การปิโตรเลียมแห่ง ประเทศไทย (ปตท.) ภัทรวดี ทิพย์ประเสริฐสุข จิตสุนันท์ ตันตาปกุล นัฐธิญา ขันแข็ง เจษฎา รังปัญญา ธีรภัทร์ เจริญนิตินวพันธ์ อภิญเศรษฐ์ เข็มทอง วนัทษญา ลิ้นทองคำ จิรัชญา สิทธิธาดาสกุล 1650219338 1650222811 1650223272 1650224379 1650224551 1650224569 1650224577 1650224585 สมาชิกในกลุ่ม
ดำ เนินธุรกิจ (ปตท.) มีการดำ เนินธุรกิจด้านพลังงานและ ปิโตรเคมีอย่างครบวงจรในฐานะเป็น บริษัทพลังงานแห่งชาติ โดยมีพันธกิจ ในการดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่าง สมดุล
การประกอบธุรกิจที่ปตท. ดำ เนินการเอง -ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ -ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ -ธุรกิจเทคโนโลยีและวิศวกรรม การประกอบธุรกิจที่ปตท. ลงทุนผ่านบริษัทในกลุ่ม -ธุรกิจสำ รวจและผลิต -ธุรกิจน้ำ มัน และค้าปลีก -ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น -ธุรกิจไฟฟ้าและสาธารณูปการ
เป็นผู้ประกอบธุรกิจการกลั่นและจำ หน่าย นํ้ามันปิโตรเลียมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นโรงกลั่นที่มีประสิทธิภาพสูงสุดแห่ง หนึ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีธุรกิจ หลักคือ การกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม มีกำ ลัง การกลั่นรวม 275,000 บาร์เรลต่อวัน บริษัท ไทยออยล์ จำ กัด (มหาชน) (TOP) 1
เป็นบริษัทที่ดำ เนินธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ครบวงจร (Integrated Petrochemical and Refining) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นบริษัทชั้นนำ ด้านปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ ในระดับภูมิภาคอาเซียน มีกำ ลังการกลั่นน้ำ มัน ดิบและคอนเดนเสทรวม 280,000 บาร์เรลต่อ วัน และกําลังการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและ เคมีภัณฑ์รวม 13.95 ล้านตันต่อปี บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ กัด (มหาชน) (GC) 2
เป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและ ปิโตรเคมีที่ครบวงจรรายแรกแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ กำ ลังการกลั่นรวม 215,000 บาร์เรลต่อวัน บริษัท ไออาร์พีซี (ประเทศไทย) จำ กัด (มหาชน) (IRPC) 3
เป็นผู้ให้บริการท่าเทียบเรือและรับ-เก็บ-จ่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ปัจจุบันมี การให้บริการในส่วนของพื้นที่นิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุดให้แก่บริษัทกลุ่ม ปตท. ประกอบด้วยท่าเทียบเรือจำ นวน 2 ท่า Maximum Cargo Size 60,000 DWT ซึ่ง สามารถรองรับผลิตภัณฑ์ผ่านท่าได้สูงสุด 2,000,000 ตันต่อปี และมีถังเก็บผลิตภัณฑ์ เหลวความจุรวมประมาณ 73,000 ตัน บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จำ กัด (PTT Tank) 4
