีดกี บั วชิ าชพี ครู ไมกระทำตนให ผบู รหิ าร ผูป กครอง
๖.๑ การมีเจตคตเิ ชิงบวกกบั เพอ่ื นรว มงาน
วชิ าชพี ครู วิชาชีพครเู สียหาย
๖.๑.๒ ปฏิบตั ติ นใหเปน ครูทด่ี ี มคี วามรู ความสามารถที่ • สังเกตพฤตกิ รรม

จะถายทอดใหกบั ศิษยไ ดเ ปน อยางดี

๖.๑.๓ ปฏิบัตหิ นาทข่ี องครดู วยความภาคภูมใิ จ และ

ศรทั ธาในวิชาชีพท่ีตนเองไดป ฏิบัติ

๖.๑.๔ ไมด ูหม่ินเหยียดหยามผูรวมประกอบวิชาชพี คน

๖.๒ การมงุ ม่นั ทุมเทในการ ขาพเจา พยายามศกึ ษาหาความรเู พ่ิมเติมอยู • สอบสมั ภาษณครู
สรา งสรรค นวัตกรรมใหม ๆ เสมอ จากแหลง เรยี นรูตางๆ เชน หนงั สือ สื่อสิ่งพิมพ ผูบริหาร ผปู กครอง
เพ่อื ใหเ กดิ การพัฒนาวิชาชพี โทรทศั น อนิ เทอรเนต็ เปน ตน เพ่อื นำความรูมาผลิต เพื่อนรว มงาน
และใหสงั คมยอมรบั สังเกตพฤติกรรม
ส่ือการสอนและนำมาพัฒนาวิชาชีพตอไป

๖.๓ ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นในการ ขาพเจาประพฤติตนใหเ ปนสมาชิกทีด่ ีของสังคมและ • สอบสมั ภาษณครู
รักษาภาพลักษณในวิชาชีพ มจี ติ สาธารณะมีความรบั ผิดชอบตอสังคม โดยชว ยเหลือ ผบู ริหาร ผปู กครอง
เพอื่ นรว มงานโดยไมหวงั ผลประโยชนแ ละสิง่ ตอบแทน เพอ่ื นรว มงาน
ใดๆท้งั สน้ิ ยดึ หลักคณุ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพใน
การยดึ เหน่ียวจติ ใจในการปฏบิ ตั ิงาน • สงั เกตพฤตกิ รรม

๖.๔ การปกปอ ง ปองกนั มใิ หผู ขา พเจา คอยใหค ำปรึกษาแนะนำผรู ว มวิชาชพี ให • สอบสมั ภาษณครู
รวมวชิ าชพี ประพฤติปฏบิ ตั ิ ประพฤติปฏิบตั ิตนเปน แบบอยางทดี่ ีและยึดมัน่ ปฏิบตั ิ ผูบ รหิ าร ผูปกครอง
ในทางท่จี ะเกดิ ภาพลกั ษณเ ชิง ตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูอยางเครงครัด เพื่อนรวมงาน
ลบตอวิชาชีพ
• สงั เกตพฤตกิ รรม

๖.๕ การจัดกจิ กรรมสงเสริม ขา พเจา ปฏิบัตหิ นาทด่ี วยใจซึ่งทำใหเ กดิ ความรัก • สอบสมั ภาษณครู
การใฝรู คน หาสรา งสรรค ศรัทธาและยดึ มน่ั ในอุดมการณแหงวิชาชีพ มงุ มั่น ทุมเท ผบู ริหาร ผูปกครอง
ถายทอดปลูกฝง และเปน เพื่อนรว มงาน
แบบอยางทีด่ ีของเพือ่ นรวมงาน ในการทำงาน ประพฤติตนเปนแบบอยางทีด่ ี ยอมรับฟง • สังเกตพฤตกิ รรม
และสังคม ความคดิ เห็นของเพ่ือนรวมงาน และปรบั ปรงุ ในสว นที่ •
ตนเองบกพรอง ใหดีมากข้ึนกวา เดิม

องคป ระกอบท่ี ๒ การประเมินผลการปฏบิ ัติงาน

เกณฑการประเมนิ บนั ทกึ ผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน/แหลงขอมูล

