The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nantiya05012536, 2021-03-10 01:06:57

นิทานพื้นบ้าน

นิทาน

Keywords: นิทาน

นทิ าน หมายถงึ เร่อื งเลา่ ทเ่ี ลา่ สบื ต่อกนั มา มงุ่ ใหเ้หน็
ความบนั เทงิ แทรกแนวคดิ คตสิ อนใจจนเป็นมรดก
ทางวฒั นธรรมของคนไทยอยา่ งหน่ึงอาจเรยี กนิทาน
พ้นื บา้ น นิทานพ้นื เมอื ง นิทานชาวบา้ น เป็นตน้

 ๑. มาจากความตอ้ งการใหเ้กดิ ความสนุกสนาน บนั เทงิ จงึ ผูกเร่อื งข้นึ
หรอื นาเร่อื งไปผสมผสานกบั เร่อื งทม่ี อี ยู่เดมิ

 ๒. มาจากความตอ้ งการอบรมสงั่ สอนในแงข่ องพทุ ธศาสนาใหค้ วามรู้

ดา้ นคตธิ รรม เพอ่ื ใหก้ ารอบรมสงั่ สอนใหค้ นประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทด่ี ี
งาม อยูใ่ นกฎระเบยี บของสงั คม เช่น นิทานธรรมบท นทิ านอสี ป เป็น
ตน้

 ๓. มาจากการยกตวั อย่างประกอบคา อธบิ าย จงึ มกี ารสมมตุ ิ

เรอ่ื งราวข้นึ มา เพอ่ื ใหเ้ขา้ ใจชดั เจนยง่ิ ข้นึ

 นิทานพ้นื บา้ นมลี กั ษณะเฉพาะทเ่ี หน็ เด่นชดั คอื เป็นเร่อื งเลา่ ทม่ี กี ารดาเนินเร่อื ง
อย่างงา่ ย ๆ โครงเร่อื งไมซ่ บั ซอ้ น วธิ กี ารทเ่ี ลา่ กเ็ ป็นไปอย่างงา่ ยๆตรงไปตรงมา
มกั จะเร่มิ เร่อื งโดยการกลา่ วถงึ ตวั ละครสาคญั ของเร่อื ง ซง่ึ อาจจะเป็นรุ่นพ่อ -
แมข่ องพระเอกหรอื นางเอกแลว้ ดาเนินเร่อื งไปตามเวลาปฏทิ นิ ตวั ละครเอกพบ

อปุ สรรคปญั หาแลว้ กฟ็ นั ฝ่าอปุ สรรคหรอื แกป้ ญั หาลลุ ว่ งไปจนจบเร่อื ง ซง่ึ มกั จะ
จบแบบมคี วามสขุ หรอื สขุ นาฏกรรม ถา้ เป็นนทิ านคตกิ ็มกั จะจบลงวา่
“นิทานเรอ่ื งน้สี อนใหร้ ูว้ า่ …..” ถา้ เป็นนิทานชาดกก็จะบอกว่า ตวั ละคร

สาคญั ของเร่อื งในชาตติ ่อไป ไปเกดิ เป็นใครบา้ ง ถา้ เป็นนทิ านปรศิ นากจ็ ะจบลง
ดว้ ยประโยคคาถาม ลกั ษณะของนิทานพ้นื บา้ น
 กหุ ลาบ มลั ลกิ ะมาส (๒๕๑๘, หนา้ ๙๙-๑๐๐

 ประเภทของนิทานแบง่ ออกตามรูปแบบได๑้ ๔ ประเภท คอื

 ๑. นทิ านปรมั ปราหรอื นิทานทรงเครอ่ื ง (fairy tale) เน้อื เรอ่ื ง
จะประกอบดว้ ยอทิ ธฤิ ทธ์ปิ าฏหิ ารยิ ต์ ่าง ๆตวั เอกของเรอ่ื งเป็นผูม้ ี
คณุ สมบตั พิ เิ ศษ เช่น มบี ญุ บารมมี ขี องวเิ ศษทส่ี ามารถต่อสูอ้ ปุ สรรค
ขวากหนามทา ใหศ้ ตั รูพ่ายแพไ้ ปในทส่ี ดุ และจบลงดว้ ยความสุข เช่น
เรอ่ื งโสนนอ้ ยเรอื นงาม ปลาบูท่ อง นางสบิ สอง สงั ขท์ อง สโนวไวท์
และซนิ เดอเรลลา และมกั นยิ มข้นึ ตน้ วา่ “ครง้ั หน่งึ นานมาแลว้ ...”
หรอื “ในกาลครง้ั หน่งึ ...” เป็นตน้

