The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่มแนวทางปฏิบัติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kapong.pk, 2021-09-21 02:58:51

รูปเล่มแนวทางปฏิบัติ

รูปเล่มแนวทางปฏิบัติ

คาํ นาํ

ศนู ยพฒั นาเด็กเลก็ เปน สถานศกึ ษาทีใ่ หการอบรมเลีย้ งดู สงเสรมิ พัฒนาการเรยี นรูใหเ ด็กเล็กอายตุ ั้งแต
2-5 ป ใหไดรับการพัฒนาท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคมและสติปญญาที่เหมาะสมตามวัย เด็กกอนวัยเรียนที่มี
อายุตั้งแต 2-5 ป ในประเทศไทย มีจํานวนมากกวา 2.6 ลานคน ซึ่งเปนประชากรที่อยูในจังหวัดเชียงใหม จํานวน
มากกวา 62,000 คน ศูนยเดก็ เล็กและโรงเรียนอนุบาลเปนสถานที่ที่เด็กอยูร วมกันเปนจํานวนมาก เนื่องจากเด็กมีภูมิ
ตานทานตํ่าจึงมีโอกาสปวยไดบอย โดยเฉพาะโรคติดตอท่ีสําคัญและพบบอย ไดแก โรคติดเช้ือระบบทางเดินหายใจ
โรคมือเทาปาก โรคอุจจาระรวง อีกท้ังสถานการณปจจุบันมีรายงานผูปวยโรคโควิด-19 ทสี่ ามารถเกิดขึ้นไดในทุกชวง
อายุ เด็กมีโอกาสเปนผูแพรเชื้อสูผูอื่นได แมรายงานสวนใหญเด็กมักเปนผูรับเชื้อไวรัสโควิด-19 จากผูอ่ืน เด็กมักมี
อาการไมรุนแรง แตอาจมีอาการรุนแรงถึงแกชีวิตไดในกรณีที่มีโรคอ่นื อยูกอน หรือเปนผูที่มภี ูมิคุมกันบกพรอง ดังน้ัน
การติดเช้ือทางเดินหายใจ ยังคงเปนปญหาสุขภาพท่ีสําคัญของเด็กอายุตํ่ากวา 5 ป โดยเฉพาะเด็กที่ไดรับการดูแลใน
ศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็

แนวทางปฏบิ ัติสาํ หรับศูนยพ ัฒนาเด็กเล็ก ในการปองกันโรคติดตอระบบทางเดนิ หายใจ สาํ หรบั ผูด ูแลเด็กเปน
แนวทางที่ชวยใหเกิดการปฏิบัติงานไดถกู ตองเหมาะสม เพื่อใหเ ด็กกอนวัยเรียน และผูดูแลเด็กในสถานพัฒนาเด็กเล็ก
สามารถอยูรวมกันไดอยางปลอดภัย โดยมีสาระสําคัญประกอบดวยคํานิยาม ปจจัยของการเกิดโรคติดเชื้อระบบ
ทางเดินหายใจในเด็ก ธรรมชาติของการเกิดโรค โรคติดตอระบบทางเดินหายใจในเด็กที่พบบอย การทําความสะอาด
มือ การสวมและถอดหนา กากอนามัย การคัดกรองบุคคลของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั (ผูดูแล ผปู กครอง) การคัดกรอง
เดก็ การฆาเชอื้ และการดแู ลความสะอาดส่ิงแวดลอม

คณะผูจัดทํามุงหวังวา “แนวทางปฏิบัติในการปองกันโรคติดตอระบบทางเดินหายใจ สาํ หรับผูดูแลเด็ก ศูนย
ดูแลเด็กกอนวัยเรียน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม” ฉบับนี้ จะสามารถนําไปใชเปนแนวปฏิบัติในศูนย
ดูแลเด็กกอนวัยเรียน เพื่อปองกันความเส่ียงในการติดเช้ือและการแพรระบาดของโรคติดตอท่ีสามารถปองกันได อัน
จะสงผลใหเด็กมีสุขอนามัยและสุขภาพที่ดี มีภูมิตานทานโรคท่ีดี มีการเจ็บปวยลดลง และลดโอกาสเกิดการแพร
ระบาดของโรคตดิ ตอ ภายในศูนยเ ดก็ เล็กตอไป

คณะผจู ัดทาํ
กรกฎาคม 2564

สารบัญ หนา
1
เนอ้ื เรือ่ ง 2
คาํ นยิ าม 2
ปจ จัยของการเกดิ โรคตดิ เชื้อระบบทางเดนิ หายใจในเด็ก 4
ธรรมชาติของการเกดิ โรค 4
โรคตดิ ตอ ระบบทางเดนิ หายใจในเด็กและวิถีทางการแพรก ระจายเชอ้ื 5
6
 หวดั (Common cold) 7
 ไขหวัดใหญ (Influenza) 9
 ปอดอักเสบ (Pneumonia) 10
 คอตีบ (Diphtheria) 11
 คางทมู (Mumps) 12
 หัด (Measles) 14
 หัดเยอรมนั (Rubella) 16
 ไอกรน (Percussive) 17
 ไซนัสอักเสบ (Sinusitis)
 หูชนั้ กลางอักเสบ (Otitis media) 18
 โรคไวรัสโควิด-19 22
23
การทําความสะอาดมอื 24
การสวมและถอดหนา กากอนามัย 26
การคดั กรองบคุ คลของศูนยดูแลเด็กกอ นวยั เรียน (เดก็ และผปู กครอง) 26
การทําลายเช้ือและการดแู ลความสะอาดส่ิงแวดลอ ม 37
ภาคผนวก 38
40
 อินโฟกราฟค (Infographic) รายโรค
 อนิ โฟกราฟค (Infographic) การทาํ ความสะอาดมอื
 อินโฟกราฟค (Infographic) การสวมหนา กากอนามัย
เอกสารอา งอิง

1

คํานยิ าม

เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กอายุระหวาง 2-5 ป ที่เขารับการอบรมเล้ียงดู และพัฒนาความพรอมดานรางกาย
อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา ในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก (กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย,

2559)
โรคติดตอ หมายความวา โรคทเ่ี กิดจากเช้อื โรคหรอื พิษของเช้ือโรคซึง่ สามารถแพรโ ดยทางตรง หรือทางออม

มาสูคน (พระราชบัญญตั ิโรคตดิ ตอ, 2558)

โรคระบบทางเดนิ หายใจในเดก็ หมายถงึ โรคที่เกดิ จากมีความผิดปกตขิ องเนอ้ื เย่ือ หรอื อวยั วะตา งๆในระบบ
ทางเดินหายใจ เชน จมูก ลําคอ ทอลมหลอดลม และปอด แบงเปน 2 สวน คือ ระบบทางเดินหายใจตอนตน และ

ระบบทางเดินหายใจตอนลาง เชื้อท่ีเปนสาเหตุสวนใหญจากเช้ือไวรัส ไดแก โรคหวัด ไขหวัดใหญ ไขหวัดนก และ

ซารส เปน ตน การติดเชอ้ื จากแบคทีเรยี ไดแ ก ปอดบวม และวัณโรค เปนตน (วชิ ุตา ศรสี คุ นธ, 2561)
ศนู ยพัฒนาเด็กเล็ก หมายถึง สถานศึกษาทีใ่ หการอบรมเล้ียงดู จัดประสบการณ และสงเสริมพฒั นาการ การ

เรียนรูใหเด็กเล็กมีความพรอม ดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคมและสติปญญา (กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น

กระทรวงมหาดไทย, 2559)

ทม่ี า: https://www.unicef.org/thailand/th/ภารกิจของยนู เิ ซฟ/การพฒั นาเด็กปฐมวัย

2

ปจจยั ของการเกิดโรคติดเช้อื ระบบทางเดินหายใจในเดก็

ปจจัยของการเกดิ โรคติดเชอื้ เมื่อเช้อื โรคเขา สรู างกาย บางคนอาจเกิดโรคและแสดงอาการอยางรวดเร็ว
ขณะท่บี างคน ไมแสดงอาการใด ๆ ท้งั นีข้ ึ้นอยูกับ (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2554)

(1) คุณสมบตั ิของเชอื้ เชน ความสามารถในการกอ โรคของเชือ้ ความรนุ แรงของเชื้อ ระยะฟก ตัวของเช้ือท่ี
เขา สรู า งกาย และปรมิ าณของเช้อื ทไ่ี ดรับ

(2) สภาพรางกายผูรับเชื้อโรค โดยเฉพาะคนชรา ทารก และเด็กเลก็ ที่มีระดบั ภูมิตา นทานโรคของรา งกาย
ไมด ีพอ ทาํ ใหเ จบ็ ปวยไดงาย และมีอาการรุนแรงมากกวากลมุ อายุอ่นื สาํ หรบั คนทมี่ ีรางกายแขง็ แรง
ภมู ิตานทานของรา งกายดี เม่ือไดร ับเชื้ออาจไมเกดิ โรค หรือหากเกิดโรคกอ็ าจแสดงอาการไมรุนแรง

(3) ส่ิงแวดลอม ซ่งึ มีผลตอการแพรก ระจายของโรคและการเกิดโรคได เชน ถา อากาศหนาวเยน็ เชื้อไวรัส
หวดั จะสามารถอยใู นสง่ิ แวดลอมไดน านขึน้ โอกาสท่คี นจะไดร ับเชอื้ และเปนโรคหวดั จึงมากขึ้น ในขณะท่ี
เชอื้ แบคทเี รียบางชนดิ สามารถเจรญิ เตบิ โตและเพม่ิ จํานวนไดด ีในอุณหภูมทิ ีส่ ูงข้ึน เชน เชอ้ื อหวิ าตกโรค
ซง่ึ มกั ระบาดในชว งฤดรู อน เปนตน

ธรรมชาตขิ องการเกิดโรค

ธรรมชาติการเกิดโรค (natural history of disease)
หมายถงึ กระบวนการของการเกิดโรคตามธรรมชาตใิ นคน โดยท่ีไมมกี ารรกั ษาหรือภาวะแทรกซอ น

ใด ๆ เร่ิมจากคนท่ีมีภาวะสุขภาพดี ไดรับองคประกอบท่ีเส่ียงตอการเกิดโรคหรือปจจัยเสี่ยงของโรค ทําใหรางกายมี
ความไวตอการเกิดโรค หรือการตดิ เชื้อ เมื่อบุคคลน้นั เปนโรคแลวอาจมีโอกาสฟนหายปกติ มีความพิการหรือเสียชีวิต
ได ในกรณีที่ไมไดร ับการรักษาพยาบาลหรือการดูแลท่ถี ูกตองและมคี ุณภาพ (สพุ รรณี ธรากุล, 2562)

การดําเนนิ ของโรคตดิ เช้ือตามธรรมชาตมิ ี 4 ระยะ ไดแ ก (กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข, 2554)
ระยะที่ 1 ระยะกอนไดร ับเช้อื เปน ระยะท่รี างกายยงั ไมไดรับเชอ้ื เขาสูร า งกาย แตม ปี จจัยเส่ยี งหรอื

องคประกอบตาง ๆ ที่สง เสริมหรือเอ้ือตอการเกดิ โรค ไดแก ความรุนแรงของเชื้อกอโรค สภาพรางกายของผูไดรับเช้ือ
ไมสมบูรณและไมแข็งแรง และสิ่งแวดลอมท่ีมีการปนเปอนและเอื้อตอการแพรกระจายเชื้อโรค (กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข, 2554) เด็กเล็กและผูสูงอายุจะมีความไวตอการเกิดโรคมากกวาเด็กโตหรือผูใหญ หรือมีโอกาส
ตดิ เชอ้ื ไดม ากกวาบุคคลวัยอนื่ เนือ่ งจากกลไกในการสรา งภมู ิตานทานโรคในเดก็ ยังพัฒนาไมเตม็ ที่ เด็กที่ไมไดรบั วัคซีน
ปองกันโรคตามขอกําหนดการใหวัคซีนมีโอกาสเปนดรคไดมากกวาเด็กที่ไดรับวัคซีนครบตามเกณฑ (สุพรรณี ธรากุล,
2562)

