The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ด้านที่ 1 ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pianthaisong1985, 2021-03-30 13:35:04

ก.ค.ศ 2 (Dir-POOM) - E-BOOK-ด้านที่ 1

ด้านที่ 1 ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ก.ค.ศ. 2 1

แบบรายงานดา้ นที่ 1

ด้านวนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
ของข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในการขอมหี รือเล่อื นวทิ ยฐานะ

(ทุกตำแหนง่ และทกุ วทิ ยฐานะ)
ขอเลื่อนเปน็ วิทยฐานะ ผูอ้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ

(สายงานบรหิ ารสถานศกึ ษา)

นายยุทธศาสตร์ เพียรไธสง

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา
วทิ ยฐานะ ผู้อำนวยการชำนาญการ

โรงเรยี นบ้านหนองไห อำเภอมัญจาครี ี จงั หวดั ขอนแก่น
สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก.ค.ศ. 2 1

แบบรายงานด้านที่ 1 ด้านวินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในการขอมีหรอื เล่ือนวทิ ยฐานะ

(ทกุ ตำแหน่งและทกุ วิทยฐานะ)

ขอเลื่อนเปน็ วิทยฐานะ ผู้อำนวยการชำนาญการพเิ ศษ (สายงานบรหิ ารสถานศึกษา)

1. ข้อมลู ผู้ขอรับการประเมิน
ชื่อ นายยุทธศาสตร์ นามสกลุ เพียรไธสง
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ ผู้อำนวยการชำนาญการ ตำแหนง่ เลขท่ี 5318
สถานศึกษา/หนว่ ยงาน โรงเรียนบ้านหนองไห อำเภอ/เขต มญั จาครี ี จงั หวัด ขอนแก่น
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2
ส่วนราชการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
รบั เงินเดอื นอนั ดบั คศ.2 ขน้ั 31,500 บาท

2. ให้รายงานพฤติกรรมทแ่ี สดงถึงความเป็นผ้มู ีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพและ
รวบรวมเอกสารหลกั ฐานอา้ งอิงไว้ที่สถานท่ีปฏิบัติงานเพ่ือรอรบั การประเมินจากคณะกรรมการ ดงั นี้

1. การมวี ินัย
1.1 การมีวนิ ยั ในตนเอง ยอมรับและถือปฏิบตั ติ ามกฎ กตกิ า มารยาท ขนบธรรมเนียม และ

แบบแผนอนั ดีงามของสังคม
ข้าพเจา้ ผขู้ อรบั การประเมนิ ประพฤตปิ ฏิบัตติ นถูกตอ้ งตามระเบยี บวนิ ัยของทางราชการ

ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนตามกฎเกณฑข์ องสังคม ดำรงไวซ้ ึง่ ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดงี ามของไทย ประพฤติ
ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างท่ีดแี ก่เพื่อนรว่ มงาน ผู้ใตบ้ ังคบั บัญชาและนักเรียน เชน่ การแต่งกายทีเ่ หมาะสมกบั
กาลเทศะ มีความซ่ือสัตย์สจุ ริตในวชิ าชพี มีความตรงต่อเวลา มาปฏิบตั ริ าชการก่อนเวลาและกลบั หลังเวลา
ราชการ อุทิศและเสียสละเวลาให้กับทางราชการอย่างเตม็ ที่ มคี วามอดทน อดกลน้ั ต่อความเหนือ่ ยยากขณะ
ปฏิบัติราชการ เอ้อื เฟื้อเผอ่ื แผ่และมุง่ มั่นทำประโยชนเ์ พ่ือสว่ นรวม ไมน่ ำเวลาราชการไปทำประโยชน์ส่วนตวั
มีความรกั สามัคคีในองคก์ ร

(เอกสารหลักฐานอา้ งองิ หน้า 11 - 13)
1.2 การรักษาและเสริมสร้างวินัยในตำแหน่งหน้าท่รี าชการ การปฏิบัตติ ามกฎหมาย ระเบียบ
แบบแผนของทางราชการ

ขา้ พเจา้ ผู้ขอรบั การประเมนิ ได้ศกึ ษากฎหมายการศึกษา พระราชบญั ญตั ิทางการศกึ ษาและ
บทบาทหน้าที่ทางราชการของครู ในหมวดทว่ี ่าดว้ ยวนิ ัยทางราชการจนเข้าใจ และไดป้ ฏิบัติตนในรักษาและ
เสรมิ สรา้ งวนิ ัยในตำแหน่งหน้าทีร่ าชการ ปฏิบตั ิหนา้ ทต่ี ามกฎหมาย ระเบียบทางราชการอยา่ งเครง่ ครดั
ประพฤตปิ ฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา มีคุณธรรมจรยิ ธรรม สามารถเป็นแบบอยา่ งแกบ่ ุคคล
ทวั่ ไปได้เป็นอยา่ งดี จนไดร้ ับการยกยอ่ งให้ไดร้ บั รางวลั “ครดู ีศรีมญั จา” ประจำปี 2564 ประเภทผู้บริหาร
สถานศกึ ษา เน่ืองในโอกาสวนั ครู คร้งั ท่ี 65 และเปน็ วทิ ยากรการฝกึ อบรมลกู เสือของสำนักงานลูกเสือจังหวัด
มหาสารคาม และสำนักงานลูกเสอื จงั หวดั กาญจนบรุ ี

(เอกสารหลักฐานอ้างองิ หน้า 11 - 22)

2

1.3 การตรงต่อเวลา การอุทิศเวลาใหแ้ ก่ทางราชการและผเู้ รียนอยา่ งต่อเน่ือง
ข้าพเจ้าผ้ขู อรบั การประเมนิ ปฏบิ ัตติ นและยึดกฎระเบียบทางราชการในเร่ืองการปฏบิ ัติ

หนา้ ท่ที ี่ตอ้ งตรงต่อเวลา และอุทศิ เวลาให้แกท่ างราชการทุกครั้งท่ตี ้องทำงานนอกเวลาราชการ โดยการมา
ปฏิบตั ิราชการอย่างต่อเนื่อง เชน่ การเปิดเรียนสอนชดเชยในวนั เสาร์ การเข้าร่วมประชมุ อบรมในวันหยุดทาง
ราชการ และไม่ใชเ้ วลาราชการไปหาผลประโยชนห์ รอื ทำธรุ กจิ สว่ นตวั ซง่ึ จากความดดี งั กล่าว ทำให้ข้าพเจ้า
ได้รบั การยกย่องใหเ้ ป็นผอู้ ุทิศตนเพ่ือการศึกษา