 ๒. นิทานทอ้ งถน่ิ หรอื นิทานประจาทอ้ งถน่ิ (legend) เช่อื วา่
เหตกุ ารณห์ รอื ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ข้ึนเป็นเรอ่ื งจรงิ และมกั มหี ลกั ฐาน
อา้ งองิ ประกอบเร่อื งมตี วั บคุ คลจรงิ ๆมสี ถานทจ่ี รงิ ๆ เช่น พระร่วง เจา้
แมส่ รอ้ ยดอกหมาก ทา้ วแสนปม เมอื งลบั แล พระยากง พระยาพาน
เป็นตน้

 ๓. นทิ านประเภทอธบิ ายหรอื นิทานอธบิ ายเหตุ

(explanatory tale) เป็นเร่อื งทอ่ี ธบิ ายความเป็นมาของบคุ คล สตั ว์
ปรากฏการณต์ ่างๆของธรรมชาตอิ ธบิ ายช่อื สถานทต่ี ่างๆสาเหตขุ องความเช่อื บาง
ประการ นทิ านประเภทน้ขี องไทยไดแ้ ก่ เหตใุ ดกาจงึ มสี ดี า ทาไมมดตะนอยจงึ เอว
คอด นิทานทพ่ี บมากคอื เร่อื งเก่ยี วกบั สถานท่ี เช่น เกาะหนู เกาะแมว ในจงั หวดั
สงขลาถา้ ผานางคอยจงั หวดั แพร่ เขาตามอ่ งลา่ ยจงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ เป็นตน้

๔. นิทานชวี ติ (novella or romantic tales)

ประกอบดว้ ยหลายอนุภาค หลายตอน (ก่งิ แกว้ อตถั ากร, ๒๕๑๙, หนา้ ๑๕)
เน้อื หาคลา้ ยชวี ติ จรงิ ตวั ละครเป็นคนธรรมดาสามญั มบี ทบาท การใชช้ วี ติ เหมอื น
มนุษยป์ ถุ ชุ นทวั่ ไป แก่นของเร่อื งเป็นเร่อื งเก่ยี วกบั ความรกั ความโกรธ ความหลง
ความกลวั การผจญภยั สะเทอื นอารมณ์ ตวั เอกของเร่อื งตอ้ งใชภ้ ูมปิ ญั ญา และ
ความสามารถในการแกไ้ ขปญั หาต่างๆซง่ึ เป็นอปุ สรรคของชวี ติ แสดงความกลา้ หาญ
อดทน อดกลนั้ เอาชนะอปุ สรรค ศตั รู จนบรรลจุ ดุ หมายไว้ ฉากและบรรยากาศของ
นทิ านชนดิ น้มี ลี กั ษณะสมจรงิ มากข้นึ นิทานชีวติ ของไทยท่รี ูจ้ กั กนั ทวั่ ไปกค็ อื เร่อื ง
ขุนชา้ งขุนแผน พระลอ ไกรทอง ของตะวนั ตกไดแ้ ก่ นิทานชดุ เดคาเมรอน ของ

ตะวนั ออกไดแ้ ก่ นิทานอาหรบั ราตรี

 ๕. นทิ านเร่อื งผ(ี ghost tales) เป็นนิทานทม่ี ตี วั ละครเป็นผี วญิ ญาณ มี
เหตกุ ารณเ์ ก่ยี วกบั ผี ผหี ลอก ผสี งิ เน้อื เร่อื งตน่ื เตน้ เขย่าขวญั

 ๖. นทิ านวรี บรุ ุษ (hero tale) เป็นนทิ านทก่ี ลา่ วถงึ คณุ ธรรม ความสามารถ
ฉลาดเฉลยี วความกลา้ หาญของบคุ คล ส่วนมากเป็นวรี บรุ ุษของชาตหิ รอื บา้ นเมอื ง
เช่น โรบนิ ฮูด้ เฮอรค์ วิ ลสิ ของไทย เช่น ไกรทอง เจา้ สายนา้ ผ้งึ พระร่วงวาจาสทิ ธ์ิ
เป็นตน้

 ๗. นทิ านคตสิ อนใจหรอื นิทานประเภทคาสอน (fable) เป็นเร่อื ง

สนั้ ๆ ไมส่ มจรงิ มเี น้อื หาในเชงิ สอนใจ ใหแ้ นวทางในการดาเนินชวี ติ ทถ่ี กู ตอ้ งทานอง
คลองธรรม บางเร่อื งสอนโดยวธิ บี อกตรงๆ บางเร่อื งใหเ้ป็นแนวเปรยี บเทยี บเป็น
อทุ าหรณใ์ นบางแหง่ จงึ เรยี กนิทานประเภทน้วี า่ นทิ านอทุ าหรณบ์ า้ ง หรอื นทิ าน
สุภาษติ บา้ ง ตวั ละครในเร่อื งอาจจะเป็นคน สตั วห์ รอื เทพยดา เป็นตวั ดาเนนิ เร่อื ง