3

ระยะที่ 2 ระยะกอ นมีอาการ (ระยะฟก ตวั ) เม่อื เช้อื โรคเขาสูรางกาย รา งกายจะพยายาม ทําลาย
และกําจัดเชื้อ ถารางกายไมสามารถกําจัดเช้ือนั้นไดจะทําใหเกิดความผิดปกติของรางกาย ซึ่งในระยะนี้ยังไมปรากฏ
อาการของโรคใหเห็น (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2554) สําหรับกรณีโรคติดตอจะเรียกวาระยะฟกตัว
(incubation period) สว นโรคไมตดิ ตอเรยี กวาระยะแฝง (latency period) (สุพรรณี ธรากลุ , 2562)

ระยะท่ี 3 ระยะแสดงอาการของโรค เม่อื รางกายไมสามารถทําลายหรือกาํ จัดเช้อื โรคได จะทําให
เกิดการเจ็บปวยขึ้น โดยอาการแสดงและความรุนแรงของโรคขึ้นอยูกับชนิดของเชื้อท่ีไดรับ ดังนั้นการตรวจสุขภาพ
เปนประจํา การคนหาและแยกผูปวยที่ติดเช้ือตั้งแตระยะตนๆ ของการเจ็บปวย จะเปนการตัดวงจรการแพรเช้ือโรค
สามารถใหการดูแลรักษาผูปวยไดอยางถูกตองและทันเวลา ทําใหสามารถลดความรุนแรง ภาวะแทรกซอนของโรค
ปองกันการเกดิ ความพิการและเสียชวี ติ ได (กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข, 2554)

ระยะท่ี 4 ระยะฟนตวั ของโรค เปน ระยะหลังจากรา งกายเกดิ โรค โดยผูปวยอาจไดรบั การรักษา
หรือไมก็ตาม ซึ่งสวนใหญหายเปนปกติ แตบางรายอาจเกิดโรคแทรกซอน พิการ หรือรุนแรงถึงเสียชีวิต ดังน้ันการ
ตรวจพบสาเหตุการเกิดโรคและใหการรักษาผูปวยตั้งแตระยะแรก ๆ จึงเปนมาตรการที่สําคัญอยางย่ิงในการชวยลด
ความพิการและการเสยี ชวี ติ ได (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2554)
แผนภูมิท่ี 1 ธรรมชาตกิ ารเกิดโรค

ระยะแพรกระจายเชอ้ื ไปสคู นอืน่ ได อาการนอย
ปานกลาง
รนุ แรง

ระยะฟกตัว (ไดรับเชอ้ื จนถึงแสดงอาการ)

หมายเหตุ. จาก “แนวทางการปองกนั ควบคมุ โรคติดตอ ในศนู ยเ ดก็ เลก็ ” โดย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,
2554, แนวทางการปอ งกนั ควบคุมโรคติดตอ ในศูนยเ ดก็ เล็ก (สําหรบั ครูและผูด แู ลเดก็ ), หนา 10.

4

โรคติดตอ ระบบทางเดนิ หายใจในเด็กและวถิ ที างการแพรกระจายเชอ้ื

โรคหวัด (Common cold)
ลกั ษณะของโรค

โรคหวดั (common cold) เปนการติดเช้อื ทางเดนิ หายใจสวนบน บรเิ วณโพรงจมกู และอาจลาม
มาถึงชอ งปากท่ีมีอาการไมรนุ แรง โดยเฉลย่ี ในเด็กมโี อกาสเปน โรคหวัด 6-8 คร้ังตอ ป ผูปว ยบางรายอาจเปนหวัดได
มากกวา 12 คร้ังตอป เดก็ มีโอกาสเปน หวัดนอยลงเม่ือโตข้ึน

สาเหตุ
สาเหตุสว นใหญเ กิดจากเชื้อไวรัส เชอ้ื ที่พบบอยที่สุดในผูป ว ยทกุ อายคุ ือ rhinovirus ซงึ่ มมี ากกวา

100 ชนดิ รองลงมาไดแ ก coronavirus, parainfluenza virus เปนตน
ระยะฟกตัว
ระยะฟกตัวของ rhinovirus ประมาณ 1-4 วัน สวน coronavirus ใชเวลา ประมาณ 2-4 วนั

โดยทั่วไปมกั เกดิ อาการภายหลังการสัมผสั เชอื้ 1-3 วัน
ระยะตดิ ตอ
สามารถแพรเ ชอื้ ไวรสั ไขหวัดใหญตั้งแต 1 วัน กอ นมอี าการและจะแพรเ ชือ้ ตอไปอีก 5 -7 วนั หลงั มี

อาการ ในเดก็ เลก็ อาจแพรเ ชื้อไดนานกวา 7 วนั
วิธกี ารตดิ ตอ (วิถีทางการแพรก ระจายเชอ้ื )
ตดิ ตอทางระบบทางเดนิ หายใจ จากการไอจาม รับน้าํ มกู นาํ้ ลาย หรือสมั ผัสเช้ือโรคจากส่ิงตาง ๆ
อาการและอาการแสดง

• ขนึ้ กับอายแุ ละชนิดของเชอ้ื ไวรสั เดก็ เลก็ อาจมไี ขและนาํ้ มูกเปนอาการเดน เด็กโตมกั ไมม ีไขแ ตอาจ
เร่ิมดวยอาการเจ็บคอหรือระคายคอ ตอมามีนํ้ามูก คัดจมูก ไอ อาการไอพบไดประมาณสองในสาม
ของผปู วยเด็ก

• โรคหวัดอาจเปนอาการเริม่ ตนของโรคติดเชื้อทางเดินหายใจท้ังหมดท่ีเกดิ จากเช้ือไวรัส หากเปนการ
ติดเชือ้ ไวรสั บางชนิด เชน influenza virus, respiratory syncytial virus จะมีอาการอื่นมากกวา
เชอ้ื rhinovirus หรอื coronavirus เชน มอี าการปวดหวั เสียงแหบ ปวดเม่ือยตัว อาเจยี น ทอ งเสีย

• หากเปนโรคหวัดธรรมดา เด็กจะมีนํ้ามูกใสในวันแรกตอมาอาจเปลย่ี นเปนสีเขียว การมีนํา้ มูกสีเขียว
หรือเหลืองจึงไมจําเปนตองมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซอนเสมอไป อาการแสดง ไดแกเย่ือบุจมูก
บวมแดง อาจพบเยือ่ บตุ าแดง ตอมาน้ําเหลอื งทีค่ อโตได

• โดยทวั่ ไปอาการของโรคหวัดมกั ไมนานเกิน 7-14 วัน ถา มอี าการนาน เกิน 2 สปั ดาห ใหสงสัยวา อาจ
มภี าวะไซนสั อกั เสบ หรือมีการติดเชื้อแบคทเี รยี รว มดวย หรือเปน โรคจมกู อกั เสบจากภูมแิ พ

5

การปอ งกัน

• หลกี เล่ียงการสัมผัสและลดการแพรก ระจายเชื้อโรค โดย
- หมัน่ ลา งมอื บอย ๆ ดว ยนํา้ และสบู หรือเจลลา งมือ
- ไมใชของสวนตัวรว มกบั ผูอ่ืน เชน ผา เชด็ หนา ผาเชด็ ตัว แกว นา้ํ
- ไมพาเด็กเลก็ ไปสถานท่ีแออัด เชน หา งสรรพสนิ คา โรงภาพยนตร
- เดก็ กอนวยั เรียนเม่ือเปนโรคหวดั ควรพกั ทีบ่ านอยา งนอย 2-3 วัน
หรือจนกวาจะหาย
- เวลาไอ หรอื จาม ควรปดปาก ปดจมกู ดวยผา หรอื กระดาษทชิ ชู ทุกคร้ัง หรือ สวม
- หนากากอนามัยเมื่อเปน โรคหวัด เพอื่ ปองกนั การแพรกระจายเชื้อใหกับผูอ่นื

• หลกี เล่ยี งการสมั ผัสสิง่ แวดลอมที่เสีย่ งตอการเกิดโรค
- มลพิษ เชน ควันบหุ รี่ ควนั ไฟในบาน ควันทอ ไอเสยี รถ
- รักษารางกายใหอบอนุ และไมอ ับชืน้ โดยเฉพาะฤดฝู น ฤดหู นาว หรือชวงท่มี ีอากาศ
เปลยี่ นแปลงอยา งรวดเรว็

ไขห วัดใหญ (Influenza)
ลักษณะโรค

เปนการติดเช้อื ไวรสั ท่ีระบบทางเดนิ หายใจแบบเฉยี บพลนั โดยมลี กั ษณะทางคลินิกทส่ี ําคัญคือ มไี ข

สงู แบบทันทีทันใด ปวดศีรษะ ปวดเม่ือยกลามเนอื้ ออนเพลีย ไขหวัดใหญเปนโรคที่สําคัญท่ีสุดโรคหน่ึงในกลุมโรคติด

เช้ืออุบัติใหมและโรคติดเช้ืออุบัติซ้ํา เนื่องจากเกิดการระบาดใหญทั่วโลก (pandemic) มาแลวหลายคร้ัง แตละครั้ง

เกดิ ขึน้ อยา งกวา งขวางเกอื บทุกทวปี ทาํ ใหมีผปู วยและเสยี ชีวิตนับลา นคน
สาเหตุ
เกดิ จากเช้อื ไวรัสไขหวดั ใหญซง่ึ มี 3 ชนดิ (type) คอื A, B และ C ไวรัสชนดิ A เปน ชนดิ ทที่ ําให

เกิดการระบาดอยางกวางขวางท่ัวโลก ไวรัสชนิด B ทําใหเกิดการระบาดในพื้นท่ีระดับภูมิภาค สวนชนิด C มักเปน

เนื่องจากการเปล่ียนแปลงของแอนตเิ จนทีเ่ กิดไดบอยทาํ ใหมีเชือ้ ไวรสั ไขห วัดใหญส ายพนั ธใุ หม ๆ

ระยะฟก ตัว
ประมาณ 1-3 วัน

ระยะตดิ ตอ
ผปู ว ยสามารถแพรเ ชื้อไวรัสไขห วัดใหญตัง้ แต 1 วันกอนมีอาการและจะแพรเ ช้อื ตอไปอกี 3-5 วนั

หลังมีอาการในผูใหญ สวนในเด็กอาจแพรเชื้อไดนานกวา 7 วัน ผูที่ไดรับเช้ือไวรัสไขหวดั ใหญแตไมมีอาการก็สามารถ

แพรเ ช้อื ในชว งเวลานั้นไดเ ชนกนั

วธิ กี ารตดิ ตอ (วิถีทางการแพรกระจายเชื้อ)
เช้ือไวรสั ไขหวัดใหญตดิ ตอ ทางการหายใจ โดยจะไดร ับเชอื้ ท่ีออกมาปนเปอ นอยูใ นอากาศเมื่อผูป วย

6

ไอจาม หรือพูด ในพื้นที่ที่มีคนอยูรวมกันหนาแนน เชน โรงเรียน โรงงาน การแพรเช้ือจะเกิดไดมาก นอกจากนี้การ
แพรเช้ืออาจเกิดโดยการสัมผสั ฝอยละอองนํา้ มูก น้ําลายของผปู วย (droplet transmission) จากมือที่สัมผัสกับพื้นผิว
ที่มีเชอื้ ไวรัสไขห วดั ใหญ แลวใชม อื สมั ผัสทีจ่ มูกและปาก

อาการและอาการแสดง
อาการจะเร่ิมหลังไดรับเช้ือ 1-4 วัน ผูปวยจะมีไขแบบทันทีทันใด ปวดศีรษะ หนาวสั่น ปวดเมื่อย

กลามเนื้อ ออนเพลียมาก และอาจพบอาการคัดจมูก เจ็บคอ ถาปวยเปนระยะเวลานานอาจจะมีอาการไอจาก
หลอดลมอกั เสบ อาการจะรุนแรงและปวยนานกวาไขห วัดธรรมดา (common cold) ผปู วยสวนใหญจะหายเปนปกติ
ภายใน 1-2 สัปดาห แตมีบางรายท่ีมีอาการรุนแรง เนื่องจากมีภาวะแทรกซอนที่สําคัญคือ ปอดบวมซึ่งอาจทําให
เสยี ชวี ิตได ผูทเี่ ส่ยี งสูงตอ การเกดิ ภาวะแทรกซอนหรอื เสียชีวติ