ลักษณะโครงสร้างองค์กร ปตท. กำ หนดโครงสร้างการกำ กับดูแล เพื่อขับเคลื่อนธุรกิจไปสู่ความยั่งยืน โดย ระบุโครงสร้าง หน้าที่ความรับผิดชอบที่ ชัดเจน ทั้งในระดับคณะกรรมการบริษัท ฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร รวมทั้งหน่วยงาน ภายใน เพื่อผลักดัน สนับสนุน ติดตาม และทบทวนการบริหารจัดการด้านความ ยั่งยืนในภาพรวม ให้บรรลุตามเป้าหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
โครงสร้างและระบบบริหาร โครงสร้างการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ของ ปตท. ประกอบด้วยคณะกรรมการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง ดังนี้ คณะกรรมการจัดการ ทรัพยากรบุคคล ปตท. พิจารณาเสนอแนะนโยบายการ บริหารทรัพยากรบุคคล กลั่น กรองและให้คำ ปรึกษาในการ จัดการทรัพยากรบุคคลของ ปตท. กลุ่มที่ปรึกษา ประจำ สายอาชีพ วางแผนกำ หนด แนวทางการ พัฒนาพนักงาน ในสายอาชีพ คณะกรรมการ บริหารทรัพยากร บุคคลหน่วยธุรกิจ พิจารณากลั่น กรองการบริหาร ทรัพยากรบุคคล
คณะกรรมการจัดการ ทรัพยากรบุคคลของบริษัท ปตท. จำ กัด (มหาชน) พิจารณา อนุมัติหลักการ และแนวทางการบริหาร จัดการการดำ เนินงานของ ปตท. คณะกรรมการจัดการ ของบริษัท ปตท. จำ กัด (มหาชน) พิจารณา อนุมัติหลัก การและแนวทางการ บริหารจัดการการ ดำ เนินงานของ ปตท. คณะกรรมการ โครงสร้าง ค่างาน และ อัตรากำ ลัง อนุมัติ โครงสร้าง ตำ แหน่ง งานและค่างาน และเห็น ชอบกรอบอัตรากำ ลัง
คณะกรรมการบริหารความ ร่วมมือของกลุ่มทรัพยากร บุคคล บริหารงานด้าน ทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้อง กับทิศทางกลยุทธ์ของกลุ่ม ปตท. เพื่อให้เกิดการดำ เนิน งานอย่างเป็นระบบ คณะกรรมการจัดการกลุ่ม ปตท. ให้คำ ปรึกษาและข้อ เสนอแนะต่อประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการ ใหญ่เพื่อตัดสินใจประเด็นที่ สำ คัญต่อกลยุทธ์ ทิศทางการ ดำ เนินธุรกิจ แผนการดำ เนิน งานระยะยาว ผลการดำ เนิน งาน แผนการลงทุน งบ ประมาณ
คณะกรรมการจัดการพนักงาน กลุ่มศักยภาพและทุนการศึกษา ดูแลการให้ทุนการศึกษาและ การอบรมต่างประเทศของ พนักงาน พัฒนาพนักงานกลุ่ม ศักยภาพระดับ 10 ลงมา เพื่อ เตรียมความพร้อมในการเป็น ผู้บริหารในอนาคต คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ บริษัท ปตท. จำ กัด (มหาชน) พิจารณาให้ความ เห็น ส่งเสริม และพัฒนาแรงงานสัมพันธ์ หาทางระงับข้อขัดแย้งภายใน ปตท. ปรับปรุงระเบียบข้อบังคับ ปรึกษาหารือ เพื่อแก้ปัญหาตามคำ ร้องทุกข์ และเพื่อ ปรับปรุงสภาพการจ้าง
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ ปตท. คือ ผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งในเชิง บวกและลบจากการดำ เนินธุรกิจ ของ ปตท. หรือผู้ที่อาจส่งผลก ระทบต่อการดำ เนินธุรกิจของ ปตท. ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน จนถึง อนาคต กลุ่มเป้าหมาย “การสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่าง ครอบคลุม ถือเป็นหัวใจหลักของการดำ เนินธุรกิจ อย่างยั่งยืน โดย ปตท. ให้ความสำ คัญกับการรับฟัง ความต้องการ ความคาดหวัง และข้อกังวลของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม จึงให้ความสำ คัญกับการ สร้างการมีส่วนร่วม และพัฒนาแนวทางการดำ เนิน การอย่างต่อเนื่อง”