สมมตวิ า่ เป็นเร่อื งจรงิ ทเ่ี กดิ ข้นึ ในอดตี เช่น เร่อื งหนูกดั เหลก็ นิทาน

อสี ป นิทานจากปญั จตนั ตระ เป็นตน้

 ๘. นทิ านศาสนา (religious tale) เป็นนิทานเก่ยี วกบั ศาสนา พระเจา้ นกั บวช

ต่างๆ มปี ระวตั อิ ภนิ หิ ารหรอื อทิ ธฤิ ทธ์เิ ร่อื งลกั ษณะน้ขี องชาวตะวนั ตกมมี ากเช่น เร่อื งพระเยซูและ
นกั บญุ ต่างๆ ของไทยก็มบี า้ งทเ่ี ก่ยี วกบั อภนิ หิ ารของนกั บวชทเ่ี จรญิ ภาวนามฌี าณแก่กลา้ มี
อทิ ธฤิ ทธ์พิ เิ ศษ เช่น เรอ่ื งหลวงพอ่ ทวด สมเดจ็ เจา้ แตงโม เป็นตน้

 ๙. นิทานชาดก(jataka tales) ชาดก หมายถงึ เร่อื งพระพทุ ธเจา้ ทม่ี มี าในชาติ

ก่อนๆ(ราชบณั ฑติ ยสถาน, ๒๕๔๖, หนา้ ๓๕๙) ทา้ ยเรอ่ื งของนทิ านชาดกมกั จะบอกการกลบั ชาติ
มาเกดิ ของตวั ละครสาคญั ในเรอ่ื ง นทิ านชาดกทร่ี ูจ้ กั กนั ทวั่ ไป ก็คอื

ทศชาดก โดยเฉพาะชาดกเร่อื งสุดทา้ ยคอื พระเวสสนั ดร

 ๑๐. ตานานหรอื เทพนิยาย (myth) เป็นนิทานทม่ี ตี วั ละครสาคญั เป็น เทพยดา

นางฟ้า หรอื บคุ คลในเร่อื งตอ้ งมสี ่วนสมั พนั ธก์ บั ความเชอ่ื ทางศาสนาและพธิ กี รรมต่างๆท่ี
มนุษยปฏบิ ตอิ ยู่เช่น เรอ่ื งทา้ วมหาสงกรานตเ์ ร่อื งเก่ยี วกบั พระอนิ ทรเ์ ป็นตน้

 ๑๑. นิทานสตั ว(์ animal tale) เป็นนทิ านทม่ี ตี วั เอกเป็นสตั วแ์ ต่สมมติ
ใหม่ ความนกึ คดิ การกระทา และพูด ไดเ้หมอื นคน มที ง้ั ทเ่ี ป็นสตั วป์ ่าและสตั วบ์ า้ น
บางทกี เ็ ป็นเร่อื งทม่ี คี นเก่ยี วขอ้ งดว้ ยและพดู โตต้ อบ ปฏบิ ตั ติ ่อกนั เสมอื นเป็นคน
ดว้ ยกนั บางเร่อื งก็แสดงถงึ ความเฉลยี วฉลาด หรอื ความโงเ่ ขลาของสตั ว์

 ๑๒. นทิ านตลก (jest) สว่ นใหญ่เป็นนทิ านสน้ั ๆซง่ึ จดุ สาคญั ของเร่อื งอยู่ท่ี

พฤตกิ รรม หรอื เหตกุ ารณ์ทไ่ี มน่ ่าจะเป็นไปไดต้ ่างๆ อาจเป็นเร่อื งเก่ยี วกกบั ความโง่
การแสดงไหวพรบิ ปฏภิ าณ การแกเ้ผด็ แกล้ า การพนนั ขนั ต่อการเดนิ ทางผจญภยั ท่ี
ก่อเร่อื งผดิ ปกตใิ นแงข่ บขนั ต่างๆ ตวั เอกของเร่อื งอาจจะเป็นคนทโ่ี งเ่ ขลาทส่ี ุด และ
ทาเร่อื งผดิ ปกตวิ สิ ยั มนุษยท์ ม่ี สี ตปิ ญั ญาธรรมดาเขาทากนั เช่น เร่อื งศรธี นญชยั
หวั ลา้ นนอกครู เป็นตน้