การปองกัน
1. ไมค วรคลุกคลใี กลช ิดกับผูปว ยท่ีมีอาการไขห วดั หรอื ถา จําเปนควรปดปาก จมกู ดว ยหนากากอนามยั
2. ควรหลกี เลี่ยงการอยใู นสถานท่ที ี่มีผูค นแออัด และอากาศถายเทไมด เี ปนเวลานานโดยไมจ ําเปน
3. หมน่ั ลางมือบอยๆ ดว ยนาํ้ และสบู หรอื ใชแอลกอฮอลเ จลทาํ ความสะอาดมอื
4. ไมใชสิ่งของรว มกับผอู น่ื เชน แกวนํ้า หลอดดดู นํา้ ชอนอาหาร ผาเช็ดมือ ผาเชด็ หนา ผาเชด็ ตวั
5. ฉดี วคั ซนี ปอ งกนั ไขหวดั ใหญปล ะครง้ั

ปอดอักเสบ (Pneumonia)
ลกั ษณะโรค

• ปอดอกั เสบ เปนโรคทพี่ บไดประมาณรอยละ 8-10 ของผปู ว ยทม่ี ีการติดเชื้อเฉยี บพลันระบบหายใจ
นับเปนสาเหตุการตายอันดับหน่ึงของโรคติดเช้ือในเด็กอายุตํ่ากวา 5 ป เกิดจากสาเหตุหลัก 2 กลมุ คือ ปอดอักเสบท่ี
เกิดจากการติดเชื้อและปอดอักเสบท่ีไมไดเกิดจากการติดเช้ือ โดยทั่วไปพบปอดอักเสบท่ีเกิดจากการติดเช้ือมากกวา
ชนิดของปอดอักเสบจาํ แนกไดห ลายแบบ ปจจบุ นั นยิ มจําแนกตามสภาพแวดลอมที่เกิดปอดอกั เสบเปน ปอดอกั เสบใน
ชุมชน (community- acquired pneumonia - CAP) และปอดอักเสบในโรงพยาบาล (nosocomial pneumonia
หรอื hospital-acquired pneumonia -HAP) เพื่อประโยชนใ นการวินจิ ฉยั และดูแลรักษาตง้ั แตแ รก

• ปอดอกั เสบในชมุ ชน หมายถึงปอดอักเสบที่เกิดจากการตดิ เชอื้ ท่ีเกิดนอกโรงพยาบาลโดยไมรวม
ปอดอกั เสบท่เี กดิ ข้นึ หลังจาํ หนา ยผูปวยออกจากโรงพยาบาลภายในเวลาไมเกิน 2 สปั ดาห

สาเหตุ

• โรคปอดอักเสบอาจเกดิ ไดทงั้ จากไวรัส แบคทเี รยี และเชื้อรา ซ่ึงแตกตางกนั ในแตละกลุมอายุและ
สภาพแวดลอ มท่ีเกิดปอดอกั เสบ

• ในประเทศไทยมกี ารศึกษาในผูปวยเดก็ อายตุ ่าํ กวา 5 ปท เี่ ปน ปอดบวมพบวาสวนใหญเกดิ จากไวรัส

7

รอยละ 42 ที่พบบอยท่ีสุดไดแก respiratory syncytial virus (สมาคมโรคระบบหายใจและเวชบําบัดวิกฤตในเด็ก
และ ราชวิทยาลัยกมุ ารแพทยแ หงประเทศไทย, 2562)

ระยะฟกตวั
ไมแ นช ดั ข้นึ กับชนดิ ของเชื้อ อาจส้นั เพียง 1 - 3 วัน หรือนาน 1 - 4 สัปดาห

ระยะตดิ ตอ
สามารถแพรเ ช้อื ไดจนกวา เสมหะจากปากและจมูกจะมเี ชือ้ ไมรุนแรงและปรมิ าณไมม ากพอ เดก็ ที่

เปนพาหะของเชอ้ื โดยไมม ีอาการซ่ึงพบไดใ นสถานเล้ยี งเด็กกอ นวยั เรียนกส็ ามารถแพรเ ชือ้ ได
วิธีการติดตอ (วถิ ที างการแพรกระจายเช้อื )
การหายใจนําเช้ือเขา สปู อดโดยตรง การสดู หายใจเอาเช้ือทีอ่ ยูใ นอากาศในรปู ละอองฝอยขนาดเล็ก

เปนวิธีสําคญั ท่ีทําใหเกิดปอดอักเสบจากเชื้อกลุม atypical organisms เช้ือไวรัส เช้ือวัณโรค และเชื้อรา จงึ ทําใหเกิด
การแพรระบาดของเช้ือเหลานี้ไดงา ยในกลุมคนที่อยรู วมกนั โดยเฉพาะครอบครัว ชั้นเรียน หองทํางาน สถานรับเล้ียง
เด็กกอนวยั เรยี น โรงแรม หอพกั หรือในบรเิ วณท่ีมคี นอยแู ออัด

อาการและอาการแสดง

• ไข ไอ หายใจเร็วอาจมอี าการหอบ หายใจลาํ บาก
หายใจเร็วกวา ปกติตามเกณฑอ ายขุ ององคการอนามัยโลก ใชเกณฑดงั น้ี
- อายุ < 2 เดือน หายใจเรว็ ≥ 60 ครง้ั /นาที
- อายุ 2 เดือน-1 ป หายใจเรว็ ≥ 50 คร้ัง/นาที
- อายุ 1-5 ป หายใจเร็ว ≥ 40 ครัง้ /นาที
- อายุ > 5 ป หายใจเรว็ ≥ 30 คร้ัง/นาที

การปองกนั

• หลีกเลี่ยงการอยูในท่ีที่มีผูคนหนาแนน เชน ศูนยการคา โรงภาพยนตร โดยเฉพาะไมควรพาเด็ก
เลก็ ๆ ไปในสถานทีด่ ังกลา ว

• หลีกเล่ียงปจจัยเสี่ยง ภาวะทุพโภชนา ควันบุหร่ี ควันไฟ ควันจากทอไอเสียรถยนต หรืออากาศท่ี
หนาวเย็น

• ไมค วรใหเ ด็กเล็กโดยเฉพาะเดก็ ทอ่ี ายุตาํ่ กวา 1 ป และผทู ี่สขุ ภาพไมแข็งแรงคลุกคลกี บั ผูป วย

คอตบี (Diphtheria)
ลกั ษณะโรค

คอตีบเปนโรคติดเชอ้ื เฉียบพลนั ของระบบทางเดินหายใจ ซง่ึ ทาํ ใหเกดิ การอกั เสบมแี ผน เยอ่ื เกดิ ข้ึนใน
ลาํ คอ ในรายที่รุนแรงจะมีการตบี ตันของทางเดินหายใจ จึงไดชื่อวาโรคคอตีบ ซ่ึงอาจทําใหถึงตายไดและจาก
พิษ (exotoxin) ของเช้อื จะทําใหมีอนั ตรายตอกลามเนื้อหวั ใจและเสนประสาทสว นปลาย

8

สาเหตุ
โรคคอตีบเกิดจากเช้ือแบคทีเรีย Corynebacterium diphtheriae มีสายพนั ธุท่ีทาํ ใหเกิดพิษและไม

ทําใหเกิดพษิ พิษท่ีถูกขับออกมาจะชอบไปท่ีกลามเนื้อหวั ใจและปลายประสาท ทําใหเกิดการอักเสบ ซึ่งถาเปนรนุ แรง
จะทําใหถงึ ตาย

ระยะฟก ตัว
ตั้งแตไดรับเช้ือจนแสดงอาการจะใชเวลาประมาณ 1-7 วัน (โดยเฉลี่ย 3 วัน) แตอาจนานไดถึง 10

วัน และผูปวยมกั มอี าการอยูนาน 4-6 สัปดาห หรอื อาจนานกวานี้ ทง้ั นี้ขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรค ในบางกรณีผตู ิด
เช้ืออาจจะไมแสดงอาการใด ๆ เลยก็ได ซึ่งกลุมผูติดเชื้อที่ไมแสดงอาการเหลาน้ี (Carrier) มักจะเปนแหลงแพรเช้ือท่ี
สําคัญในชมุ ชน

ระยะตดิ ตอ
ผูท่ีมีอาการของโรคคอตีบจะมีเช้ืออยูในจมูกและลําคอไดนาน 2-3 สัปดาห แตบางครั้งอาจนานถึง

หลายเดอื น สว นผูปวยทไ่ี ดร ับการรักษาอยางเต็มทีแ่ ลวเชอ้ื จะหมดไปภายใน 1 สปั ดาห
วิธีการตดิ ตอ (วิถที างการแพรกระจายเช้ือ)

• เชื้อจะพบอยูในคนเทานั้นโดยจะพบอยูในจมูกหรือลําคอของผูปวยหรือผูติดเชื้อ โดยไมมีอาการ
ติดตอกนั ไดงายโดยการไดร บั เช้ือโดยตรงจากการไอ จามรดกัน หรือพดู คยุ กันในระยะใกลช ิด

• เช้ือจะเขาสูผูสัมผัสทางปากหรือทางการหายใจ บางครั้งอาจติดตอกันไดโดยการใชภาชนะ
รวมกัน เชน แกวนํ้า ชอน หรือ การดูดอมของเลนรวมกันในเด็กเล็ก ผูติดเช้ือท่ีไมมีอาการเปน
แหลง แพรเ ชอื้ ที่สําคัญในชมุ ชน

อาการและอาการแสดง

• หลังระยะฟกตัวจะเร่ิมมีอาการไขตํา่ ๆ มีอาการคลา ยหวัดในระยะแรก มอี าการไอเสียงกอ งเจ็บ
คอ เบื่ออาหาร ในเด็กโตอาจจะบนเจ็บคอคลายกับคออักเสบ บางรายอาจจะพบตอมน้ําเหลือง
ทค่ี อโตดวย เม่ือตรวจดูในคอพบแผนเยื่อสีขาวปนเทาติดแนนอยูบริเวณทอนซิล และบริเวณลิ้น
ไก แผนเยือ่ น้เี กิดจากพิษท่อี อกมาทาํ ใหม ีการทาํ ลายเนอื้ เยอ่ื และทาํ ใหมีการตายของเน้ือเยื่อทับ
ซอนกันเกิดเปนแผนเยอื่ (membrane) ติดแนน กับเยอ่ื บุในลําคอ

• ตําแหนง ท่ีจะพบมกี ารอักเสบและมีแผน เย่ือได คือ
- ในจมูก ทาํ ใหมนี า้ํ มูกปนเลือดเรื้อรัง มกี ลน่ิ เหม็น
- ในลาํ คอและทท่ี อนซลิ ซ่งึ แผนเยอ่ื อาจจะเลยลงไปในหลอดคอ จะทาํ ใหทางเดินหายใจตบี
ตันหายใจลาํ บาก ถงึ ตายได
- ตาํ แหนงอน่ื ๆ ไดแก ที่ผิวหนัง เยอื่ บุตา ในชองหู

การปองกัน

• ในเด็กท่ัวไป การปองกันนับวาเปนวิธีที่ดีท่ีสุด โดยการใหวคั ซีนปองกนั คอตีบ 5 ครง้ั เมื่ออายุ 2,
4, 6 และ 18 เดือน และกระตุน อีกคร้ังหน่งึ เม่ืออายุ 4 ป

9

• แยกผูปวยอยางนอย 3 สัปดาห เพราะจะมีเช้ืออยูในจมูกและลําคอเปนระยะ 2-3 สัปดาหหลัง
เรม่ิ มีอาการ

คางทมู (Mumps)
ลกั ษณะโรค

เปนโรคติดตอ ทางระบบทางเดนิ หายใจ ท่ีตดิ เชื้อไวรัสจากคนสูค น โดยสัมผัสละอองนาํ้ ลายของผทู ่ี
ตดิ เชอื้ ไดจากการไอหรือจาม ไวรัสจะเคลอ่ื นจากระบบทางเดนิ หายใจไปยังตอ มนํ้าลายบริเวณขา งหู เม่ือตอมนี้เกดิ การ
อักเสบจะทําใหเกิดอาการเจ็บปวดและบวมแดง นอกจากนี้ ถา ไวรัสแพรกระจายเขา สูน้ําหลอเล้ียงสมองและไขสันหลัง
แลว ก็อาจจะแพรไปท่อี น่ื ในรา งกายสง ผลใหเกดิ ภาวะแทรกซอนได เชน ภาวะแทรกซอ นในระบบสืบพนั ธุ