๑.การจดั การเรียนการสอน การวิเคราะหม าตรฐานการเรียนรูและตวั บงชต้ี าม • แผนการจัดการเรียนรู
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช หลกั สูตรแกนกลาง
๑.๑ การนำผลการวิเคราะห ๒๕๕๑ ปรบั ปรุง ๒๕๖๐ และหลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
หลักสูตร มาตรฐานการเรยี นรู ขาพเจา ไดศ ึกษาเพ่ือเตรยี มการสอนใหค รอบคลุมเนื้อหา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
และตัวชี้วดั หรอื ผลการเรยี นรู และเพ่ือใหเ กิดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น โดยไดจ ัดทำ ปรับปรงุ ๒๕๖๐
มาใชในการจัดทำรายวชิ าและ
ออกแบบหนว ยการเรยี นรู แผนการจัดการเรียนรแู บบมุง เนน ผเู รยี นเปนสำคัญและ

ครอบคลุมเนือ้ หาทุกหนว ยการเรยี น

๑.๒ การออกแบบการจัดการ การออกแบบการจัดการเรียนรูข าพเจาไดศึกษา • แผนการจดั การเรียนรู
ส่อื การสอน
เรียนรโู ดยเนนผเู รยี นเปน สำคัญ มาตรฐานการเรียนรแู ละตวั ชีว้ ัด เพ่อื เตรยี มการสอนให

เพอ่ื ใหผ ูเรียนมคี วามรู ทักษะ ครอบคลุมเนือ้ หา และเพื่อใหเกิดผลสมั ฤทธิ์ทางการ

คณุ ลักษณะประจำวชิ า เรียน โดยไดจัดทำแผนการเรียนแบบมุงเนน สมรรถนะ

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ครบและครอบคลมุ เน้อื หาทกุ หนว ยการเรียน และ

และสมรรถนะทสี่ ำคัญตาม จดุ ประสงคการเรยี นรู

หลักสูตร

๑.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู จดั การเรยี นรูทเ่ี นนผเู รียนเปน สำคัญ ผเู รียนจะตอง • นวตั กรรมเทคโนโลยี
สื่อการสอน
อำนวยความสะดวกในการ อาศัยกระบวนการเรียนรู ท่หี ลากหลาย กระบวนการ
เรียนรู และสง เสริมการเรยี นรู
ดวยวธิ ีการที่หลากหลายโดย เรียนรู ทีจ่ ำเปน สำหรับผเู รียน อาทิ กระบวนการ
เนนผเู รยี นเปน สำคัญ เรยี นรูแบบบูรณาการ เรียนรูจากประสบการณจ ริง
กระบวนการปฏบิ ตั ิ ลงมือทำจรงิ

๑.๔ การเลือกและใชสือ่ เทคโนโลยกี ารศึกษาทำใหการเรียนการสอน มี • บันทึกหลังแผนการ
เทคโนโลยีและแหลง เรยี นรู ความหมายมากข้ึน ทำใหผูเ รียนสามารถเรียนได จัดการเรียนรู
ท่ีสอดคลองกับกิจกรรมการ กวางขวาง เรียนไดเร็วขึน้ ทำใหผ ูสอนมเี วลาใหผ เู รยี น
เรียนรู มากขึ้น • แบบบนั ทกึ พฤติกรรม

เกณฑการประเมนิ บันทกึ ผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน/แหลงขอ มูล

๑.๕ การวดั และประเมนิ ผล การวดั และประเมินผล หลังจากที่ขาพเจา ในจดั การ • บนั ทกึ หลงั แผนการ
การเรียนรู ดว ยวธิ ีการที เรียนรูในหนว ยการเรียนรูแตละหนวยเสรจ็ ส้นิ แลว จดั การเรยี นรู
หลากหลาย ขา พเจา ไดทำการบนั ทึกผลการจัดการเรยี นรูในแตละหนว ย
ไวทายแผนการจดั การเรยี นรู และทำการศึกษาหาสาเหตุ แบบบันทกึ พฤติกรรม
และปญ หาท่เี กิดข้ึนในหนว ยนน้ั ๆ เพ่ือนำมาปรบั ปรุง
พัฒนาการจดั การเรยี นการสอนครง้ั ตอ ไป