๑๓. นิทานเขา้ แบบ (formula tale) นทิ านประเภทน้แี บง่ ไดเ้ป็น

๔ ชนดิ คอื
 ๑๓.๑ นทิ านไมร่ ูจ้ บ เลา่ ไปเร่อื ย ๆ หาทจ่ี บไมไ่ ด้
 ๑๓.๒ นิทานไมจ่ บเร่อื ง จบแบบไมร่ ูเ้ร่อื ง
 ๑๓.๓ นทิ านหลอกผูฟ้ งั เลา่ ไปแลว้ หลอกใหต้ อบคาถาม
 ๑๓.๔ นิทานลูกโซ่ เป็นนทิ านทม่ี เี ร่อื งราวทด่ี าเนนิ ไปอยา่ งเดยี วแต่มตี วั ละครหลาย

ตวั และมี
 พฤตกิ รรมเก่ยี วขอ้ งกนั เช่น เร่อื งยายกะตาปลูกถวั่ ปลูกงาใหห้ ลานเฝ้า

๑๔. นทิ านปรศิ นา (riddle tale) เป็นนทิ านทม่ี กี ารผูกถอ้ ยคา เป็น

เงอ่ื นงา ใหท้ ายหรอื ใหค้ ดิ ไวใ้ นเน้อื เร่อื งอาจไวท้ า้ ยเร่อื งหรอื ตอนสาคญั ๆของเน้อื
เร่อื งก็ไดเ้พอ่ื ผูฟ้ งั ไดม้ สี ่วนร่วมแสดง ความรูค้ วามคดิ เหน็ เก่ยี วกบั นทิ านทไ่ี ดฟ้ งั
หรอื อ่านนทิ านปรศิ นาทพ่ี บมากในไทย ไดแ้ ก่นิทาน
 ปรศิ นาธรรม นทิ านเวตาลทเ่ี รารบั เขา้ มาก็จดั เป็นนทิ านปรศิ นา



 ๑. นทิ านใหค้ วามสนุกสนานเพลดิ เพลนิ การเลา่ นิทานในโอกาสต่างๆ ทา ใหเ้กดิ ความเพลดิ เพลนิ ช่วย
 ผ่อนคลายความเครยี ดขณะทา งาน หรอื หลงั จากการทางานหนกั มา
 ๒.นทิ านช่วยกระชบั ความสมั พนั ธท์ าใหผ้ ูใ้ หญ่และเดก็ หรอื แมแ้ ต่ผูใ้ หญ่กบั ผูใ้ หญ่ดว้ ยกนั ก็ไดใ้ กลช้ ดิ สนทิ

สนมกนั
 ๓. นิทานใหก้ ารศึกษาและเสรมิ สรา้ งจติ นาการ เดก็ ไดม้ โี อกาสเรยี นรูล้ กั ษณะมนุษยจ์ ากตวั ละครในนิทาน

เรยี นรูเ้ก่ยี วกบั อปุ สรรคตลอดจนการเอาชนะอปุ สรรคต่างๆ ในชวี ติ นทิ านทม่ี เี ร่อื งนางฟ้าอภนิ หิ ารต่างๆ ยงั
ช่วยเสริมสรา้ งจติ นาการของเดก็ ๆ ทาใหม้ คี วามคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์
 ๔. นิทานใหข้ อ้ คดิ และคตเิ ตอื นใจ นิทานไมไ่ ดใ้ หแ้ ต่ความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ แก่ผูฟ้ งั เท่านน้ั มนี ทิ านเป็น
จานวนมากโดยเฉพาะนทิ านคตจิ ะใหข้ อ้ คดิ แงใ่ ดแงห่ น่ึง เป็นการปลูกฝงั คณุ ธรรมต่างๆ ทส่ี งั คมพงึ ประสงคแ์ ก่
ผูฟ้ งั ดว้ ย
 ๕. นทิ านช่วยสะทอ้ นใหเ้หน็ สภาพของสงั คมในอดตี ในหลายๆ ดา้ น เช่น วถิ ชี วี ติ ตลอดจนประเพณีค่านยิ ม
ความเช่อื เป็นตน้ ถา้ ผูฟ้ งั รูจ้ กั สงั เกต วเิ คราะหน์ ิทานต่างๆ เหลา่ นน้ั ก็จะทาใหเ้กดิ ความเขา้ ใจสภาพ วถิ ชีิ วี ติ
ของประชาชนในทอ้ งถน่ิ ต่างๆ อย่างแทจ้ ริง


Click to View FlipBook Version