สาเหตุ
เกิดจากเช้อื ไวรัสคางทูม (Mumps virus) อยูในกลุม Paramyxovirus โดยเชื้อจะอยูในน้ําลายและ

เสมหะของผูปวย เช้ือจะเขาสูทางรางกายทางจมูกและปาก แลวแบงตัวในเซลลเยื่อบุของทางเดินหายใจสวนตน
หลังจากนนั้ เช้ือจะเขาสูกระแสเลือดและแพรกระจายไปยังอวยั วะตา ง ๆ โดยเฉพาะทีต่ อมนาํ้ ลายขา งหู

วธิ ีการตดิ ตอ (วิถที างการแพรก ระจายเช้อื )
สามารถติดตอไดจ ากการหายใจสดู เอาฝอยละอองเสมหะที่ผปู ว ยไอหรือจามรด การสมั ผัสน้ําลาย

ของผปู วย หรอื โดยการสมั ผสั ถกู มือ ส่ิงของเครื่องใช เชน ผา เช็ดหนา ผา เช็ดตัว แกวนา้ํ จาน ชาม เปนตน
ระยะฟกตัว
นบั ตัง้ แตติดเชอ้ื จนมอี าการแสดงออกมา คือ ประมาณ 2-3 สัปดาห โดยเฉลย่ี อยูทีป่ ระมาณ 14-18

วัน แตอาจเรว็ สดุ 7 วัน หรอื นานไดถึง 25 วัน
ระยะตดิ ตอ
ในชว งตง้ั แต 4 วนั กอ นมอี าการจนกระทง่ั 9 วนั หลงั มอี าการคางทมู
อาการของโรคคางทูม
โรคคางทมู จะมีอาการผดิ ปกติทส่ี ังเกตไดคือ ตอมนํา้ ลายบรเิ วณขางหเู จ็บและบวมอยางเห็นไดช ดั

และปรากฏอาการเบ้ืองตนของโรคดังตอ ไปน้ี

• มีไขสูง (38 องศาเซลเซียส หรอื อาจสูงกวา )

• ปากแหง

• เบื่ออาหาร

• ปวดศรี ษะ

• ปวดตามขอ

• ปวดเมื่อยกลามเนอ้ื

• เหน่อื ยลา ออนเพลยี

10

การปอ งกันโรคคางทูม
การปองกันโรคคางทูมสามารถทาํ ไดโ ดยการฉีดวคั ซีน MMR (Measles-Mumps-Rubella Vaccine

) ซึง่ จะสามารถปองกันไดถ งึ 95% การรับวัคซนี จะเกดิ ขน้ึ ทง้ั หมด 2 คร้งั คอื

• ครั้งแรกในเด็กอายุ 9-12 เดอื น

• คร้งั ที่ 2 ในเดก็ อายุ 2 ½ ป หรอื 4-6 ป
ในป พ.ศ. 2556 กระทรวงสาธารณะสุข ประเทศไทย มีการแนะนําใหเปล่ยี นการฉดี วคั ซีน MMR
คร้งั ที่ 2 จากเดก็ อายุ 4-6 ป เล่ือนเขามาเปนอายุ 2 ½ ป เพ่ือเรง การสรา งภูมิคุมกันในเด็กท่ไี ดรบั วัคซนี ครั้งแรกใน
อายุ 9 เดือนแลวไมไดผ ล สวนในภาคเอกชน สําหรบั เด็กท่ีรับวคั ซีน MMR ครั้งแรกท่ีอายุ 12 เดือน อาจรับวัคซีนครั้ง
ท่ี 2 ที่อายุ 2 ½ ป หรอื 4-6 ปต ามปกติก็ได ทกุ คนสามารถชวยกนั ลดการแพรกระจายของโรคคางทูมได ดวยวิธกี าร
ดังตอ ไปนี้

• ลา งมอื ใหสะอาดดว ยการฟอกสบู

• ใชทิชชปู ดปากเวลาไอหรือจามและทิ้งลงในถังขยะใหเรยี บรอย

• เมอื่ เริ่มสงั เกตไดวา มีอาการของโรคคางทูม ควรหยดุ พักอยูทบ่ี านอยา งนอย 5 วนั และ
หลีกเล่ยี งการไปโรงเรยี น ท่ีทํางานหรอื สถานท่สี าธารณะ

หดั (Measles)
ลกั ษณะของโรค

คือโรคตดิ เช้ือระบบทางเดนิ หายใจ ผปู ว ยจะเกิดผืน่ ขน้ึ ตามผิวหนงั พรอ มเปนไขร วมดวย โดยโรคหดั
เกิดจากไวรสั กลมุ พารามิคโซไวรัส (Paramyxovirus) สามารถแพรเ ชื้อและติดตอกนั ไดผา นทางอากาศหรือ
การสัมผสั น้าํ มูกและนา้ํ ลายของผูป วยโดยตรง เช้ือไวรัสจะเขา มาทางระบบทางเดินหายใจกอนแพรก ระจาย
ไปทวั่ รา งกาย โรคหัดถอื เปนโรคติดตอจากคนสูคน โดยไมพบการแพรเ ชื้อดังกลาวในสัตว สวนใหญม ักเกิดใน
เดก็ เล็ก รวมทง้ั เปน หนึ่งในสาเหตกุ ารเสียชวี ิตของเด็กแมจะมีวัคซีนฉีดปองกันโรคแลวกต็ าม
สาเหตุ

เกดิ จากไวรสั กลุมพารามิคโซไวรสั (Paramyxovirus)
ระยะฟก ตัว

ระยะกอ นออกผน่ื 8-12 วัน เฉลีย่ จากวนั ท่สี มั ผสั จนถึงมผี ่ืนเกิดขน้ึ ประมาณ 2 สัปดาห
ระยะตดิ ตอ

ชว ง 4 วนั ท้ังกอนและหลังเกิดผื่นน้ันถือเปน ระยะเวลาของการแพรเช้อื โดยรอ ยละ 90 ของผูท ไ่ี มไ ด
รบั วัคซีนปองกันโรคหดั มโี อกาสปว ยเปน โรคหดั หากอยใู กลผปู วยท่เี ปนโรค
วธิ ีการติดตอ (วิถีทางการแพรกระจายเช้ือ)

โรคหดั จดั เปน โรคติดตอท่ีมโี อกาสติดเชือ้ ไดส งู การติดโรคน้ันเกิดจากการรบั เชอ้ื ไวรัสผา นทางอากาศ
จากการสมั ผสั ละอองน้ําลาย น้ําลาย และนํ้ามูกของผูปวย

11

อาการและอาการแสดง
โดยทวั่ ไปแลว จะเกิดอาการของโรคภายใน 14 วันหลังจากไดร บั เชื้อไวรัส ดงั นี้

• อาการเปน ไขต ัวรอน ผูท ปี่ วยเปนโรคหดั ในระยะเรม่ิ แรกจะมีอาการคลา ยเปน ไขหวัด มกั ตวั รอ นและ
อาจมีไขข ึน้ สูงถงึ 40 องศาเซลเซียส ซึ่งจะเริ่มเปน ไขประมาณ 10 -12 วนั หลงั ไดร บั เช้อื นอกจากน้ี
ผูปวยยังมอี าการน้ํามูกไหล ไอบอย เจบ็ คอ ตาเย้ิมแดง และมีตุม คอพลคิ (Koplik’s spots) หรอื ตมุ
แดงท่มี ีสีขาวเลก็ ๆ ตรงกลางขน้ึ ในกระพงุ แกม

• อาการผ่นื ข้ึนตามรางกาย เมื่อผปู ว ยออกอาการได 3-5 วัน จะเกดิ ผน่ื ขน้ึ ตามรางกาย ซ่งึ คลายผน่ื คัน
ตามผวิ หนงั โดยเกิดผื่นแดงหรือสแี ดงออกน้ําตาลขน้ึ เปน จุดบนหนา ผากกอน แลวคอยแพรก ระจาย
มาท่ใี บหนาและลาํ คอ ภายใน 3 วันจะเกดิ ผืน่ กระจายมาถึงมือและเทา อาการผน่ื คนั นี้จะปรากฏอยู
3-5 วนั และหายไปเอง

การปองกนั
• โรคหดั ปองกันไดห ากเดก็ ไดร ับวคั ซนี ปองกันโรคหัด (Measles Vaccine) ครบตามกําหนด โดย
วัคซีนท่ใี ชฉ ดี เพอื่ ปองกันคือวคั ซนี Measles-Mumps-Rubella Vaccine (MMR) ซึง่ เปนวัคซีนที่
ปองกนั ไดท ้ังโรคหัด (Measles) คางทูม (Mumps) และหดั เยอรมนั (Rubella) โดยทารกสามารถรับ
วัคซีนไดค ร้ังแรกเม่ืออายุครบ 9-12 เดอื น และรับวคั ซีนครั้งตอไปเม่ืออายุ 4-6 ป

• ท้ังนี้ยังมีวคั ซีน Measles-Mumps-Rubella-Varicella Vaccine (MMRV) ซงึ่ นอกจากจะปอ งกนั
โรคทงั้ 3 โรคเชนเดียวกับวคั ซีน MMR แลว ยังปอ งกันโรคอีสุกอีใสดว ย โดยเดก็ อายตุ งั้ แต 12 เดือน
ถึง 12 ป สามารถรับวัคซีนตวั นี้ได

• การรับวคั ซีนนกี้ ็มีขอจํากัดสาํ หรับบคุ คลบางกลุม โดยกลุมเสย่ี งท่ีไมควรรบั วัคซนี ปองกันโรคหดั
ไดแ ก สตรมี ีครรภ เด็กท่ปี ว ยเปนวัณโรคลูคีเมยี และมะเร็งชนดิ อ่ืน ๆ แลวยงั ไมไดรับการรักษา ผทู ่ีมี
ระบบภมู ิคมุ กนั รางกายออนแอ และเด็กทมี่ ปี ระวัตแิ พเจลาตินหรือกลุมยาปฏิชีวนะนีโอมัยซินซิ
(Neomycin) อยางรนุ แรง หากกลมุ เส่ียงดังกลาวไดรบั เช้ือไวรัสโรคหดั เขา ไปก็สามารถฉีดแอนตบิ อดี้
หรอื สารโปรตนี ทีม่ ชี ่ือวา อิมมูนโกลบลู ิน (Immunoglobulin) เพือ่ ปองกนั การปวยได ซ่งึ ตองฉดี สาร
ดังกลาวภายใน 6 วนั หลังจากท่รี บั เชือ้

หดั เยอรมนั (Rubella)
ลกั ษณะของโรค

หัดเยอรมันเปน โรคไขอ อกผื่นทีเ่ กิดจากการตดิ เช้ือไวรสั หัดเยอรมัน ผปู วยจะมีอาการไขแ ละออก
ผ่นื คลายโรคหัด แตจ ะมีความรุนแรงและโรคแทรกซอนนอ ยกวา หดั ถา เปนกบั เดก็ หรือผใู หญท ว่ั ไป มักจะ
หายไดเองโดยไมมีโรคแทรกซอนท่รี ุนแรง

12

สาเหตุ
เกดิ จากเชื้อไวรัส Rubella

ระยะฟกตัว
ประมาณ 14-21 วนั เฉลี่ย 16-18 วัน

ระยะติดตอ
ประมาณรอยละ 20-50 ของผูตดิ เชอ้ื จะไมม ีอาการระยะติดตอกันไดม ากคือ 2-3 วัน กอ นมผี ื่นข้ึนไป

จนถึง 7 วนั หลังผน่ื ข้ึน
วธิ ีการตดิ ตอ (วถิ ที างการแพรก ระจายเชอ้ื )

โรคหัดเยอรมันติดตอกันไดโดยการสัมผัสโดยตรง เช้ือที่อยูในลําคอของผูปวยผานออกมาทางการไอ
จาม เขาสูทางระบบการหายใจ ประมาณรอยละ 20-50 ของผูติดเชื้อจะไมมีอาการระยะติดตอกันไดมากคือ
2-3 วนั กอ นมผี ่นื ข้ึนไปจนถึง 7 วนั หลังผน่ื ขึน้
อาการและอาการแสดง