(เอกสารหลักฐานอ้างอิง หนา้ 23)
1.4 ความซ่ือสัตย์ สจุ ริตในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี
ผลประโยชนท์ ับซ้อน

ข้าพเจ้าผขู้ อรับการประเมิน ปฏบิ ตั งิ านตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ ปฏบิ ัติงานที่
ได้รบั มอบหมายดว้ ยความซือ่ สัตย์ สจุ ริต ไม่แสวงหาผลประโยชน์จากงานราชการ โดยเฉพาะการบรหิ ารงาน
งบประมาณ ขา้ พเจ้าจะดำเนินงานเป็นไปตามพระราชบญั ญัตกิ ารจดั ซื้อจดั จา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ
พ.ศ. 2560 และระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการจัดซ้ือจดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
อย่างเคร่งครัด ดังน้ี

(1) แตง่ ตั้งบุคลากรผู้รับผิดชอบงานพสั ดุ
(2) จัดสรรงบประมาณ แผนงาน โครงการ กจิ กรรมตา่ ง ๆ โดยมกี ารศกึ ษาข้อมูล ตรวจสอบ
วงเงิน วเิ คราะห์กจิ กรรมตามภารกิจงานที่ต้องจัดทำตามขั้นตอน และวธิ ีการจดั สรรงบประมาณ จัดทำ
รายละเอียดแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ ซ่ึงระบุแผนงาน งาน/โครงการที่สอดคล้องเหมาะสมกับวงเงนิ
งบประมาณ นำเสนอแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ และข้อตกลงผลผลิตของสถานศกึ ษา และขอความ
เหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
(3) ดำเนินการควบคุม การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการใช้เงนิ และผล
การดำเนนิ งาน โดยจดั ทำแผนตรวจสอบการใช้เงนิ งบประมาณ และผลการดำเนินงานตามข้อตกลง ผลผลิต
ของสถานศึกษา ควบคุมให้การดำเนนิ การจัดซื้อจดั จา้ งให้เป็นไปตามพระราชบญั ญตั กิ ารจัดซ้อื จดั จ้างและการ
บรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560 และระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการจัดซอื้ จัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดุ
ภาครฐั พ.ศ. 2560 มีการตรวจสอบ ตดิ ตาม นเิ ทศ และจดั ทำขอ้ สรปุ ผลการตรวจสอบ และรายงานผลการ
ตรวจสอบต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษาและเขตพนื้ ที่การศึกษา ประเมนิ ผลผลิตตามตวั ชว้ี ดั ความสำเร็จท่ี
กำหนดตามขอ้ ตกลงการให้บรกิ ารผลผลติ รายงานการดำเดินงานเกย่ี วกับการเงินและพัสดปุ ระจำปตี ่อ
ผบู้ รหิ าร คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน และสำนกั งานตรวจเงนิ แผน่ ดนิ
(เอกสารหลักฐานอา้ งอิง หนา้ 11 , 24 - 32)
1.5 การรักษาความสามคั คี มีน้ำใจ เอือ้ เฟ้ือเผ่ือแผ่ ต่อเพอ่ื นรว่ มงาน องค์กร และชุมชน
ขา้ พเจา้ ผขู้ อรบั การประเมนิ บริหารงานโดยใชห้ ลักการว่าด้วยการบริหารกจิ การบ้านเมืองทีด่ ี
“ธรรมาภิบาล” และหลกั ธรรมทว่ี า่ “สขุ าสังฆสั สะสามคั คี ” มาบรู ณาการในการบริหารและจัดการศกึ ษาใน
องค์กร เสรมิ สร้างความสามัคคใี นหมคู่ ณะ มีน้ำใจและเอื้อเฟอ้ื เผ่ือแผต่ ่อเพื่อนรว่ มงาน ผู้ใตบ้ ังคับบัญชา
นักเรยี น องค์การและชมุ ชนที่อยูใ่ กลเ้ คยี ง อยา่ งกัลยาณมติ ร
(เอกสารหลักฐานอ้างองิ หน้า 11 , 33 - 34)

3

2. การประพฤติปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
2.1 ความอุตสาหะ ขยัน อดทน มงุ่ ม่นั และรบั ผิดชอบต่อผลสมั ฤทธิข์ องงาน โดยยดึ หลกั

ประหยัด คุ้มคา่ มีประสิทธิภาพ
ขา้ พเจ้าผูข้ อรับการประเมนิ บรหิ ารงานโดยใช้หลกั การครองตน ครองคน ครองงาน ดว้ ย

ความอตุ สาหะ ขยัน อดทน มุ่งม่ันและรบั ผิดชอบต่อผลสมั ฤทธข์ิ องงาน ทำให้มีผลสัมฤทธิ์ทีม่ ีประสทิ ธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ล จนประสบความสำเร็จและเปน็ ทีย่ อมรบั ได้รับการยกย่องเป็นแบบอย่างที่ดีแกบ่ ุคคลอื่นได้ สง่ ผล
ให้ได้รับการยกย่องให้ได้รับรางวัล “ครูดศี รมี ัญจา” ประจำปี 2564 ประเภทผบู้ ริหารสถานศกึ ษา เน่อื งใน
โอกาสวันครู คร้ังท่ี 65 นอกจากนี้ ไดป้ ระพฤติปฏิบตั ติ นอย่างเรยี บงา่ ย และประหยัดโดยใช้ทรพั ยากรใน
หน่วยงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า ช่วยลดคา่ ใชจ้ า่ ยในโรงเรยี นดว้ ยการปดิ นำ้ ปิดไฟทุกครั้งที่ไม่ได้ใชง้ าน
รวมถงึ การรณรงคแ์ ละปลูกฝังจติ สำนึกนักเรยี นในการช่วยกันประหยัดน้ำ ประหยดั ไฟฟ้าทุกคร้งั กอ่ นออกจาก
ห้องเรียน หรอื ทำกิจกรรมใด ๆ