ต่อพนักงาน สนับสนุนการพัฒนาความสามารถ การ ทำ งานระดับมืออาชีพอย่างต่อเนื่อง ให้ ความมั่นใจในคุณภาพชีวิตการทำ งาน ของ พนักงานทัดเทียมบริษัทชั้นนำ เพื่อสร้าง ความผูกพันต่อองค์กร ต่อหน่วยงานภาครัฐ สร้างความมั่นคงด้านพลังงานในระยะ ยาวโดยการจัดหาพลังงานในปริมาณที่ เพียงพอมีคุณภาพได้มาตรฐาน และราคา เป็นธรรมเพื่อเสริมสร้างการเติบโตทาง เศรษฐกิจ หน่วยงานภาครัฐรัหมายถึงถึผู้กำ หนดนโยบายหรือรืกำ กับกัดูแดูล รัฐรัวิสวิาหกิจกิศาล องค์กค์รอิสอิระ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิวุฒิสภา และ องค์กค์ารระหว่าว่งประเทศ พนักงาน หมายถึงถึผู้บริหริาร และพนักงาน ปตท.และในปี 2565 ได้ ปรับรัเป็นป็กรรมการและพนักงาน เพื่อให้ครอบคลุมลุกรรมการ ผู้ บริหริาร และพนักงาน ปตท.
ต่อสังคมชุมชน เป็นองค์กรที่ดีของสังคมดำ เนินธุรกิจที่มี การบริหารจัดการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐานสากล และ มีส่วนร่วมในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีแก่สังคมชุมชน ต่อคู่ค้าและคู่ความร่วมมือ ดำ เนินธุรกิจร่วมกันบนพื้นฐานของความเป็น ธรรม มุ่งสร้างความไว้วางใจ ความสัมพันธ์ และความร่วมมือที่ดี เพื่อพัฒนาศักยภาพ และประสิทธิภาพ ในการดำ เนินธุรกิจร่วมกัน ในระยะยาว คู่ค้คู่ าค้และคู่คคู่ วามร่วร่มมือมืหมายถึงถึคู่ค้คู่ าค้ผู้ส่งมอบ คู่คคู่ วามร่วร่มมือมืและ พันธมิตมิรทางธุรธุกิจกิ สังคมชุมชุชน หมายถึงถึชุมชุชนรอบสถานประกอบการ ปตท. ประชาชน ทั่วทั่ ไป เยาวชน สถาบันบัการศึกษา สื่อมวลชน นักการเมือมืงท้อท้งถิ่นถิ่และ องค์กค์รที่ไที่ ม่ใม่ช่อช่งค์กค์รของรัฐรั (NGO)
ต่อลูกค้า สร้างความพึงพอใจและความผูกพันแก่ ลูกค้าโดยผ่านการนำ เสนอผลิตภัณฑ์และ บริการที่มีคุณภาพในระดับ มาตรฐานสากล ด้วยราคาเป็นธรรม ต่อผู้ลงทุน ดำ เนินธุรกิจเชิงพาณิชย์ สามารถสร้าง ผล ตอบแทนที่ดี และมีการขยายธุรกิจ ให้ เติบโตต่อเนื่องอย่างยั่งยืน ผู้ลงทุนทุหมายถึงถึผู้ถือถืหุ้นสามัญมัผู้ถือถืหุ้นกู้ นิติบุติคบุคลและนักลงทุนทุ รายย่อย่ย บริษัริ ษัทหลักลัทรัพรัย์ และนักวิเวิคราะห์หลักลัทรัพรัย์ ลูกลูค้าค้หมายถึงถึลูกลูค้าค้ภาคธุรธุกิจกิผู้บริโริภค และลูกลูค้าค้ราชการ
ปตท. ลงทุนในธุรกิจโรงกลั่นน้ำ มันและธุรกิจ ปิโตรเคมีแบบครบวงจรผ่านบริษัทในกลุ่ม ปตท. 4 บริษัท โดยกลุ่ม ปตท.ดำ เนินธุรกิจโรงกลั่นนํ้ามันที่ มีกระบวนการผลิตที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูง มีกำ ลังการกลั่นรวมทั้งสิ้น 770,000 บาร์เรลต่อ วัน ปตท. มีส่วนในการจัดหาน้ำ มันดิบและรับซื้อ ผลิตภัณฑ์น้ำ มันสำ เร็จรูปจากบริษัทโรงกลั่นน้ำ มัน ในกลุ่ม ปตท. ในปริมาณอย่างน้อยตามสัดส่วนการ ถือหุ้นของ ปตท. เพื่อจำ หน่ายต่อให้กับลูกค้า สินค้าและบริการที่จัด จำ หน่าย ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น