ในเด็กโต จะเริ่มดวยตอมนํ้าเหลืองท่ีหลังหู ทายทอย และดานหลังของลําคอโต และเจ็บเล็กนอย
เด็กโตจะรสู กึ ไมสบาย ปวดหัว ไขตา่ํ ๆ มีอาการคลา ยเปน หวดั มีเจ็บคอรวมดว ย 1-5 วัน ประมาณวันที่ 3 ผน่ื
จะขึน้ เปนสีชมพูจางๆ กระจายอยูหา งๆ เปน แบบ Macular rash เร่ิมขึน้ ท่หี นาแลวลามไปท่วั ตวั อยางรวดเร็ว
ภายใน 24 ช่ัวโมง ผื่นเห็นชัดเจนบรเิ วณแขนขา และจะหายไปในเวลา 1-2 วัน และสีผวิ หนังจะกลบั เปนปกติ
ถา เปน ในผใู หญจ ะมไี ขสงู กวา ในเดก็ บางรายอาจมอี าการปวดขอหรือขอ อกั เสบรวมดว ย โดยเฉพาะในผหู ญิง
การปองกนั

• การฉีดวคั ซนี วคั ซนี ทใ่ี ชเ ปนชนดิ ไวรัสเชอื้ เปน ฉดี ไดตง้ั แตอายุ 1 ปข้นึ ไป และฉีดเข็มทสี่ อง
เมอื่ อายุ 4-6 ป โดยนิยมใหใ นรปู ของวัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมนั (MMR) นอกจาก
การใหวคั ซนี ปองกันในเด็กแลว สามารถใหว คั ซีนในเด็กโตหรือผใู หญท่ีไมมภี มู ิคมุ กันตอไวรัส
หัดเยอรมนั ท้ังหญงิ และชาย

• หลีกเลย่ี งการสมั ผัสกับผปู วย ถา มอี าการไอใหใชห นา กากอนามัย หรือใชมือปด ปากและ
จมูกพรอมกบั ลางมือบอย ๆ

ไอกรน (Percussive)
ลกั ษณะของโรค

โรค ไอกรนเปนโรคติดเช้อื ของระบบทางเดนิ หายใจ ทาํ ใหมีการอักเสบของเย่ือบทุ างเดนิ หายใจ และ
เกิดอาการไอ ท่ีมีลักษณะพิเศษคอื ไอซอนๆ ตดิ ๆ กนั 5-10 คร้ัง หรอื มากกวานน้ั จนเด็กหายใจไมทัน จึงหยุด
ไอ และมีอาการหายใจเขาลกึ ๆ เปนเสยี งวูป (Whooping cough) สลับกันไปกับการไอเปนชดุ ๆ บางคร้งั
อาการอาจจะเร้อื รงั นานเปนเวลา 2-3 เดือน

13

สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรยี Bordetella pertussis จะพบเชือ้ ไดในลาํ คอ ในสว น nasopharynx ของ

ผปู วยในระยะ 1-2 อาทติ ยแรก กอนมอี าการ ไอเปน แบบ paroxysmal
ระยะฟก ตัว

ระยะฟกตวั ของโรคประมาณ 6-20 วนั ทพ่ี บบอย 7-10 วัน ถาสมั ผัสโรคมาเกิน 3 สัปดาหแลวไมมี
อาการ แสดงวาไมต ิดโรค
ระยะติดตอ

ตง้ั แตเริ่มมีอาการ (ระยะเปน หวดั ) จนถงึ 3 สปั ดาหหลังจากเรม่ิ มีการไอรุนแรง (Paroxysmal
phase)
วิธกี ารติดตอ (วถิ ที างการแพรกระจายเช้อื )

ตดิ ตอเขาทางเดินหายใจโดยการหายใจสดู เอาฝอยละอองของนํ้าลายหรือเสมหะที่ผปู วยไอหรอื จาม
รด หรือออกมาแขวนลอยอยใู นอากาศ หรือโดยผานมือทส่ี ัมผสั ถกู ส่ิงทีป่ นเปอนนาํ้ มูก นํ้าลาย หรอื เสมหะ
ของผูปวย
อาการและอาการแสดง

อาการของโรคแบงไดเ ปน 3 ระยะ ดังนี้
1) ระยะแรก เด็กจะเรมิ่ มีอาการ มีนาํ้ มูก และไอ เหมือนอาการเริ่มแรกของโรคหวดั ธรรมดา อาจ

มีไขต ่ํา ๆ ตาแดง นาํ้ ตาไหล ระยะน้ีเรยี กวา Catarrhal stage จะเปนอยปู ระมาณ 1-2 สัปดาห
ระยะนี้สว นใหญยงั วนิ จิ ฉัยโรคไอกรนไมได แตมขี อสังเกตวา ไอนานเกนิ 10 วัน เปนแบบไอแหง ๆ
2) Paroxysmal stage ระยะนี้มีอาการไอเปนชุด ๆ เมอ่ื เขา สูสปั ดาหท ่ี 3 ไมมเี สมหะ จะเรม่ิ มี
ลักษณะของไอกรน คือ มี อาการไอถี่ ๆ ติดกนั เปนชดุ 5-10 ครัง้ ตามดวยการหายใจเขาอยาง
แรงจนเกิดเสียงวปู (whoop) ซึง่ เปนเสียงการดูดลมเขา อยางแรง ในชวงที่ไอผปู วยจะมีหนา ตา
แดง น้าํ มกู น้าํ ตาไหล ตาถลน ลิ้นจุกปาก เสน เลือดทคี่ อโปง พอง การไอเปนกลไกทจ่ี ะขบั เสมหะ
ทเ่ี หนยี วขนในทางเดนิ หายใจออกมา ผูป ว ยจึงจะไอตดิ ตอ กนั ไปเรอ่ื ย ๆ จนกวาจะสามารถขับ
เสมหะทีเ่ หนยี วออกมาได บางครัง้ เด็กอาจจะมีหนา เขียว เพราะหายใจไมทันโดยเฉพาะเด็กเล็ก ๆ
อายนุ อ ยกวา 6 เดือน จะพบอาการหนา เขียวไดบอย และบางครง้ั มีการหยดุ หายใจรวมดว ย
อาการหนาเขียวอาจจะเกิดจากเสมหะอุดทางเดินหายใจได สว นใหญเ ด็กเลก็ มักจะมีอาการ
อาเจียนตามหลังการไอเปนชดุ ๆ ระยะไอเปนชุด ๆ นจ้ี ะเปน อยูน าน 2-4 สัปดาห หรอื อาจนาน
กวานีไ้ ด
3) ระยะฟนตัว (Convalescent stage) กินเวลา 2-3 สปั ดาห อาการไอเปนชดุ ๆ จะคอย ๆ
ลดลงทงั้ ความรนุ แรงของการไอและจาํ นวนครั้ง แตจ ะยังมีอาการไอหลายสปั ดาห ระยะของโรค
ทงั้ หมดถา ไมม ีโรคแทรกซอนจะใชเวลาประมาณ 6-10 สปั ดาห

14

การปองกัน
ในเด็กอายุนอยกวา 6 ป การไดรับวัคซีนปองกันไอกรน 4-5 ครั้ง นับเปนมาตรการสําคัญในการ

ปองกันและควบคุมโรคไอกรน วัคซีนไอกรนที่มีใชขณะน้ีเปนวัคซีนที่เตรียมจากแบคทีเรีย B. pertussis ท่ี
ตายแลว (Whole cell vaccine) รวมกับ diphtheria และ tetanus toxoids (Triple vaccine, DTP) ให
ฉดี เขา กลาม กาํ หนดการใหวคั ซีนเริ่มเม่ืออายุ 2 เดือน และใหอ ีก 2 คร้ัง ระยะหางกัน 2 เดือนคอื ใหเมื่ออายุ
4 และ 6 เดือน โดสท่ี 4 ใหเมื่ออายุ 18 เดือน นับเปนครบชุดแรก (Primary immunization) โดสท่ี 5 ถือ
เปนการกระตุน (booster dose) ใหเ ม่อื อายุ 4 ป เด็กท่ีมีอายุเกนิ 7 ป แลวจะไมใหวัคซีนไอกรน ทงั้ นเ้ี พราะ
จะพบปฏิกิริยาขางเคียงไดสูง

ไซนัสอักเสบ (Sinusitis)
ลกั ษณะของโรค

ไซนสั อักเสบ (Sinusitis) เปน การอักเสบของโพรงไซนัสที่อาจเกดิ ไดจากเชือ้ ไวรสั เชอ้ื แบคทเี รียและ
เชอื้ รา โดยมีปจจยั สงเสรมิ ท่ีทําใหเกิดไซนัสอักเสบไดจากหลายสาเหตุ เชน มภี าวะจมูกอักเสบภมู ิแพ จมูก
อักเสบเรื้อรงั เกิดภายหลังการเปน หวัด หรือมลี กั ษณะทางกายวิภาคทที่ ําใหก ารระบายของโพรงไซนัสอุดตัน
ไดงาย เชน โพรงจมกู คด เปนตน
สาเหตุ

1. การติดเชอื้ ของทางเดินหายใจสว นบน โดยเชอ้ื แบคทีเรียท่ีพบ สว นใหญเ ปน ชนิด
Streptococcus pneumoniae, Heamophilus influenzae,และ Staphylococcus aureus
เชื้อไวรสั สว นใหญเกิดจากเชอ้ื Rhinovirus และเชอ้ื รา มกั พบกลุมเชื้อ Aspergillus, Rhizopus,
และ Candida

2. การตดิ เชอื้ ของฟนกรามแถวบน มกั ทาํ ใหเปนไซนสั อักเสบขา งเดยี ว
3. การวายน้าํ - ดาํ นาํ้ โดยเฉพาะขณะมีการตดิ เช้ือของทางเดินหายใจสวนบน
4. สง่ิ แปลกปลอมในโพรงจมูก มกั ทําใหเ ปนไซนสั อักเสบขางเดียว
5. อุบตั เิ หตุของกระดกู บรเิ วณใบหนา
6. ปจ จยั ท่ีเกีย่ วกับสง่ิ แวดลอ ม เชนบรเิ วณที่ ฝนุ ควัน หรอื ส่ิงระคายเคืองมาก
7. ปจ จัยท่ีเกี่ยวขอ งกบั ภูมคิ ุมกนั และภูมิตา นทานของรางกาย เชนภูมิคมุ กันบกพรอง หรือมภี มู ิ

ตา นทานตํ่า
8. ปจ จัยท่เี ก่ียวกับการถายเทและการระบายสารคัดหล่ังและอากาศของไซนัส ไดแ ก โรคหรือภาวะ

ใดกต็ ามทีท่ ําใหมีการอุดตนั หรือรบกวนการทาํ งานของรเู ปดของไซนสั เชน
- มกี ารบวมของเยื่อบจุ มูกบอ ย ๆ หรอื เปนเรื้อรงั เนื่องจากโรคจมูกอกั เสบจากภมู แิ พและชนดิ ไม

15

แพ, การสูบบุหรี่ หรือสดู ควันบหุ ร,ี่ การสมั ผัสกับมลพษิ เปนประจํา
- มีผนังกน้ั ชองจมกู คดงอ
- กระดกู ที่ผนังดา นขางโพรงจมกู มีขนาดใหญมาก จนไปอุดตนั รูเปด ของไซนสั
- มกี อนเน้ือในโพรงจมกู หรือไซนัส เชน ริดสดี วงจมกู เนื้องอกในโพรงจมูกหรือไซนัส
- ในเด็กเลก็ อาจมีตอมแอดนี อยดโ ต หรอื มีสง่ิ แปลกปลอมอยูในจมูกเปน เวลานาน
ระยะฟก ตวั
มกั พบจากการเกดิ ภาวะแทรกซอนของโรคหวัด พบไดประมาณรอยละ 5-10 ของเดก็ ท่ีเปน โรคหวัด
วิธีการติดตอ (วิถที างการแพรกระจายเชือ้ )
มักเกดิ ข้ึนเมื่อจมูกมกี ารตดิ เชอื้ อักเสบ เปน หวัด ภูมแิ พ การค่งั คา งอดุ ตนั ของส่งิ คัดหลัง่ ในผทู ม่ี ีภาวะสนั จมกู
คด ทาํ ใหการระบายอากาศในโพรงอากาศลําบากมากข้นึ
อาการและอาการแสดง

• คัดจมกู นํ้ามูกขนสเี ขยี วหรือเหลอื ง

• หายใจมกี ล่ินเหมน็

• ปวดศรี ษะ ปวดขมบั ปวดแกม ปวดทา ยทอย หนักหวั

• เสมหะขน ไหลลงคอ ไอบอย เลอื ดออกทางจมูก (พบในบางราย)