(เอกสารหลักฐานอ้างองิ หน้า 11 , 35 - 36)
2.2 การยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม มีความศรัทธาและปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนา
ขา้ พเจ้าผขู้ อรบั การประเมิน ประพฤตปิ ฏิบัติตนอยู่ในหลักของพุทธศาสนา เปน็ แบบอย่างท่ีดีตอ่
เพ่ือนรว่ มงานและนักเรียน รวมทง้ั การเขา้ รว่ มกิจกรรมวนั สำคญั ทางพุทธศาสนา การทำบุญตกั บาตร ปฏบิ ัติ
อย่างต่อเนื่องเป็นนิสยั แนะนำตักเตือนผรู้ ่วมงาน และนักเรียนใหห้ ลีกเลยี่ งอบายมขุ ทุกชนิด ปฏบิ ัติตนอยา่ งมี
คณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอ่ เพื่อนร่วมงานและนักเรียนเสมอ ดงั นี้

(1) ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท ปฏิบตั ติ นตามแนวพระราชดำริ เช่น สรา้ งความสามคั คี
ในหมคู่ ณะ การดำรงชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ต้น

(2) รบั ผิดชอบต่อสังคม ร่วมงานกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของชุมชนอยู่เสมอ เชน่ งานบุญประเพณี
งานฌาปนกจิ ฯ

(3) เป็นผู้มีมนุษยสัมพนั ธ์ที่ดตี ่อผบู้ ังคบั บญั ชา ผูร้ ว่ มงาน ผ้เู รยี น และบุคคลทว่ั ไป
จนได้รบั การยกย่องจากชุมชนและบุคคลตา่ ง ๆ

(4) ประพฤติและปฏิบัตติ ามครรลองของวัฒนธรรมหลักธรรมของศาสนาอยู่เสมอ รักษา
ประเพณอี ันดีงามของไทย เช่น การนำนักเรยี นร่วมงานประเพณี ทำบญุ ในวนั สำคญั ทางศาสนา รกั ษา
เอกลักษณ์อนั ดีงามของท้องถิ่นและของไทย

(5) เคารพในสทิ ธขิ องผู้อนื่ ให้ความร่วมมือในการปฏิบตั งิ านของส่วนรวมอยเู่ สมอ
ให้ความร่วมมือแกห่ นว่ ยงานต่าง ๆ ตามท่รี ้องขอการสนบั สนุน และทกุ ทีทม่ี ีโอกาส

(เอกสารหลักฐานอ้างองิ หน้า 11 , 37 - 38)
2.3 การยดึ มนั่ ในหลกั นิตธิ รรม ยนื หยัดกระทำในสงิ่ ท่ถี กู ต้อง เป็นธรรมและชอบด้วยกฎหมาย

ข้าพเจ้าผ้ขู อรบั การประเมิน ประพฤตปิ ฏิบตั ติ น กระทำในส่ิงทีถ่ กู ต้อง เหมาะสม ชอบด้วย
กฎหมาย โดยการไมก่ ระทำในส่งิ ทผี่ ิดกฎหมาย เชน่ ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีตามคำสง่ั แตง่ ต้ังคณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ
โดยยึดม่ันในหลักนิตธิ รรม ยนื หยดั กระทำในสงิ่ ที่ถกู ต้อง เป็นธรรมและชอบดว้ ยกฎหมาย ไม่ผิดศลี ธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมอนั ดงี ามของท้องถน่ิ ช่วยรกั ษาและทะนบุ ำรงุ พุทธศาสนาประเพณแี ละวัฒนธรรมตาม
สมควร ให้ความสำคัญในการดูแล อบรมสงั่ สอนนักเรยี นในการประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นคนดี ไม่ยุง่ เก่ียวกับสงิ่
เสพตดิ รณรงค์ สง่ เสริมใหแ้ ละความรู้ ในกิจกรรมรณรงค์วันตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ

(เอกสารหลักฐานอา้ งองิ หนา้ 11 , 39 - 42)

4

2.4 การยดึ มน่ั ในการปกครองระบบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ และ
วางตัวเป็นกลางทางการเมือง

ข้าพเจา้ ผ้ขู อรับการประเมิน ประพฤตปิ ฏิบัติตน ในการใชส้ ทิ ธิและหนา้ ท่ีตามระบอบ
ประชาธปิ ไตย โดยการไปใช้สทิ ธิในการเลอื กตง้ั ที่เรามีสทิ ธิในการเลือกตั้งนนั้ ทุกครง้ั ไมว่ ่าจะเปน็ การเลือกตั้ง
สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร สมาชิกสภาจงั หวัด วุฒสิ ภา สมาชกิ องค์การบริหารส่วนตำบล การเลือกตง้ั ครู หรอื
ตัวแทนครูในการเข้าไปทำหน้าท่แี ทนเราในองค์กรหรือหนว่ ยงานตา่ ง ๆ รวมทัง้ การมสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสริม
สนับสนุนกิจกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเลือกตง้ั ซ่ึงบ่อยคร้งั ที่ไดร้ ับการแตง่ ตั้งจากหนว่ ยงานที่เป็นผ้รู ับผดิ ชอบให้
เปน็ ผู้อำนวยการในการเลอื กตัง้ ประจำหนว่ ยเลือกต้งั อำเภอมญั จาครี ี จังหวดั ขอนแก่น ซ่งึ ได้วางตวั เปน็ กลาง
ทางการเมอื ง นอกจากน้ี ขา้ พเจา้ ยังมวี สิ ยั ทัศน์ในการปฏบิ ัติงานโดยประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างทดี่ ใี น
การปฏบิ ตั งิ าน ปลกู ฝงั การยดึ มน่ั ในการปกครองระบบประชาธิปไตย เชน่ การไดร้ บั การแตง่ ตงั้ ให้เปน็
ผ้อู ำนวยการเลอื กตง้ั ของหนว่ ยเลอื กตงั้ หลายคร้งั การจดั กิจกรรมรณรงค์การไปใชส้ ิทธิเลือกต้ัง การจัดกจิ กรรม
เลอื กตั้งในโรงเรียน เพอื่ เปน็ การวางรากฐานระบอบประชาธิปไตยให้แกน่ ักเรียน และส่งเสริมปลกู ฝังให้
นกั เรยี นและบุคลากรแสดงออกถึงความจงรักภกั ดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ เป็นแบบอย่างทีด่ แี ก่
เพือ่ นรว่ มงาน ผใู้ ต้บงั คับบัญชา และนักเรียนในโรงเรียน เข้าร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ การจดั กิจกรรมเฉลิมพระ
เกยี รติ กิจกรรมวันแม่แหง่ ชาติ เพอ่ื แสดงความจงรักภักดตี ่อสถาบันหลักของชาติ เป็นต้น