ผลิตภัณฑ์ -ก๊าซธรรมชาติสำ หรับยานยนต์ (NGV) -กลุ่มลูกค้าตลาดค้าส่งก๊าซธรรมชาติ -กลุ่มลูกค้าท่อจัดจำ หน่ายก๊าซธรรมชาติ สำ หรับภาคอุตสาหกรรม -กลุ่มลูกค้าผลิตภัณฑ์โรงแยกก๊าซธรรมชาติ บริการ -บริการเกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติสำ หรับยานยนต์
กิจกรรมเพื่อสังคม การดำ เนินงานเพื่อสังคมของ ปตท. ปตท. ดำ เนินงานด้านกิจการเพื่อสังคมตาม กรอบการดำ เนินงาน ใน 2 มิติ คือ ด้านการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ชุมชน และสังคม (SOCIAL) และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม “การมีส่วนร่วมในการเพิ่มและรักษาฟื้นฟู พื้นที่สีเขียวในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า”
“การสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมผ่านศูนย์เรียนรู้ธรรมชาติ 3 แห่ง ได้แก่ ศูนย์เรียนรู้ระบบนิเวศป่าชาย เลนสิรินาถราชินี ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์ และศูนย์เรียนรู้ป่าในกรุง”
“การมีส่วนร่วมในการสร้างความ ตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมผ่าน สถาบันลูกโลกสีเขียว”
การใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวในพื้นที่ รอบ อาคาร ปตท. สำ นักงานใหญ่ การใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวในพื้นที่คุ้ง บางกะเจ้า และศูนย์เรียนรู้ธรรมชาติ 3 แห่ง ของพนักงาน สร้างเครือข่ายชุมชนรอบสถาน ประกอบการ และระดับประเทศ ภาพลักษณ์การให้ความสำ คัญในด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในระดับ ประเทศ สร้างทักษะและความเชี่ยวชาญของ พนักงานด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อ คุณค่า/ประโยชน์ต่อพนักงาน
กลยุทธ์องค์กร กรอบกลยุทธ์การดำ เนินธุรกิจ ปตท. จากวิสัยทัศน์ใหม่ขององค์กร “Powering Life with Future Energy and Beyond” ปตท. ยังคงยึดมั่นต่อพันธกิจในการ ดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่าง สมดุล ” วิสัยทัศน์ ขับเคลื่อนทุกชีวิตด้วย พลังแห่งอนาคต
ทิศทางกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน ประกอบด้วย 3 มิติ ได้แก่ สิ่งแวดล้อม สังคม และการกำ กับดูแล โดยทั้งหมดมีความ สอดคล้องกับ SDGs ทั้ง 17 เป้าหมาย มีการ กำ หนดตัวชี้วัด เป้าหมายระยะสั้น/ ระยะกลาง/ ระยะยาว และกลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อนไปสู่ความ สำ เร็จ โดยมีการรายงานความก้าวหน้าและผล การดำ เนินงานให้คณะกรรมการฯ ตาม โครงสร้างกำ กับดูแล ทุกไตรมาส ดังนี้