• รายท่เี ปน รุนแรงอาจมไี ขส ูง ตาบวมอักเสบได เปนตน
การปอ งกัน

1. การรักษาสุขภาพใหแข็งแรง พักผอนใหเ พียงพอ กินอาหารทีม่ ปี ระโยชน
2. เมือ่ เปน หวัดนานเกิน 1 สปั ดาห ควรรบี ปรึกษาแพทย
3. หลกี เลี่ยงสถานที่ ๆ มีคนแออัด หรือบรเิ วณทม่ี ี ฝนุ ควันมาก ๆ ส่งิ มีพิษในอากาศ สารเคมีตา ง ๆ
4. เนน ใหล า งมอื บอย ๆ
5. เลี่ยงควันบหุ รี่ มลพิษ และสารทีก่ อใหเ กดิ โรคภมู แิ พเน่ืองจากมีผล ตอเยื่อบจุ มูก และโพรงไซนสั
6. ถาเปน หวัดเรอื้ รังจากโรคภมู แิ พ ใหร บี รกั ษาอยา ใหม อี าการเรือ้ รงั จะเกดิ ไซนสั แทรกซอ นได
7. ใหมกี ารพกั ผอนใหพอเพียงและออกกาํ ลังกายสมํ่าเสมอ
8. รักษาสุขภาพชอ งปากและฟนใหดี ไมใ หฟน ผุ

16

โรคหูช้นั กลางอักเสบเฉียบพลัน (Acute otitis media)
ลักษณะของโรค

โรคหชู นั้ กลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media, AOM) เปนการติดเชอื้ ทางเดินหายใจสว นบน
ท่ีพบบอยในเด็ก โดยพบวาเปนสาเหตุสําคัญของการสูญเสียการไดยินในเด็ก และการใชยาตานจุลชีพที่ไม
เหมาะสมมากเกนิ ความจําเปน
สาเหตุ

• เชื้อไวรัส เปนสาเหตุสวนใหญประมาณรอยละ 30-50 ไดแก respiratory syncytial virus (RSV),
influenza virus, adenovirus, rhinovirus, coronavirus, enterovirus, parainfluenza virus
type 1-3, human metapneumovirus

• เชื้อแบคทีเรีย ที่พบเปนสาเหตุที่พบบอย ไดแก S. pneumoniae, H. influenzae, S. pyogenes,
M. catarrhalis เชื้ออ่นื ๆ ทีส่ ามารถพบได เชน กลุมเชอื้ แกรมลบ (P. aeruginosa, Proteus spp.)
มกั พบในเด็กอายตุ ํา่ กวา 1 ป เช้อื ราหรือวณั โรคมกั พบในผปู ว ยทม่ี ีภาวะภูมคิ ุมกนั ผิดปกติ

ระยะฟกตวั
ข้นึ กบั ชนดิ ของเช้อื ทเี่ ปน สาเหตุ

วิธีการติดตอ (วิถที างการแพรก ระจายเชื้อ)
หูชั้นกลางอักเสบสวนใหญเกิดการติดเช้ือแบคทีเรียตามหลังการติดเช้ือไวรัสของระบบทางเดิน

หายใจสว นบน
อาการและอาการแสดง

อาการคลา ยกบั โรคหวัด ไดแก ไข ไอ น้ํามูกไหล อาเจียนแตอาการท่ีสําคัญ คือ การปวดหู ในเดก็ เล็ก
ที่ยงั ไมสามารถพูดไดอ าจมี ดึงหู ทุบหู รวมกับ รองกวน งอแงผิดปกติ หรือไมย อมนอน สวนเด็กโตอาจมาดวย
อาการปวดหเู ฉียบพลัน กนิ ไดน อย หรอื ปวดศรี ษะ
การปอ งกนั

1. ระวงั อยา ใหตดิ เชอ้ื ในระบบทางเดนิ หายใจชนิดเฉียบพลัน เชน โรคหวดั , โรคไซนสั อกั เสบ
2. หลีกเล่ียงสาเหตุที่ทําใหผูปวยมีภูมิตานทานตํ่าลง เชน เครียด นอนหลับพักผอนไมเพียงพอ

โดนหรือสมั ผสั อากาศที่เยน็ มาก ๆ เชน ขณะนอนเปด แอรหรือพัดลมเปา จอ ไมไดใสเสอื้ ผา หรือ
ไมไ ดใ หความอบอนุ แกรางกายเพยี งพอ
3. หลีกเลี่ยงการด่ืมหรอื อาบน้ําเยน็ ตากฝน หรอื สมั ผัสกับอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงอยา งรวดเร็ว
เชน จากรอนเปน เยน็ เย็นเปนรอ น

17

โรคไวรสั โควดิ -19
ลักษณะของโรค

เปน โรคระบบทางเดินหายใจท่เี กดิ จากไวรสั ทีส่ ามารถกอโรคทางเดนิ หายใจรนุ แรง หรอื โรคซารส
(Severe Acute Respiratory Syndrome - SARS)
สาเหตุ

ซึง่ มีสาเหตุจากเชื้อไวรสั โคโรนา ซารส-โควี-2(SARS-CoV-2)
ระยะฟก ตัว

ระยะฟกตวั ของโรคอยรู ะหวา ง 2 ถงึ 14 วัน (Centers for Disease Control[CDC], 2020)
ระยะติดตอ

ระยะติดตอ ของโรคอยูชวงแรกที่แสดงอาการ
วธิ กี ารติดตอ

วิถีทางการแพรกระจายเช้ือจากคนสูค นผานฝอยละอองจากการไอ จาม นํา้ มูก นา้ํ ลาย เสมหะของ
ผปู ว ยรวมท้งั การสมั ผสั พน้ื ผวิ หรอื อปุ กรณท ี่ปนเปอ น (กรมควบคมุ โรค, 2564)
อาการและอาการแสดง

ผูติดเชื้อไวรสั โคโรนาสายพันธใุ หม จะมีอาการคือ มไี ข ตามมาดวยอาการไอแหง ๆ หลงั จากนั้นราว
1 สปั ดาหจ ะมปี ญ หาหายใจติดขดั ผูปวยอาการหนักจะมอี าการปอดบวมอักเสบรวมดว ย หากอาการรนุ แรง
มากอาจทําใหอวัยวะภายในลมเหลว
การปองกัน

แนวคดิ สําหรับการดแู ลเด็กกอนวัยเรียนในสถานพฒั นาเด็กกอนวยั เรยี นของประเทศไทย
(Thailand Early Childhood Developmental Bubble Model (Thai-ECD Bubble Model))เพ่ือความ
ปลอดภยั จากการติดเชอ้ื โควิด-19 ดังนี้

1. กําหนดครแู ละเด็ก ในอตั ราสวน 1 : 5 (ควรเปนสมาชิกเดิมทกุ วนั )
2. การทําความสะอาดรา งกายเดก็ เชน อาบน า ลางมอื ลางเทา และ เปล่ยี นชุดเด็ก กอนเขา มาใน

สถานพฒั นาเดก็ ทกุ วนั
3. การทํากิจกรรมสําหรบั เดก็ กอ นวยั เรียน โดยเนนการเวนระยะหางจากกลุม ยอย 1-2 เมตร เชน

กิจกรรมการสรา งประสบการณ (การเรยี นร)ู การรับประทานอาหาร การทําความสะอาดรา งกาย
การนอน เปนตน
4. ครอบครวั ของเดก็ กอ นวัยเรยี น ตองปฏิบัตยิ ดึ หลกั การเวน ระยะหาง การสวมหนากาก การลาง
มอื รกั ษาความสะอาด การเวนระยะหา งเพ่อื ปอ งกนั เชือ้ โรคอยางเครง ครดั
5. เมอ่ื มีอาการไข ไอ จาม หอบเหน่อื ย หรือมปี ระวตั เิ สี่ยง ใหเด็กหยุดทนั ที และปฏิบัติตามคาํ
แนะนําของเจาหนาที่สาธารณสขุ อยางและไปพบแพทย

18

การทาํ ความสะอาดมอื

มือเปนพาหะนําเชื้อโรคเขาสูรางกายไดงายและมากที่สุด เพราะมือใชจับสัมผัสสิ่งของแลวนําเชื้อโรคเขาสู

รางกายไดทุกชนิด ซ่ึงเช้ือเหลานี้อาจเปนสาเหตุท่ีทําใหเกิดการติดเช้ือรุนแรง และเสียชีวิตได ท่ัวโลกพบวาในชวงท่ีมี

การระบาดมีเด็กสียชีวิตจากโรคปอดบวมประมาณ 2 ลานคน (United Nations International Children's

Emergency Fund: UNICEF, 2016)

การทําความสะอาดมอื เปนหน่ึงในกจิ กรรมเพ่อื สุขอนามัย ท่ีดที ี่ชว ยในการดํารงสุขภาวะ และปองกนั การแพร
ระบาดของโรคติดตอตาง ๆ ซึง่ การทําความสะอาดมือเปนการขจัดจุลชีพบนมือไดเปนอยางดี เปนกิจกรรมท่ีสาํ คัญใน
การปองกนั โรคตดิ ตอ ไดเปนอยางดี (World Health Organization [WHO], 2009)

CDC แนะนําวาควรลางมือกอน ระหวางและหลังการเตรียมอาหาร กอนและหลังการดูแลผูปวย กอนและ
หลังการทําแผล หลังออกจากหองน้ํา หลังการเปล่ียนผาออม หรือดูแลทําความสะอาดใหเด็กที่ขับถายอุจจาระ หลัง
การสั่งน้ํามูก ไอจาม หลังการสัมผัสสัตว หลังการเก็บขยะมูลฝอย หลังการสัมผัสถุงขยะการลางมือ อยางมี
ประสิทธิภาพจะสามารถลดเช้ือโรคไดถึงรอยละ 90 โดยการลางมือที่ถูกตองนั้นตองลางดวยนํ้าสะอาดและสบู (CDC,
2015)

วิธีการทาํ ความสะอาดมือ ทําได 2 วิธี คือ
1. การทําความสะอาดมือดวยนํ้าและสบูหรือน้ํายาฆาเช้ือ (hand washing or hand antisepsis) เม่ือมือ

เปอนสิง่ สกปรกอยางเหน็ ไดชดั เจน

2. การทําความสะอาดมอื ดวยนํ้ายาทําความสะอาดมอื ท่ีมีสว นผสมของแอลกอฮอล (Alcohol-based hand
rub) ใชทําความสะอาดมือในกรณีท่ีมือไมไดเปอนส่ิงสกปรก เลือดหรือสารคัด หล่ังอยางเห็นไดชัด ทําโดยใช

แอลกอฮอลประมาณ 3 - 5 มล. ถใู หท่วั บรเิ วณมือโดยใชเวลาประมาณ 20 - 30 วนิ าที

การทาํ ความสะอาดมอื 7 ขัน้ ตอน (WHO, 2009)
1. ฟอกบรเิ วณฝามือโดยนาํ ฝามอื ท้ังสองขางมาถกู ัน
2. ฟอกบริเวณหลงั มือและซอกน้ิว โดยนําฝามอื ถูหลังมือและซอกนวิ้ สลบั กัน 2 ขา ง
3. ฟอกบรเิ วณฝามอื และซอกนิ้วมือ โดยฝามือถือฝา มือและซอกนว้ิ ทง้ั 2 ขาง
4. ฟอกบริเวณหลังนว้ิ มือ โดยกาํ มือนําฝามือถหู ลงั นว้ิ มือ สลบั กนั 2 ขาง
5. ฟอกบรเิ วณรองฝา มือและปลายน้วิ มือ โดยนําปลายนว้ิ มอื ถูขวางฝามือ ทําสลับ 2 ขา ง
6. ฟอกบริเวณนว้ิ หัวแมมือ โดยนาํ นิ้วหัวแมมอื ถรู อบฝา มือ สลบั กันทั้ง 2 ขาง
7. ฟอกบรเิ วณรอบขอ มือท้ัง โดยน้าํ ฝามือถูวนรอบขอมือ ทําสลบั กันทงั้ 2 ขาง