(เอกสารหลักฐานอ้างอิง หนา้ 11 , 43 - 44)
2.5 การมสี ่วนร่วมอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม

ขา้ พเจ้าผูข้ อรับการประเมนิ มีส่วนรว่ มในกจิ กรรมของโรงเรียนและชมุ ชนในการอนุรักษ์
วฒั นธรรมไทยและสิ่งแวดล้อม โดยการเขา้ ร่วมกิจกรรมประจำปีของชมุ ชน กจิ กรรมวนั ลอยกระทง กจิ กรรม
วนั พ่อ วันแม่แห่งชาติ และกจิ กรรมท่ีโรงเรียน หนว่ ยงาน และชุมชนร่วมกันจดั กิจกรรม เพือ่ เป็นการส่งเสริม
และช่วยกันรักษาประเพณี วัฒนธรรมอนั ดีงามของไทย รว่ มทั้งปลกู จติ สำนึกทีด่ ีให้แก่นักเรยี นในการดแู ลรกั ษา
สง่ิ แวดล้อมในชุมชนและทอ้ งถ่ิน ซง่ึ ไดด้ ำเนนิ โครงการต่าง ๆ เช่น พัฒนาสภาพแวดลอ้ มในโรงเรียนใหร้ ม่ ร่นื
นา่ ดู น่าอยู่ น่าเรียน และดำเนนิ โครงการต่าง ๆ โดยมสี ว่ นรว่ มอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมไทยและสง่ิ แวดลอ้ ม จำนวน
มากกว่า 8 กิจกรรม

(เอกสารหลักฐานอ้างอิง หน้า 11 , 45 - 54)
3. การดำรงชวี ติ อยา่ งเหมาะสม

3.1 การดำรงชีวิตตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ขา้ พเจ้าผขู้ อรบั การประเมิน ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเป็นแบบอย่างทดี่ ีแกเ่ พื่อนรว่ มงาน
ผู้ใต้บังคับบญั ชา และนักเรยี นในการใชช้ วี ิตอย่างพอเพียง ไม่ใชจ้ า่ ยฟุ่มเฟือยเกนิ จำเป็น การจดั การรายได้ของ
ครอบครัวอย่างเหมาะสม ปฏิบตั จิ นเปน็ นิสยั ทั้งอยทู่ บ่ี ้านและที่ทำงาน เช่น การปลูกผกั เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ
และดำเนนิ ชวี ิตอยา่ งพอเพียง ใชจ้ ่ายอย่างประหยดั ในส่งิ ท่ีจำเป็นต่อการดำเนนิ ชีวิต รู้จกั อดออม ยอมรับใน
ความพอดี พอใจในสงิ่ ทม่ี ีอยู่ ไมส่ รา้ งปญั หาใหส้ ง่ ผลกระทบต่อหน้าท่ีของการทำงานและการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
รวมทัง้ การสง่ เสริม สนบั สนนุ ใหค้ วามรูน้ ักเรียนรจู้ ักการประหยดั และการออม และการใชช้ วี ิตตามหลัก
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยมกี ารนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการดำเนินชวี ติ

(เอกสารหลักฐานอา้ งองิ หนา้ 11 , 55)

5

3.2 การละเวน้ อบายมุขและส่งิ เสพติด
ขา้ พเจ้าผู้ขอรบั การประเมิน ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอยา่ งท่ีดแี ก่เพ่ือนรว่ มงาน

ผใู้ ต้บงั คับบัญชาและนกั เรียน โดยการปฏิบัตติ นอย่ใู นศลี ธรรมอนั ดี ละเว้นอบายมุขและส่ิงเสพตดิ ทเ่ี ปน็
อนั ตรายต่อตนเองและคนที่อยใู่ กล้เคยี ง รวมท้ังการเขา้ ร่วมกิจกรรมรณรงคต์ ่อต้านยาเสพตดิ ส่งเสรมิ และให้
ความรู้เกย่ี วกบั ส่งิ เสพติดทั้งในโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น โดยการใหน้ กั เรียนจัดปา้ ยนิเทศในห้องเรยี นและใน
บรเิ วณโรงเรยี น การเดินรณรงคใ์ นหมู่บา้ น เป็นตน้ โดยมีการดำเนนิ การอยา่ งต่อเนื่อง

(เอกสารหลักฐานอ้างอิง หน้า 11 , 56)
3.3 การใช้หรือใหข้ ้อมูลข่าวสารของส่วนบุคคลและของทางราชการให้เปน็ ไปดว้ ยความ
ถกู ตอ้ ง

ขา้ พเจ้าผขู้ อรับการประเมนิ ใหค้ วามร่วมมืออยา่ งดีในการให้ขอ้ มูลส่วนตวั และข้อมลู ของทาง
ราชการแก่หน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องท่ีต้องการทราบข้อมลู ครู นกั เรยี น และโรงเรียน เพ่ือใช้ประโยชน์ต่อไป ท้ังใน
รปู แบบการกรอกขอ้ มูลเป็นแผน่ เอกสาร ไฟล์ข้อมูลอเิ ล็กทรอนกิ ส์ และกรอกข้อมูลผ่านระบบอนิ เตอรเ์ น็ต โดย
ใหข้ ้อมลู ทถ่ี ูกต้อง ชัดเจน และตรงต่อเวลา รวมทั้งการไม่ละเมดิ สทิ ธผิ อู้ น่ื ในการเขา้ ไปดูหรือใชข้ อ้ มูลสว่ นตวั
ข้อมูลทางราชการของผู้อื่น โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ ของขอ้ มลู รวมท้งั การเปน็ แบบอย่างและให้ความรูใ้ น
การบรหิ ารจดั การข้อมลู สารสนเทศ