๑.๖ คุณภาพของผูเรยี น การเรียนรูข องผูเรียนที่แสดงออกถงึ ความรู • แผนการจดั การเรยี นรู
ไดแ ก ความสามารถ ทักษะตามหลักสตู รสถานศึกษาและมี • สอ่ื การสอน
พฒั นาการตามวยั มสี มรรถนะท่สี ำคญั และคุณลักษณะท่ี ผลงานของนักเรยี น
๑. ผลสัมฤทธ์ทิ าง พึงประสงค
วชิ าการของผูเรยี น

๒. คณุ ลักษณะท่ีพึง
ประสงคข องผูเรียน

๒. การบริหารจัดการช้ัน บรรยากาศในชน้ั เรียนเปนสวนหนง่ึ ทสี่ ง เสรมิ ใหนักเรียน • สอบสมั ภาษณครู
เรยี น เกิดความสนใจในบทเรยี นและเกดิ แรงจูงใจในการเรียนรู ผบู ริหาร ผูป กครอง
เพม่ิ มากขึน้ การสรา งบรรยากาศท่อี บอนุ ท่ีครใู หความเอื้อ เพือ่ นรว มงาน
๒.๑ การจัดบรรยากาศท่ี อาทรตอนักเรียน
สงเสริมการเรียนรู • สภาพหองเรยี น
กระบวนการคดิ ทักษะชีวิต ปายนเิ ทศ ผลงานของ
และพัฒนาผเู รียน นักเรียน

๒.๒ การดำเนินการตาม ขา พเจา จัดกจิ กรรมดูแลชวยเหลอื นักเรียน โดยการศึกษา • แบบบันทึกการออก

ระบบดูแลชว ยเหลอื ผเู รียน และสำรวจตดิ ตามพฤติกรรมของผเู รยี นเปนรายบุคคล เยยี่ มบา นนักเรยี น
โดยมีการศึกษาและรวบรวม โดยการออกเยี่ยมบานนักเรยี น และดำเนินการชวยเหลอื แบบสำรวจการแตงกาย
นักเรียน
ขอ มลู ผเู รียนรายบุคคลเพ่ือ นักเรียนตามสภาพจริง

แกป ญหาและพัฒนาผเู รยี น

๒.๓ การอบรมบม นิสยั ให การปลกู ฝงคุณธรรม จริยธรรมใหแกผเู รยี น ขาพเจา ไดม ี • แบบบันทกึ คุณลกั ษณะ
ผเู รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม การปลูกฝง คุณธรรมจรยิ ธรรมทด่ี งี ามใหเกิดขนึ้ กับผเู รียน อนั พึงประสงคทงั้ ๘
ดาน
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค โดยมีการอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรมในทุกคร้ังทมี่ ีการจัด • สัมภาษณนกั เรยี น
ภาพกิจกรรม
และคานยิ มท่ดี งี าม กิจกรรมการเรียนการสอนในแตละระดับช้ันทีจ่ ดั กิจกรรม
การเรยี นการสอน ซึง่ ใชเ วลาประมาณ ๕ นาที ตลอดเวลา

ท่จี ดั กิจกรรมการเรยี นการสอนมกี ารสอดแทร

เกณฑการประเมนิ บันทกึ ผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน/แหลงขอมูล

๓.การพัฒนาตนเอง ขาพเจาหม่นั ศึกษาและพัฒนาตนเองอยูเ สมอ ควรรว ม • สรปุ รายงานผลการเขา
กจิ กรรมการฝกอบรมหรือกจิ กรรมการแลกเปลย่ี นเรียนรู รวมอบรม
๓.๑ การพฒั นาตนเอง กบั เพื่อนครทู ั้งในและนอกโรงเรยี นอยางตอเน่ือง
เพือ่ ใหมีความรู บนั ทึกขอความรายงานผล
ความสามารถ ทักษะดว ย การเขา รว มอบรม
วธิ ีการตา ง ๆ อยา ง
เหมาะสม