: โลกเราต้องรักษ์ (Sustainable Production and Consumption) ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ คือ ทิศทางกลยุทธ์ด้าน สิ่งแวดล้อม (Environmental) -พัฒนาธุรกิจสู่สังคมคาร์บอน ต่ำ ควบคู่กับการดำ เนินธุรกิจ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Low Carbon Society) -ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าโดย ยึดหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)
-สร้างคุณค่าร่วมกัน และยกระดับ คุณภาพชีวิตของชุมชนและสังคม (Create Social Shared Value) -สร้างสภาพแวดล้อมการทำ งานที่ดี และคำ นึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน (Safe and Respect) -การเตรียมความพร้อมของ บุคลากร เพื่อรองรับการเติบโตของ ธุรกิจในอนาคต (Powering the Workforce of the Future) ทิศทางกลยุทธ์ ด้านสังคม (Social) : สังคมไทยเราต้องอุ้มชู (People’s Well-being) ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ คือ
ทิศทางกลยุทธ์ด้านการกำ กับ ดูแลและเศรษฐกิจ (Governance) -ปฏิบัติตามหลักการกำ กับดูแล กิจการที่ดี และมีจริยธรรม (Operate with integrity (GRC)) -ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เร่งสร้างการเติบโต ผลักดันเศรษฐกิจ (Economic Drive by creating ‘Next Growth’) : Performance เราต้องเลิศ (Good Governance and Performance Excellence) ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ คือ
* ความรับผิดชอบ (Accountability) การ กำ กับดูแลองค์กรควบคู่กับการบริหารจัดการ ความเสี่ยงและโอกาส การบริหารประเด็น สำ คัญด้านความยั่งยืน และกำ หนดโครงสร้าง การกำ กับดูแล 1. หลักการการบริหารจัดการความ ยั่งยืน ประกอบด้วย 7 หลักการ ได้แก่ * ความโปร่งใส (Transparency) การเปิดเผย กิจกรรมขององค์กรที่ส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้วยความ ชัดเจน ถูกต้อง ทันท่วงที และครบถ้วน
* การปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม (Ethical behavior) การยึดหลักการดำ เนินธุรกิจที่เป็น ธรรมในการทำ ข้อตกลงใด ๆ ซึ่งอาจส่งผลให้ องค์กรอื่น ๆ และผู้บริโภคตกอยู่ในสถานะที่ เสียเปรียบ * การเคารพต่อผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย (Respect for stakeholder interests) การ มีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างมี ประสิทธิภาพและเป็นธรรม ตลอดจนการให้ข้อมูล ป้อนกลับอย่างครบถ้วน
* การเคารพต่อการปฏิบัติตามแนวทางของสากล (Respect for international norms of behavior) การเคารพต่อหลักนิติธรรม และหลีก เลี่ยงการร่วมกระทำ ผิดที่ไม่เป็นไปตามแนวทาง ของสากล * การเคารพต่อหลักนิติธรรม (Respect for rule of law) การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และข้อกำ หนดต่าง ๆ และ ทบทวนการปฏิบัติตามกฎหมาย
* การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน (Respect for Human Rights) การปกป้องสิทธิ มนุษยชนของผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งเชิง บวกและลบจากการดำ เนินธุรกิจของ ปตท.