(เอกสารหลักฐานอา้ งอิง หนา้ 11 , 57)
3.4 การดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี เหมาะสมกับสถานภาพและตำแหน่งหนา้ ที่
ขา้ พเจ้าผูข้ อรับการประเมิน ปฏิบตั ิตนเหมาะสมกับการเป็นครู เปน็ แบบอยา่ งทีด่ แี กเ่ พ่อื นรว่ มงาน
ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชา และนักเรยี น โดยประพฤติปฏบิ ตั ิและวางตนใหเ้ หมาะสมทั้งทางกายวาจาใจ เช่น การแตง่
กายเหมาะสมกบั กาลเทศะ การมีกิรยิ าวาจาทสี่ ภุ าพ มอี ่อนน้อมถ่อมตน และยังประพฤติปฏิบัติตนเปน็
พุทธศาสนกิ ชนท่ีดีของศาสนา มีความซ่อื สตั ย์สจุ รติ เอือ้ เฟื้อเผอ่ื แผแ่ ละเสียสละ เห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนรวมย่งิ
กวา่ ประโยชนส์ ว่ นตน มีวนิ ัยในตนเอง ตรงต่อเวลา ซึ่งเป็นตัวอยา่ งในการประพฤตปิ ฏบิ ัติตน จนไดร้ บั การยก
ย่อง ตลอดจนมสี ่วนรว่ มสง่ เสริมใหผ้ ใู้ ต้บังคับบัญชาดำรงตนเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี เหมาะสมกับสถานภาพและ
ตำแหน่งหนา้ ท่ี ส่งผลให้ไดร้ บั รางวัล “ครูดศี รีมัญจา” ประจำปี 2564 ประเภทผบู้ ริหารสถานศกึ ษา เนื่องใน
โอกาสวนั ครู คร้งั ที่ 65 และเป็นวทิ ยากรการฝึกอบรมลูกเสือของสำนกั งานลูกเสือจงั หวัดมหาสารคาม และ
สำนกั งานลกู เสือจังหวัดกาญจนบรุ ี

(เอกสารหลักฐานอา้ งอิง หน้า 11 , 14 , 17 - 22 , 58)
3.5 การประหยัด มธั ยสั ถ์ อดออม

ข้าพเจา้ ผู้ขอรับการประเมนิ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอย่างทีด่ ี ในเรอ่ื งการประหยัด มัธยัสถ์ อด
ออม ไม่ฟมุ่ เฟอื ย ใชจ้ ่ายในสิ่งทจ่ี ำเปน็ ต่อการดำเนนิ ชีวติ การจัดการรายได้ของครอบครัวอย่างเหมาะสม
ปฏิบตั จิ นเป็นนสิ ยั ทั้งอยทู่ บี่ ้านและท่ีทำงาน และดำเนนิ ชวี ติ อย่างพอเพยี ง รูจ้ ักอดออม ยอมรับในความพอดี
พอใจในสงิ่ ที่มีอยู่ ไม่สร้างปญั หาให้ส่งผลกระทบต่อหนา้ ท่ีของการทำงาน และการเรียนรู้ของผ้เู รยี น รวมทงั้
การสง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ความรู้นักเรยี นรจู้ ักการประหยดั และการอดออม

(เอกสารหลักฐานอา้ งองิ หน้า 11 , 59)

6

4. ความรกั และศรัทธาในวชิ าชพี
4.1 การเป็นสมาชิกทด่ี ี สนับสนนุ หรอื ร่วมกิจกรรมของวิชาชีพและทางวชิ าการอยา่ ง

สรา้ งสรรค์
ข้าพเจ้าผขู้ อรบั การประเมนิ ปฏิบัติตนและร่วมกิจกรรมทางวชิ าการอยา่ งต่อเน่ือง

โดยเข้าร่วมกิจกรรมการเป็นสมาชกิ ท่ดี ขี ององค์กรวชิ าชีพต่าง ๆ โดยการสง่ เสรมิ องคก์ ร สมาคมวชิ าชพี ทุกทาง
เพื่อพฒั นาวิชาชีพครใู ห้มเี กยี รติ เจรญิ ก้าวหนา้ พยายามรว่ มมอื และร่วมกิจกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ พัฒนาตนเอง
โดยการเขา้ รว่ มประชุมทางวิชาการ อบรมปฏบิ ัติการในสาขาท่ีเกี่ยวข้องกบั สมาชิกอื่นด้วยความเป็นกนั เอง ไม่
ถอื ตวั สามารถแนะนำและให้ความรใู้ นเรือ่ งทีเ่ รารว่ มประชุมอบรมปฏิบตั ิการกับเพ่ือนรว่ มงานได้ การเขา้ ร่วม
ชมนิทรรศการ การแสดงผลงานทางวิชาการตา่ ง ๆ ที่หนว่ ยงานตา่ ง ๆ จดั อยู่เสมอ แสวงหาความรู้ทเ่ี ก่ยี วกับ
วิชาชีพและความรทู้ างวิชาการมาพัฒนาตนเองเสมอ

(เอกสารหลักฐานอา้ งองิ หนา้ 11 , 14 , 60 - 63)
4.2 การศึกษา คน้ คว้า รเิ รมิ่ สรา้ งสรรคค์ วามรใู้ หม่ ๆ มาใช้พฒั นางานในวิชาชีพ
ข้าพเจ้าผู้ขอรบั การประเมนิ ได้ศึกษา คน้ คว้า หาความรู้ใหม่ ๆ โดยการเข้าร่วมศึกษาดูงาน อบรม
สมั มนาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เป็นตน้ นำความรทู้ ่ีได้มาสร้างสรรค์องค์ความร้แู ละนวตั กรรมใหม่ ๆ เพื่อพฒั นางาน
ในหน้าท่ีและพัฒนาบุคลากร เพอ่ื ใหก้ ารบรหิ ารงานมีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ลอยา่ งสงู สดุ และเกิด
ประโยชน์แก่ทางราชการเปน็ อย่างดี โดยขา้ พเจ้าพฒั นานวัตกรรมการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา ดังนี้

(1) การพัฒนาสถานศึกษาโดยใชน้ วตั กรรมในการบริหารงาน “5G-model” ข้าพเจ้า
ไดน้ ำแนวทางการบรหิ ารจัดการ 5G-model (ห้าจี โมเดล) มาใช้ในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา ดงั น้ี

5G-model (หา้ จี โมเดล)

(1) Good Governance >> การนำหลกั ธรรมาภบิ าลมาใช้ในการบรหิ ารจัดการ
(2) Good Team >> การพัฒนาทีมในการทำงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
(3) Good Philosophy >> การนำหลักปรชั ญาทด่ี ีมาใช้ในการบริหารจดั การ