๓.๒ การมสี วนรว มในชุมชน ขาพเจาแลกเปลี่ยนเรียนรูและหาแนวทางในการแกไข • สอบสมั ภาษณครู
การเรยี นรู ปญหารวมกันกับครู ผบู ริหาร ผปู กครอง เพ่ือนรว มวิชาชพี ผูบรหิ าร ผูป กครอง
เพ่อื นรวมงาน
• หนงั สอื คำสงั่ หนังสอื
ขอบคุณ
ภาพกจิ กรรม

๔. การทำงานเปนทีม การทำงานเปนทีม เปนความรวมมอื รว มใจของบคุ คล • สอบสมั ภาษณครู
เพอ่ื ทีจ่ ะบรรลุเปาหมายรวมกัน ขาพเจา จงึ ยึดหลักการ ผูบริหาร ผูป กครอง
๔.๑ หลกั การทำงานเปน ทำงานเปน ทีม ดังนี้ เพอ่ื นรวมงาน
ทีม ๑. มีวัตถุประสงค ตอ งชดั เจน
๒. มกี ารจัดลำดับความสำคัญในการทำงาน • ภาพกิจกรรม
๓. มผี ลการทำงาน เกียรตบิ ัตร

๔.๒ การพฒั นาทีมงาน การใชแ ละสรา งเครอื ขายทางวิชาการ ขาพเจาไดเขา • สอบสมั ภาษณครู
รวมกจิ กรรมท่ีองคก รวชิ าชีพท้ังภายในและภายนอก ผูบริหาร ผูป กครอง
องคการจัดขึน้ เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรูก ับบคุ คลในแวดวง เพอ่ื นรว มงาน
อาชพี ครู และแลกเปล่ียนความรูและรว มกันพฒั นาสื่อการ
เรียนรู ตลอดจนสรา งเครือขายการทางวิชาการ ใน • ภาพกิจกรรม
รปู แบบชองทางตาง ๆ เพอ่ื แลกเปลยี่ นความรใู นระหวาง
องคกร

เกณฑก ารประเมิน บนั ทกึ ผลการปฏิบัติงาน หลกั ฐาน/แหลงขอ มูล

๕. งานกจิ กรรมตามภารกิจ ขาพเจามีความกระตือรือรนในการ • การปฏิบัติหนาที่ในหนาท่ี
บริหารงานของสถานศึกษา ทำงานที่ไดรับมอบหมายจากงานบริหาร พิเศษ

๕.๑ มคี วามรูค วามเขา ใจภาระงาน งบประมาณ เพื่อใหงานสำเรจ็ ลลุ วงไปได • คำสัง่ แตง ต้งั คณะกรรมการ
งานของสถานศึกษาเก่ียวกบั งาน ดวยดี

บริหารท่วั ไปหรืองานบริหาร

วิชาการงบประมาณหรืองาน

บรหิ ารทรัพยากรบคุ คล และมสี ว น

รว มปฏบิ ัติงานทีไ่ ดร บั มอบหมาย

ไดอยา งเหมาะสม

๖. การใชภาษาและเทคโนโลยี ขาพเจาใหความสำคัญเกี่ยวกับ • ส่อื PowerPoint
เทคโนโลยีและนำเทคโนโลยีมาใหในการ • ใบความรู
๖.๑ สามารถใชภาษาและ จัดการเรียนการสอน เชน สื่อมัลติมีเดีย • ใบงาน
เทคโนโลยีในการปฏบิ ัตงิ านตาม สื่อการสอน PowerPoint คอมพิวเตอร
หนา ท่แี ละความรบั ผิดชอบ จึงชวยในการเรียนการสอน ชวยใหการ • Internet
เ ร ี ย น ก า ร ส อ น เ ป  น ไ ป อ ย  า ง มี • สื่อมัลตมิ เี ดีย

ประสิทธิภาพ ผูเรียนสามารถทำความ

เขาใจและเห็นภาพไดชัดเจนและ

สามารถศกึ ษาไดอยา งรวด














































Click to View FlipBook Version