1 ธุรกิจพลังงานใหม่ และธุรกิจอื่น ๆ นอกเหนือจากพลังงาน ต้องสร้างกำ ไรในปี 2573 มากกว่าร้อยละ 30
2 เพิ่มการลงทุนในธุรกิจพลังงาน อนาคต เช่น การลงทุนในธุรกิจพลังงาน หมุนเวียน การลงทุนเพื่อเตรียมพร้อม รองรับกระแสยานยนต์ไฟฟ้า เป็นต้น และธุรกิจใหม่ที่ไกลกว่าพลังงานซึ่งมี ศักยภาพเติบโตตามทิศทางโลก เช่น การต่อยอดธุรกิจปิโตรเคมีสู่ผลิตภัณฑ์ มูลค่าสูง ด้วยเทคโนโลยีชั้นสูง
3 ลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก ให้ได้ร้อยละ 15 ในปี 2573 เมื่อเทียบปริมาณการปล่อย ในปี 2563
PTT STRATEGIC FRAMEWORK กลยุทธ์การดำ เนินธุรกิจ PTT VALUES ค่านิยม
ผสานพลังสร้างพันธมิตร มุ่งเน้นให้ พนักงานแบ่งปันองค์ความรู้ และ ผสานพลังความร่วมมือให้เกิดขึ้นทั้ง ภายในและภายนอกองค์กร สร้างความเป็นเลิศ มุ่งเน้นให้พนักงาน พร้อมปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ตั้งใจทำ งานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ เหนือความคาดหมาย เพื่อสร้างและส่งมอบ คุณค่าที่ดีที่สุดให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย S S ynergy PPerformance Excellence
สร้างสรรค์สังคมและสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้ พนักงานทำ งานบนความตระหนักรู้ โดยคำ นึงถึง ผลกระทบที่มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้เกิดการ พัฒนาอย่างยั่งยืน พัฒนาธุรกิจที่คำ นึงถึงสิ่ง แวดล้อม และมีจิตอาสาในการทำ เพื่อส่วนรวม ชุมชน สังคม และประเทศชาติ สร้างการเติบโตด้วยนวัตกรรม มุ่งเน้นให้ พนักงานมีทัศนคติเชิงบวก แสวงหาโอกาส แนวคิดใหม่ ๆ และกล้าคิดอย่างสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ งาน พร้อม ทั้งเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง Inn i ovation Res R ponsibility for Society
สร้างความเชื่อมั่นและไว้ใจ มุ่งเน้นให้พนักงาน สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในการ ทำ งานร่วมกัน เปิดโอกาสและเชื่อใจใน ศักยภาพ ความสามารถของผู้อื่น เปิดใจและ เคารพในความหลากหลายของผู้อื่น สร้างพลังความดี มุ่งเน้นให้พนักงานทำ งาน อย่างถูกต้อง โปร่งใส ปฏิบัติตนเป็นพนักงานที่ดี ขององค์กร ประพฤติตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ตั้งอยู่ในจริยธรรมอันดีงาม Integrity & Ethics i Trust & Respect T
ตามหลักการสะท้อนในบทเรียนหน้าที่ของ บริษัท ปตท.ได้กำ หนดโครงสร้างในการ บริหารจัดการประเด็นสำ คัญด้านความยั่งยืน แต่ละประเด็นจะมีหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบ ชัดเจน รวมทั้งมีการกำ กับดูแลโดยคณะ กรรมการ ทั้งในระดับจัดการและคณะ กรรมการ ปตท. เช่นเดียวกัน วิเคราะห์สะท้อนผ่านบทเรียน 1.ด้านการจัดองค์กร
ซึ่งในทางของบริษัทปตท. โดยกำ หนด/ ทบทวนนโยบาย ระบบการบริหารจัดการด้าน ความยั่งยืนจัดทำ ทิศทางกลยุทธ์ และแผนบท การบริหารจัดการด้านความยั่งยืน รวมทั้ง แผนปฏิบัติการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ กำ หนด 2.ด้านการวางแผนในการจัดการ