(4) Good Activity (หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง)
(5) Good Student >> การออกแบบกจิ กรรมท่ีดีขบั เคล่อื นสถานศึกษา
>> การมุ่งหวังใหเ้ กิดคุณภาพแก่ผเู้ รียน

7

(2) การบรหิ ารจัดการตามรูปแบบ “BEST HAIKHAM” ข้าพเจ้านำแนวทางการบรหิ าร
จดั การ BEST HAIKHAM (เบสท์ ไหคำ) มาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา ดังนี้

BEST HAIKHAM (เบสท์ ไหคำ)

B = Board ทกุ คนมีโอกาสและมสี ว่ นรว่ มในการทำงาน
E = Efficiency มีประสทิ ธิภาพในการทำงาน
S = Service Mind จิตบรกิ าร เปย่ี มไปด้วยคณุ ภาพ
T = Transparency ความโปรง่ ใส และปลอดภยั ในการทำงาน

H = Human คน

A = Aim จุดมงุ่ หมาย

I = ICT / Information เทคโนโลยี / ประชาสัมพนั ธ์

K = Knowledge ความรู้ / การจดั การความรู้

H = Happy ความสขุ

A = Action การปรบั ปรงุ พัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง

M = Management การจัดการ

จากภายใต้รูปแบบการบรหิ ารจดั การดงั กลา่ ว อธบิ ายได้ดังนี้ (B = Board) ทุกคนมโี อกาส
และมสี ่วนร่วมในการทำงาน (E = Efficiency) ในการทำงานตอ้ งมุ่งเน้นให้มปี ระสิทธภิ าพ (S = Service
Mind) มีจติ ใจพร้อมให้บริการและเป็นไปดว้ ยคณุ ภาพ (T = Transparency) มคี วามโปร่งใส และปลอดภยั ใน
การทำงาน (H = Human) บุคลากรในโรงเรียนทุกคนเป็นบุคคลสำคัญทจ่ี ะทำให้ภารกิจในโรงเรยี นประสบ
ความสำเร็จ ดงั น้นั การพัฒนาบคุ ลากรทุกคนในโรงเรยี นจึงเป็นเครื่องมือสำคญั อนั ดับแรก การใชค้ นใหถ้ ูกกับ
งานและมอบหมายงานให้ถูกกบั คน รวมทง้ั ส่งเสริมการทำงานเป็นทมี (A = Aim) มีจดุ มงุ่ หมายในการพฒั นา
ร่วมกัน มีความเปน็ เอกภาพ มีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน มีเปา้ หมายท่ชี ดั เจนและมีความเป็นไปได้ในการ
ปฏบิ ัติ (I = ICT / Information) สนบั สนนุ ส่งเสริมใหค้ รูมีความรคู้ วามเข้าใจและสามารถใชเ้ ทคโนโลยี เพ่ือ
ประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย รวมทง้ั การใช้ในการบรหิ ารจัดการ รวมทงั้ มีการ
ประชาสัมพนั ธใ์ หผ้ ู้มสี ่วนได้เสียไดร้ บั ทราบร่วมกนั เพื่อสร้างเครือข่ายความรว่ มมือในการพัฒนาในดา้ นต่าง ๆ
(K = Knowledge) ส่งเสริมใหบ้ คุ ลากรพฒั นาตนเอง มกี ารจดั การความรแู้ ละแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ะหวา่ งกัน
เพ่ือพฒั นาผ้เู รยี นและองค์กร (H = Happy) สรา้ งบรรยากาศท่เี อ้ือต่อการทำงานและการเรียนรู้ ใหท้ ุกคนมี
ความสขุ กับการทำงาน ให้นกั เรยี นมีความสขุ กับการเรียนรู้ (A = Action) มีการปรบั ปรงุ และพัฒนาอยา่ ง
ต่อเนอ่ื ง โดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐานในการพฒั นา (M = Management) นำหลกั การ หลักวิชาการ ทฤษฎที างการ
บรหิ ารจดั การ มาบรู ณาการในการพฒั นาโรงเรยี นในด้านต่าง ๆ ตามสภาพบริบทอยา่ งต่อเนอื่ ง

8

4.3 การมีบทบาทเปน็ ผนู้ ำทางวชิ าการในวงการวิชาชีพ
ข้าพเจา้ ผ้ขู อรบั การประเมิน มีส่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมทางวชิ าการ การประชมุ อบรม

สมั มนาพัฒนาตนเอง มีโอกาสในการนำเสนอผลงานในทีป่ ระชมุ นอกจากนี้ ยังมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นา
เสริมสรา้ งภาวะผูน้ ำทางวิชาการแกผ่ ู้อนื่ โดยปฏบิ ัตหิ น้าทีใ่ นกิจกรรมหรือโอกาสทส่ี ำคัญตา่ ง ๆ เช่น

(1) เป็นคณะทำงานการเตรียมความพร้อมรองรบั สถานการณ์วิกฤตการณ์ สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