19

วิธลี างมือดวยเจลแอลกอฮอลทีถ่ กู ตอง
1. กดเจลลางมอื แอลกอฮอลประมาณ 10 มลิ ลลิ ิตร หรอื ใหพ อจะถมู ือไดท่วั ถึงทงั้ สองขาง
2. ถูฝามอื ทัง้ สองขา งเขาดว ยกัน
3. ถหู ลังมือขางซา ยดวยฝา มือขางขวา และประสานนวิ้ เขา ไปถซู อกน้วิ ทาํ สลบั กับมืออีกขาง
4. ถฝู า มอื และซอกนวิ้ ดานในฝา มอื ดวยนิ้วทปี่ ระสานกัน
5. กํามือขางหนึง่ และใชหลงั น้ิวถูฝา มืออกี ขางหน่งึ
6. ถูน้วิ หัวแมม อื ขางซาย โดยใชฝ ามอื ขางขวาท่ีประสานกัน กํารอบแลว หมนุ วน ทําสลับกบั นว้ิ หวั แมม ืออีก
ขา ง
7. ถฝู ามอื ซายดวยน้วิ มือขวาที่ประสานกัน วนไปขา งหลังและขางหนา ทาํ สลับกับฝามืออกี ขาง
8. ปลอ ยใหแอลกอฮอลคอย ๆ แหงไปเอง โดยไมตองเปาแหง ไมตองเช็ดดวยผา หรอื กระดาษซา้ํ

คาํ แนะนาํ ในการใชเ จลลางมอื แอลกอฮอล และขอควรระวัง
1. ควรเลอื กใชเจลลา งมอื แอลกอฮอลท ่ีมีสวนผสมของแอลกอฮอลถ ึง 70% ซ่ึงจะชวยฆาเช้อื โรคได
2. ไมค วรใชเ จลลา งมือกบั เด็กทารกและบริเวณผิวทบี่ อบบาง เชน รอบดวงตา
3. ไมค วรใชเ จลลางมือในบรเิ วณท่ีมีการอกั เสบ เชน เปน สิว มีบาดแผล เพราะอาจเกดิ การระคายเคอื งได
4. พยายามหลกี เล่ียงประกายไฟ โดยเฉพาะหลงั ถูมือเสร็จใหม ๆ และเจลแอลกอฮอลยงั ไมแหง ดี
5. หา มเปามอื ทีย่ งั มีเจลแอลกอฮอลบนผิวกับเคร่ือง Hand Dryer หรือเครือ่ งเปาแหง ในหอ งน้าํ เดด็ ขาด
6. ควรดูวนั หมดอายุของเจลลางมือทจี่ ะใชก อน และหากเปน เจลลางมือที่ทําเอง ควรใชใหห มดภายใน 30 วนั
7. ไมควรวางเจลแอลกอฮอลในจดุ ที่แสงแดดสอ งเต็ม ๆ เพราะความรอนอาจทาํ ใหประสทิ ธิภาพของเจล
แอลกอฮอลล ดลงได

20

การลางมอื ดวยสบทู ี่มีประสิทธภิ าพ 7 ข้ันตอน

ทม่ี า : สาํ นกั โรคตดิ ตอท่วั ไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ

21

วิธีลางมือดว ยเจลแอลกอฮอล

ท่มี า : WHO

22

การสวมและถอดหนากากอนามัย

การสวมหนากากอนามัยหรือหนากากผาเปนส่ิงสําคัญท่ีชวยปองกันการติดเช้ือหรือแพรกระจายเช้ือระบบ
ทางเดินหายใจ ซ่ึงการเลือกหนากากที่เหมาะสม ปฏิบัติวิธีการใสและถอดไดถูกตองจะสามารถปองกันการติดเชื้อ
ระบบทางเดินหายใจได (CDC, 2020) ดงั นี้

1. หลกั การสวมหนากาก
ควรสวมหนา กากอนามยั หรือหนากากผา เมื่อออกนอกเคหสถานหรืออยูในสถานทีส่ าธารณะ

2. แนวทางการสวมหนา กากในกรณตี า ง ๆ
2.1 บุคคลทีค่ วรสวมหนากาก ไดแก
2.1.1 ผทู ่ีอายตุ ้ังแต 2 ขวบข้นึ ไป
2.2 บุคคลท่ีไมควรตอ งสวมหนา กาก ไดแก
2.2.1 ผูทอ่ี ายตุ ่ํากวา 2 ขวบ เน่อื งจากอาจมีผลตอ ความปลอดภัยหรือพฒั นาการของผูน้ัน
2 2.2 กิจกรรมหรือสถานการณที่ตอ งสวมหนา กาก

3. การสวมหนา กากอนามัยหรือหนา กากผาที่ถูกวธิ ี
3.1 การเลือกหนากาก การสวมหนากากอนามยั หรือหนากากผา สามารถปองกันไมใ หเชอื้ โรคแพรส ผู ูอนื่ และ

ลดความ เสย่ี งในการตดิ เชอ้ื ของตวั เราเองได โดยมวี ธิ ีการเลอื กใชห นา กากอนามัยหรอื หนา กากผา ดงั นี้
3.1.1 หนา กากอนามัย ควรเลอื กใชห นา กากอนามยั ทางการแพทย (Medical Mask) ที่ไดรับการ รบั รอง

จากสํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา หรอื หนา กากอนามัยชนิดท่ัวไป (Nonmedical Mask) ซงึ่ ประกอบดวย 3
ชั้น ไมมีกลิ่นฉุนหรือรอยเปอน ไมมีรอยฉีก ขาดหรือสวนใดหลุดออกจากหนากาก ควรเลือกสีออนเพ่ือชวยให
สังเกตเหน็ รอยเปอ นหรือคราบสกปรก นอกจากนี้ควรสังเกตวนั หมดอายขุ องหนากากดวย

3.1.2 หนากากผา ควรเลือกหนากากที่ทําจากผาฝายหรือผาสาลูเน้ือแนน เย็บซอนกันอยางนอย 2 ช้ัน
ขน้ึ ไป และขนาดตอ งเหมาะกบั ใบหนา

3.2 วธิ ีการสวมหนากากอนามัยหรอื หนา กากผา
3.2.1 ข้นั ตอนและวิธกี ารสวมหนา กาก ดงั น้ี
(1) ลา งมอื กอนสวมหนากาก โดยลางดว ยสบแู ละนํา้ นาน 40-60 วนิ าที หรอื ใชเจล แอลกอฮอล
นาน 20-30 วนิ าที
(2) สํารวจความเรยี บรอ ย ไมค วรมรี อยฉกี ขาด คราบสกปรกหรือผา นการใชง านแลว
(3) หาสวนดา นบนของหนากากซ่งึ ปกตมิ ักจะมแี ถบลวดอยู
(4) หาดานในของหนา กากโดยสวนใหญมกั จะมสี ีออ น แลวหนั ดา นท่มี สี ีเขมหรอื บานพับ คว่าํ ไว
ดานนอก หรอื หนั ดานท่ีมีบานพบั หงายเขา หาใบหนา
(5) ดงึ สายรดั ทง้ั สองขา งคลอ งหู

23

(6) กดแถบลวดใหแ นบสันจมกู
(7) ดงึ หนา กากใหคลุมจมกู และใตคาง
3.2.2 เม่ือสวมหนากากแลว ใหหลีกเล่ียงการสัมผัสหนากาก และเม่ือถอดหนากากหรือสัมผัส หนากาก
โดยไมไดต้งั ใจ ใหใ ชเจลลางมือที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล 70% หรอื ทําความ สะอาดมือ ดว ยสบูและน้ําหากมีคราบ
สกปรกติดท่ีมือ
3.2.3 ควรเปล่ียนหนากากทุก 6-8 ช่ัวโมง หรือเม่ือหนากากเปยกชื้น สกปรก หรือเมื่อออกจาก สถานที่
แออัด
3.2.4 ไมควรใชห นากากซ้ํา โดยหนากากอนามยั ควรใชค ร้งั เดยี วแลว ทิ้ง สว นหนากากผาใหซ ักดว ย น้าํ ยา
ซักผา เด็กหรือนํา้ สบูออน หรอื ซักดวยน้ํายาฆา เชอ้ื แตไ มค วรแชทิ้งไว แลว ตากแดดให แหง เพอ่ื นํากลับมาใชใ หม
3.2.5 หลังจากถอดหนากากอนามยั แลว ใหทง้ิ ดวยวิธีตามท่ีกําหนดไวใ นขอ 3.3 โดยทันทแี ละลา ง มือให
สะอาดดวยสบแู ละนาํ้ หรือเจลแอลกอฮอล
3.3 การท้ิงหนา กากอนามัยทใ่ี ชแลว
3.3.1 ถอดหนา กาก ใหจ ับสายรัดและถอดหนากากอนามัยจากดา นหลงั พบั หนากากอนามัยสวนที่ สัมผัส
กบั ใบหนาเขา ดา นใน เพอ่ื ปอ งกันสารคดั หลง่ั จากนํา้ มูกหรือนา้ํ ลายแพรก ระจาย และไมควรสมั ผสั ตัวหนากาก
3.3.2 มวนหนากากใสถุงที่ปดสนิท และท้ิงในถังขยะท่ัวไปท่ีมีฝาปด จากนั้นลางมือดวยสบูและนํ้า หรือ
เจลแอลกอฮอล

การคดั กรองบคุ คลของศูนยดูแลเด็กกอนวยั เรยี น (เดก็ และผปู กครอง)

การคัดกรองเปนการประเมินอยางมีระบบใน เด็ก และผูปกครองทุกรายเมื่อ แรกรับ ซึ่งจะทําใหสามารถ
คนพบผูท่ีตองสงสัยวามีความเสี่ยงตอการติดเช้ือไดอยางรวดเร็ว และนําไปสูการแยกตัวผูปวยไปอยูในหองหรือพ้ืนท่ี
แยกโรคไดทนั ที (WHO, 2020) ซงึ่ ผูดแู ลเดก็ ในศูนยด ูแลเด็กกอนวัยเรยี น ควรปฏบิ ตั ิในการปองกนั การแพรระบาดของ
โรคโควิด-19 สําหรับสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย(กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2563). ดงั นี้

1.จัดใหมจี ุดคดั กรองทท่ี างเขา ศนู ยดแู ลเด็กกอ นวัยเรียน โดยเจา หนาทท่ี ผี่ า นการฝกอบรมอยปู ระจําจดุ คัด
กรอง

2. การจดั ทาํ สญั ลักษณของระยะระหวา งทีเ่ ด็กยืนรอการคดั กรองใหหา งกนั อยา งนอย 1-2 เมตร
3.จดั อุปกรณบ ริเวณบริเวณจดุ คดั กรองเดก็ ไดแ ก เครือ่ งตรวจวัดอณุ หภูมิ หรือวดั ไข เจลแอลกอฮอล ลา งมอื

เอกสารคัดกรอง ใบลงชอื่ รับสง แบบบนั ทกึ อุณหภูมเิ ดก็ และผูปกครอง ปา ยประชาสมั พันธ ข้นั ตอนการ
คดั กรอง
4. ผูดแู ลเดก็ ประจาํ จดุ คัดกรอง ใหส วมหนา กากอนามยั หรือหนากากผา และสวม Face Shield เพ่ือปอ งกนั
ตนเอง

24

5. ผดู แู ลเดก็ ตรวจสุขภาพทัว่ ไปของเดก็ และอาการผิดปกตขิ องเด็กแตละคน สอบถามขอ มูลทั่วไปเก่ยี วกบั
สขุ ภาพของเดก็ ขณะอยูท บี่ า นวดั อุณหภมู ิ ทง้ั เด็กและผปู กครอง อุณหภูมจิ ะตอ งไมเกิน 37.5องศา
เซลเซยี ส สอบถามอาการตดิ เชื้อทางเดินหายใจ ไอ จาม มนี า้ํ มูก อาการหอบเหนอ่ื ย

6. การคดั กรองความเสี่ยงของโรคโควิด-19 ของผูดูแลเดก็ เดก็ และผปู กครองโดยสอบถามใน Global
Surveillance for human infection with coronavirus (COVID-19) หากพบวามีขอ มลู เส่ียงในผูดูแล
เดก็ ควรหยดุ งานหรือมขี อมลู เสยี่ งในเด็กควรใหเ ด็กหยดุ เรยี นทันที

7. ใสหนากากอนามัยหรือหนากากผา ทใ่ี หม แหง และสะอาดใหเด็กที่อายมุ ากกวา 2 ป
8. ทาํ ความสะอาดรางกาย ลา งมอื ลา งเทาเดก็ ดวยนา้ํ สะอาดและสบู หรืออาบนาํ้ ใหเ ดก็ หรบั เดก็ ที่ ผา นการ