ของบริษัทปตท.เพื่อแสดงความมุ่งมั่นใน การบริหารจัดการความยั่งยืนโดยบูรณา การไปกับการดำ เนินธุรกิจทั่วทั้งองค์กร ปตท. ได้ประกาศ “นโยบายการบริหาร จัดการความยั่งยืนของ ปตท.” ได้ลงนาม โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ดังนั้นทางบริษัท ปตท. ได้ มีนโยบายในการปฎิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3.ด้านนโยบาย
ในทางบริษัทปตท.ได้ทบทวนลำ ดับความ สำ คัญของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ เกี่ยวข้องกับการดำ เนินธุรกิจ เพื่อเป็น หนึ่งในปัจจัยป้อนเข้าในการกำ หนด ทิศทางกลยุทธ์และแผนวิสาหกิจของ องค์กร 4.ด้านการสนับสนุนเป้าหมาย
5.ด้านการสร้างแรงจูงใจ ปตท. มีกลยุทธ์และนโยบายในการสร้าง แรงจูงใจแก่บุคลากร ทั้งในรูปแบบของค่า ตอบแทน ความก้าวหน้าในการทำ งาน และ อื่น ๆ โดย
การปรับปรุงหลัก เกณฑ์การแต่งตั้งและ เลื่อนระดับให้เป็น มาตรฐานเดียวกันทั้ง ปตท. เพื่อให้พนักงานที่มี ศักยภาพและผลการ ปฏิบัติงานดี มีโอกาส ในการก้าวหน้าได้แตก ต่างจากพนักงานกลุ่ม อื่น
การปรับนโยบายขึ้นเงิน เดือนเมื่อพนักงานได้รับ การเลื่อนระดับ ซึ่งเป็นหลัก การที่เทียบเคียงได้กับ ธุรกิจชั้นนำ ส่งผลให้ใน ระยะยาวสามารถรักษา ระดับเงินเดือนของ พนักงานให้เทียบเคียงได้ กับตลาด เกิดความเป็นธรรมกับ พนักงานที่มีประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญในการ ทำ งานมากขึ้น หรือมีหน้าที่ ความรับผิดชอบที่สูงขึ้น
การบริหารค่าตอบแทน ที่เชื่อมโยงกับผลการ ปฏิบัติงานรายบุคคล ซึ่งกำ หนดให้พนักงาน ทุกระดับต้องตั้งเป้า หมาย ดัชนีชี้วัดระดับบุคคลที่ มีความสอดคล้องกับ เป้าหมายและกลยุทธ์ ทางธุรกิจและสามารถ สะท้อนความแตกต่าง ของผลการปฏิบัติงาน ของพนักงาน โดยไม่ เลือกปฏิบัติ
การศึกษาเปรียบเทียบ และปรับปรุงการ บริหารค่าตอบแทนกับ บริษัทชั้นนำ ทั้งใน ประเทศและต่าง ประเทศเป็นประจำ ทุกปี สะท้อนถึงผลประกอบ การของบริษัท ซึ่งค่าตอบแทนจัดอยู่ ในระดับชั้นนำ ของ ประเทศและเป็นไปตาม ผลการดำ เนินงาน อย่างแท้จริง
การจัดทำ แผนพัฒนาสาย อาชีพพนักงาน เพื่อเตรียม ความพร้อมให้พนักงานใน การดำ รงตำ แหน่งที่สูงขึ้น โดยจัดทำ เป็นแผนพัฒนา รายบุคคล สำ หรับพนักงานที่มีผล งานดีและสามารถพัฒนา ศักยภาพได้ตรงตาม ตำ แหน่งงานจะได้รับการ พิจารณาเป็น Candidate เพื่อการแต่งตั้งโดยคณะ กรรมการอย่างโปร่งใส และเป็นธรรม
จัดให้มีสวัสดิการและ สิทธิประโยชน์หลาก หลายรูปแบบมากกว่าที่ กฎหมายกำ หนด โดย ออกแบบให้เหมาะสม ครอบคลุมทุกช่วงอายุ ของพนักงาน พนักงานสามารถเลือก รับสวัสดิการได้ตาม ความต้องการของแต่ละ บุคคล เช่น สวัสดิการ ทางเลือก และค่ารักษา พยาบาลของบุคคลใน ครอบครัว เป็นต้น
บรรณานุกรม บริษัท ปตท. จำ กัด(มหาชน). (ม.ป.ป.) การ ปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.). สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.pttplc.com/th/