(2) เป็นวิทยากรอบรมผู้กำกบั ลูกเสือ จากสำนกั งานลูกเสือจังหวัดมหาสารคาม
(3) เป็นวทิ ยากรอบรมผู้กำกับลูกเสอื จากสำนกั งานลกู เสือจังหวดั กาญจนบรุ ี
(4) เป็นครแู ละบุคลากรแกนนำดา้ นคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี สำนกั งานเขตพ้นื ที่
การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2
(5) เป็นคณะกรรมการบริหารศนู ย์เครอื ขา่ ยสถานศกึ ษาที่ 13 หนองแปน
(6) เป็นคณะกรรมการในการดำเนนิ งานแข่งขันทักษะทางวิชาการ
(7) ผ่านการอบรมเชิงปฏิบตั ิการและพฒั นาศักยภาพผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2
(เอกสารหลักฐานอา้ งองิ หนา้ 11 , 64 - 69)
4.4 การรักษาช่ือเสยี ง ปกป้องศักดิ์ศรแี หง่ วิชาชพี และการยกย่องเชิดชูเกยี รติ
ขา้ พเจา้ ผู้ขอรบั การประเมิน ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี เพื่อรกั ษาช่ือเสยี ง และ
สมศกั ด์ิศรีของการเป็นครู รว่ มกิจกรรมตา่ ง ๆ เช่น เขา้ รว่ มกจิ กรรมวันครู สง่ เสรมิ บุคลากรใหไ้ ดร้ ับการยกย่อง
เชิดชูเกยี รติ สนับสนุนการจัดกิจกรรมโครงการตา่ ง ๆ ตามนโยบายของผบู้ ังคับบัญชา และหน่วยงานต้นสงั กดั
เชน่
(1) เข้ารว่ มประชมุ เชงิ ปฏิบัติการและพัฒนาศักยภาพผู้บริหารสถานศกึ ษา สงั กัดสำนักงาน
เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2
(2) เขา้ รว่ มงานมหกรรมความเป็นเลิศทางวิชาการ ประจำปีการศกึ ษา 2562 สำนักงานเขต
พื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2
(3) เข้ารว่ มจดั นิทรรศการในการประเมินศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงด้านการศึกษา (ศรร.) โรงเรยี นบา้ นหนองไห อำเภอมัญจาครี ี จงั หวัดขอนแกน่ สำนักงานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2
(4) เขา้ ร่วมศึกษาดูงานแลกเปลีย่ นเรียนรูโ้ รงเรยี นบา้ นราษฎรพ์ ัฒนา สำนกั งานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 3
(5) เข้ารว่ มจัดนิทรรศการในการประเมนิ ศูนย์การเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งด้านการศึกษา (ศรร.) โรงเรยี นมญั จาศกึ ษา อำเภอมญั จาคีรี จังหวดั ขอนแกน่ สำนกั งานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษามธั ยมศึกษาขอนแก่น
(เอกสารหลักฐานอา้ งอิง หนา้ 11 , 70 - 74)
4.5 การเสริมสรา้ งปลูกจิตสำนึกทด่ี ีแกผ่ ู้เรยี น ชุมชน สังคม
ขา้ พเจ้าผ้ขู อรับการประเมิน มสี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ ป็นการรณรงคแ์ ละสร้าง
จติ สำนกึ ที่ดีให้กบั นักเรยี น ชุมชน และสงั คม ในการรกั ษาขนบธรรมเนยี มประเพณีทอ้ งถนิ่ การรณรงคร์ กั ษา
ส่งิ แวดล้อม และการอนรุ ักษ์พลังงาน รณรงค์ป้องกันยาเสพติด ใหน้ กั เรียนและชมุ ชนได้เห็นคณุ ค่าความสำคญั
ของการจดั กจิ กรรมรวมถงึ การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมน้นั เช่น

9

(1) โครงการพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมนักเรยี น
(2) โครงการรักการอ่าน
(3) โครงการสง่ เสริมความเป็นเลศิ นกั เรียน
(4) โครงการเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ
(5) โครงการวันสำคัญทางศาสนา
(6) โครงการประชาธิปไตยในโรงเรยี น
(เอกสารหลักฐานอา้ งองิ หน้า 11 , 75 - 80)
5. ความรบั ผดิ ชอบในวิชาชีพ
5.1 การเอาใจใส่ ถา่ ยทอดความรู้ หรือสง่ เสริมการแสวงหาความรูโ้ ดยไมบ่ ิดเบือน ปิดบังหวงั
สิ่งตอบแทน
ข้าพเจ้าผขู้ อรับการประเมนิ ไดร้ ับการแตง่ ต้ังให้เปน็ วิทยากรในการจดั อบรมบุคลากร
ขา้ พเจา้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าท่ีการสอนอยา่ งเตม็ ความสามารถ เตม็ เวลา เต็มหลกั สตู ร โดยมาปฏิบตั ิงานก่อนเวลา
และกลับหลงั เวลาเลกิ ทำงาน จัดวางแผนการปฏิบัตงิ านอย่างเปน็ ระบบ และนอกจากนี้ข้าพเจา้ ไดส้ ง่ เสริมการ
ดำเนินงาน ดงั น้ี
(1) ส่งเสรมิ ใหค้ รจู ัดทำแผนการจดั การเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ จัดกระบวนการ
เรยี นรู้ เนอื้ หาสาระและกจิ กรรมให้สอดคล้องกับความถนัดและความสนใจของผเู้ รยี น ปลกู ฝงั คุณธรรม
ค่านิยมท่ดี ีงาม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ จดั บรรยากาศสิง่ แวดล้อมและแหลง่ เรียนรู้ใหเ้ อ้ือตอ่ การจัด
กระบวนการเรียนรู้ นำภูมิปญั ญาท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วมในการจดั การเรยี นการสอนตามความเหมาะสม มี
การนิเทศการเรยี นการสอนแกค่ รูผ้สู อน โดยเนน้ การนเิ ทศท่รี ว่ มมือช่วยเหลือกนั แบบกัลยาณมติ ร ส่งเสรมิ ให้มี
การพัฒนาครูเพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
(2) ส่งเสริมใหค้ รผู ลติ พัฒนาส่อื และนวัตกรรมการเรยี นการสอน จัดหาสื่อและเทคโนโลยี
เพื่อใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน ประสานความรว่ มมือในการผลติ จัดหา พฒั นาและการใช้ส่ือนวัตกรรมกบั
สถานศึกษา บคุ คล ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงาน และสถาบันอื่น
(3) การพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ โดยสำรวจแหล่งเรยี นร้ทู งั้ ในสถานศึกษา ชุมชน ทอ้ งถ่นิ ใกล้เคียง
จัดต้งั และพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ สนบั สนนุ ใหค้ รูใชแ้ หลง่ การเรียนรทู้ ง้ั ในและนอกโรงเรยี น โดยครอบคลมุ ภมู ิ
ปัญญาท้องถิ่น
(4) การนิเทศและวัดผลประเมนิ ผล ดำเนนิ การนิเทศการเรียนการสอนในรปู แบบท่ี
หลากหลายเหมาะสมกบั สถานศึกษา มีการแนะแนวการศึกษา โดยเชอ่ื มโยงกบั ระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน
กำหนดระเบยี บเก่ียวกบั การวัดผลและประเมินผลของสถานศึกษา ส่งเสรมิ ใหค้ รจู ดั ทำการวัดผลและ
ประเมนิ ผลแตล่ ะรายวชิ า ให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษา โดยเน้นการประเมินตามสภาพจริง จากการ
ปฏิบตั ิและผลงานตามแนวทางทกี่ ระทรวงศึกษาธิการกำหนด พฒั นาเครื่องมือวัดและประเมนิ ผลใหไ้ ด้
มาตรฐาน
(5) การสง่ เสริมและการจัดการศึกษาใหก้ บั ผูเ้ รยี นทุกกลุม่ เป้าหมาย สนับสนุนให้
ชุมชนเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย จัดให้มแี หล่งเรียนรขู้ อง
ชุมชน การวิจยั เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ส่งเสริมให้ครูศึกษาผ้เู รยี นเป็นรายบุคคลเพ่ือออกแบบการจัดการ
เรยี นรู้ไดต้ รงกบั ความต้องการของผเู้ รยี น และส่งเสรมิ ให้ครูผู้สอนวิจยั ในชั้นเรียนเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
(เอกสารหลักฐานอา้ งองิ หนา้ 11 , 81)