คัดกรองแลว
9. หลีกเล่ยี งการใหผ ูปกครองและบุคคลภายนอกเขาภายในพ้ืนทีด่ ูแลเด็กศนู ยดูแลเด็กกอนวยั เรยี น ควร

กําหนดนโยบายท่ชี ัดเจนเกี่ยวกับการแยกเด็กปวยออกจากศูนยด ูแลเด็กและช้ีแจงใหผูป กครองเด็กทราบ
ครั้งแรกตัง้ แตน าํ เดก็ มาฝากดแู ลทศ่ี ูนยด แู ลเดก็ กอนวยั เรียน

การทาํ ลายเชื้อและการดแู ลความสะอาดส่ิงแวดลอม

การทีเ่ ชื้อกอ โรคจะเขาสูรางกายเด็กเช้ือโรคตองอาศยั อยูใ สภาวะแวดลอมทีเ่ หมาะสม การทําความสะอาด
และการทําลายเช้ือพ้ืนผิวตางๆจะชวยลดจํานวนเช้ือจุลชีพและลดการแพรกระจายของเช้ือได (อะเค้ือ อุณหเลขกะ,
2556) การทําความสะอาดบริเวณศูนยดูแลเด็กกอนวัยเรียน โดยเนนบริเวณที่มีการสัมผัสหรือใชงานรวมกันบอยคร้ัง
บริเวณจุดสัมผัสการขัดถูพื้นผิวดวยน้ําและสารขัดลางเปนการขจัดเชื้อจุลชีพท่ีอยูบนพ้ืนผิวไดผลดี แตพ้ืนผิวบางแหง
ควรไดร ับการทําลายเช้อื เพม่ิ เติม

ส่ิงของ เคร่ืองใชส ือ่ พฒั นาการเด็ก ของเลนและอปุ กรณก ารเลน มีความสําคัญตอพฒั นาการทาง
การศึกษาของเด็ก ของเลนเด็กเปนแหลงของการปนเปอนเชื้อโรคทําใหเกิดการติดเชื้อไดมากที่สุด ปนเปอนเช้ือโรค
จากมือที่ไมไดลาง การหยิบจับของเขาปาก และจากสารคัดหล่ังถือเปนความเสี่ยงในการระบาดของเชื้อ (กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข, 2563) การทําความสะอาดของเลนที่เด็กสามารถนาํ เขา ปากไดควรลางทาํ ความสะอาดใชแปรง
ขัดทาํ ความสะอาดตามซอกรอ ง กอนทาํ ลายเชอ้ื และลางดว ยนา้ํ สะอาด แลวผึง่ ใหแ หง (อะเคื้อ อณุ หเลขกะ, 2556)

การดแู ลความสะอาดและการทาํ ลายเชอื้ บรเิ วณทใ่ี ชบริการรวมกนั ไดแ ก หอ งเรียน สถานทส่ี ําหรับ
รบั ประทานอาหาร หอ งนอน หอ งเดก็ เลน ใหทาํ ความสะอาดดวยนาํ้ ผสมผงซกั ฟอกหรือนํ้ายาทาํ ความสะอาดท่ัวไปโดย
ใหใ ชต าม

คําแนะนําตามฉลากของผลิตภัณฑ รวมท้ังใหเปด ประตู หนาตาง เพ่ือระบายอากาศ หากมีเคร่ืองปรับอากาศ
ใหทําความสะอาดระบบระบายอากาศอยางสมํ่าเสมอ จุดสัมผัสเสี่ยงในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เชน เคร่ืองเลนใน
สนามเด็กเลน ลูกบิดประตู ราวบันได หองน้ํา เปนตน ควรทําความสะอาดดวยน้ํายาทําความสะอาดท่ัวไป สําหรับ

25

สง่ิ ของ เครอ่ื งใช ของเลนท่สี ัมผัสกับปากเด็กใหท าํ ความสะอาดดว ยน้าํ ผสมผงซกั ฟอก ลางดวยนาํ้ สะอาด นําไปผึ่งแดด
ใหแ หง กรณีท่ีมรี ถรับ-สงเด็ก กอนและหลงั ใหบ รกิ ารในแตละรอบ ใหเปดหนาตา งและประตูเพื่อถายเท ระบายอากาศ
ภายในรถออก และทําความสะอาด

ในจุดที่มีการสัมผัสบอย ไดแก ราวจับที่เปดประตู เบาะน่ัง ท่ีเทาแขน ดวยนํ้าผสมผงซักฟอกหรือน้ํายาทํา
ความสะอาดทั่วไปจัดใหม กี ารดแู ลหอ งสวม(กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2563) ดงั นี้

• ทาํ ความสะอาดบริเวณที่มีการสัมผัสบอย ๆ อยางนอยวันละ 2 คร้ัง ไดแก พ้ืนหองสวม โถสวมท่ีกด
ชักโครกหรือโถปสสาวะ สายฉีดชําระ กลอนหรือลูกบิดประตู ฝารองน่ัง ฝาปดชักโครกกอกน้ําอาง
ลางมือ ดวยนํา้ ยาทําความสะอาดทว่ั ไป การใชผลิตภัณฑทําลายเชอื้ ใหใชต ามคําแนะนําที่ระบุติดบน
ฉลากผลติ ภัณฑ

• ซักผาสาํ หรับเช็ดทําความสะอาดและไมถูพืน้ ดว ยน้ําผสมผงซักฟอกหรือน้ํายาฆาเช้ือ แลวซักดวยน้ํา
สะอาดอกี ครง้ั และนาํ ไปผ่งึ ตากแดดใหแหง

• ของใชสําหรับเด็กตองมีการแยกเปนรายบุคคลเชน มีแกวน้ําสวนตัวสําหรับเด็ก การทําความสะอาด
วันละครั้ง ท่ีนอน หมอน ผาหมควรทําความสะอาดสัปดาหละหนึ่งคร้ังก็เพียงพอที่จะกําจัดไวรัสท่ี
อาจอยูบนพ้ืนผิวไดเมื่อไมมีผูที่ไดรับการยืนยันหรือสงสัยวาติดเช้ือโควิด-19 อยูในพื้นที่ และชวย
รักษาความสะอาดของสถานที่

• ผลิตภัณฑทําลายเชื้อมีหลายชนิด การเลือกใชควรใชตามคําแนะนําบนฉลาก ควรเก็บใหพนมือเด็ก
ควรระบายอากาศในพื้นท่ีเม่ือใชผลิตภัณฑเพ่ือปองกันไมใหเด็กสูดดมไอระเหยท่ีเปนพิษ (CDC,
2021)

26

ภาคผนวก

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

เอกสารอางองิ

กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข (2563). คมู ือการปฏบิ ัตสิ าํ หรับสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยในการปอ งกนั การ
แพรร ะบาดของโรคโควดิ -19. Retrieved from. file:///C:/Users/User/Desktop/ covid1_stu.pdf

กรมอนามัย. (2563). คมู ือมาตรการและแนวทางในการดแู ลดานอนามัยสิ่งแวดลอมในสถานการณการระบาดของโรค
ตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). https://covid19.anamai.moph.go.th/ web-upload/
2xdccaaf3d7f6ae30ba6ae1459eaf3dd66/m_document/6730/34033/ file_download/ecb4a
988cd5b3244c0a1a20cfbb667cf.pdf

กระทรวงสาธารณสขุ (2563). คาํ แนะนําการปองกนั ตนเองและการปฏิบัตดิ านสขุ อนามยั ในสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ใน
สถานการณการระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). https://covid19. anamai.
moph.go.th /web-upload/2xdccaaf3d7f6ae30ba6ae1459eaf3dd66/m_document/6736/34130
/file_download/d5e7c006d64398530fc425ad7b0f7e20.pdf

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ . (2562). รายช่ือโรค. https://ddc.moph.go.th/doe/#
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2558). พระราชบัญญตั ิโรคติดตอ พ.ศ. 2558. ราชกิจจานเุ บกษา.เลม 132

ตอนที่ 86 ก. หนา 26. https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor/c74d97b01 eae257e 44aa9d
5bade97baf/ files/001_1gcd.PDF
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ . (2554). แนวทางการปองกนั ควบคมุ โรคติดตอ ในศนู ยเ ด็กเลก็ (สาํ หรบั ครู
ผดู แู ลเด็ก). http://itnan1.ednan1.go.th/uploads/00443-0.pdf
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย. (2559). ). มาตรฐานการดาํ เนนิ งานศูนยพัฒนาเด็กเลก็ ของ
อง ค ก ร ป ก ค รอ ง ส ว น ท อ ง ถ่ิน ป ร ะ จํ า ป งบ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 5 9. http: / / www. dla. go. th/
upload/ebook/column/2017/4/2199_5930.pdf
กรมควบคุมโรค. (2564). แนวทางการใหวัคซีนโควดิ 19 ในสถานการณการระบาด ป 2564 ของประเทศไทย ฉบบั
ปรับปรงุ คร้ังท่ี 1. file:///C:/Users/User/Desktop/covid-19-public-Vaccine-040664.pdf
สถาบันสขุ ภาพเด็กแหง ชาติมหาราชิน,ี โรคหวดั . http://www.childrenhospital.go.th 2556. แหลง ทมี่ า
http://www.childrenhospital.go.th/html/2014/en/service/%E0%B9%82%E0%B8%
A3%E0%B8% 84%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94. คน เม่ือ 3 สงิ หาคม, 2564
สมาคมโรคระบบหายใจและเวชบาํ บดั วิกฤตในเด็ก และ ราชวิทยาลัยกมุ ารแพทยแหงประเทศไทย. (2562). แนว
ทางการดูแลรกั ษาโรคติดเช้อื เฉียบพลนั ระบบหายใจในเด็ก พ.ศ. 2562. นนทบุรี: บริษัทบยี อนด เอน็ เทอร
ไพรซ จาํ กัด. www.thaipediatrics.org/Media/media-20190906151602.pdf
สุพรรณี ธรากุล. (2562). วิทยาการระบาดทางการพยาบาล. กรุงเทพ ฯ: สํานกั พิมพจุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย

41

วชิ ุตา ศรีสุคนธ, รจู ักและเขาใจ เพ่ือปกปองลูกนอ ยจากโรคติดเชอื้ ในระบบทางเดนิ หายใจ. https://www.

phyathai.com 2561. แหลง ท่มี า https://www.phyathai.com/ arpreview. php?id=2691. คน เมอ่ื
30 กรกฎาคม, 2564
อะเคือ้ อณุ หเลขกะ. (2556). ระบาดวทิ ยาและแนวปฏิบัติในการปอ งกนั การติดเช้ือในโรงพยาบาล. เชียงใหม.
บริษทั ม่ิงเมืองนวรัตน จาํ กัด.
Centers for Disease Control (CDC). (2015) Handwashing: clean hands save lives. http://www.cdc. J
Nurs Sci
Vol 35 No 1 January - March 2017 Journal of Nursing Science 13 gov/handwashing/
index.html
Centers for Disease Control (CDC). (2020). COVID-19 Overview and Infection Prevention and Control
Priorities in non-US Healthcare Settings. https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-
ncov/hcp/non-us-settings/overview/index.html.
Centers for Disease Control (CDC). (2021). COVID-19 Guidance for Operating Early Care and
Education/Child Care Programs. https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/community
/disinfecting-building-facility.html
Centers for Disease Control (CDC). (2021). Guidance for Operating Child Care Programs during
COVID-19. https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/community/schools-childcare/
guidance-for- childcare.html#anchor_1612986010643
Centers for Disease Control (CDC). (2020). The Science of Masking to Control COVID-19.
https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/downloads/science-of-masking-abbreviated.pdf
World Health Organization. (2009). Hand hygiene Technical Reference Manual. https://apps.
who.int/iris/rest/bitstreams/52577/retrieve
GlobalTimes.Properhand washing pivotal to preventing deadly diseases: United Nations

International Children's Emergency Fund (UNICEF). http://www.globaltimes.cn/

content/1011495.shtml.

World health organization. (2020). โรคโควิด 19 คืออะไร.https://www.who.int/docs/default-
source/searo/thailand/update-28-covid-19-what-we-know---june2020---
thai.pdf?sfvrsn=724d2ce3_0


Click to View FlipBook Version