10

5.2 การเอาใจใส่ช่วยเหลือผู้เรียนและผรู้ ับบรกิ ารเตม็ ความสามารถตามหลักวิชาชีพอยา่ ง
สม่ำเสมอเท่าเทียมกนั

ขา้ พเจา้ ผขู้ อรบั การประเมิน ใหค้ วามรกั ความเมตตากรณุ าตอ่ นกั เรียน เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื
สง่ เสริมใหก้ ำลงั ใจแก่นกั เรียนทุกคนดว้ ยความบรสิ ทุ ธใิ์ จ ดำเนนิ งานตามระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน มกี าร
ออกเยย่ี มบา้ นนักเรยี น พบปะพูดคยุ กบั ผปู้ กครอง ในการช่วยเหลอื และส่งเสรมิ นักเรียน จัดทำข้อมูลนกั เรยี น
ในท่ีปรกึ ษาอยา่ งครบถว้ นทุกด้าน และทำความรูจ้ กั คุ้นเคยกบั ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล เมื่อเกดิ ปญั หาจะแก้ไข
ทันที ไม่ลำเอยี ง มีความยตุ ิธรรมให้แกผ่ ู้เรยี นทุกคน ต้งั ใจดูแลอบรมให้ผเู้ รียนเป็นคนดี มีความประพฤติท่ีดงี าม
และรจู้ กั ปรบั ปรงุ เปลีย่ นแปลงตนเองไปในแนวทางท่ดี ี เพอ่ื อยูใ่ นสงั คมได้อย่างมีความสขุ ส่งเสรมิ พัฒนาการ
ผูเ้ รยี นให้สามารถแก้ปญั หาได้ด้วยตนเอง

(เอกสารหลักฐานอ้างอิง หน้า 11 , 82 - 86)
5.3 การศึกษา คน้ คว้า รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ความรใู้ หม่ นวัตกรรมในการพฒั นางานในหน้าที่

ข้าพเจา้ ผขู้ อรบั การประเมิน ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลแลว้ สรา้ งสรรคค์ วามรู้ พัฒนางานในหน้าที่
โดยการเขา้ ร่วมอบรม สัมมนา อบรมเชิงปฏิบัติการ ศึกษาดูงานและนำความร้ทู ่ีไดม้ าพฒั นางานใหม้ ี
ประสทิ ธิภาพ ทำให้คณุ ภาพผลงานมปี ระสิทธผิ ล

(เอกสารหลักฐานอา้ งอิง หนา้ 11 , 87)
5.4 การประพฤตติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชีพและแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณ
ของวิชาชีพ

ขา้ พเจ้าผูข้ อรับการประเมนิ มวี ินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชพี บุคลิกภาพ และ
วิสยั ทัศน์ ใหท้ ันต่อการพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมืองอยเู่ สมอ เขา้ ศกึ ษาอบรมสัมมนาอยู่
เสมอ มีความรักศรัทธา ซ่อื สัตย์สจุ ริต รบั ผิดชอบตอ่ วิชาชีพ และเปน็ สมาชิกท่ีดีขององค์กรวชิ าชีพ ดังน้ี

(1) รัก เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจแก่ศิษย์ และผ้รู ับบริการ ตามบทบาท
หนา้ ท่โี ดยเสมอหนา้

(2) ส่งเสริมใหเ้ กดิ การเรียนรู้ ทักษะ และนิสยั ท่ีถกู ต้องดงี ามแก่ศิษย์ และผูร้ ับบริการ ตาม
บทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ดว้ ยความบรสิ ุทธใิ์ จ

(3) ประพฤติปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอย่างที่ดี ทง้ั ทางกาย วาจา และจิตใจ
(4) ไมก่ ระทำตนเป็นปฏิปักษ์ตอ่ ความเจรญิ ทางกาย สตปิ ัญญา จติ ใจ อารมณ์ และสังคมของ
ศษิ ย์ และผรู้ บั บริการ
(5) ได้ช่วยเหลอื เกอื้ กลู ซง่ึ กนั และกนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยยึดมนั่ ในระบบคณุ ธรรม สรา้ งความ
สามัคคีในหมคู่ ณะ จนเปน็ ทย่ี อมรับจากทุกฝ่าย
(6) ประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นผู้นำในการอนุรกั ษ์และพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม ศาสนา
ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ส่งิ แวดล้อม รักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวม และยึดมน่ั ในการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุขอยู่เสมอ
จากการประพฤตติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชีพและแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณ
ของวชิ าชพี ท่ีกลา่ วมาขา้ งตน้ ส่งผลให้ข้าพเจา้ ผู้ขอรับการประเมนิ ได้รับรางวลั ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตทิ ส่ี ำคญั ดังน้ี
1) โล่รางวัลและเกียรตบิ ตั รได้รับการคัดเลือกเป็นเด็กและเยาวชนดีเด่นแหง่ ชาติ ประจำปี 2564 จาก
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ 2) เกียรติบัตรได้รบั เครือ่ งหมายเชิดชูเกยี รติ “หน่ึงแสนครูดี” ประจำปี
2558 ในฐานะเป็นผ้ปู ฏบิ ตั ิตนตามจรรยาบรรณวชิ าชีพทางการศึกษา จากครุ ุสภา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
(เอกสารหลักฐานอ้างองิ หน้า 11 , 88 - 90)

11

5.5 การมจี ิตอาสา จติ สาธารณะ และม่งุ ประโยชน์ส่วนรวม
ขา้ พเจา้ ผขู้ อรับการประเมิน ใหค้ วามรว่ มมอื ช่วยเหลอื ในกิจกรรม งานโครงการต่าง ๆ ที่

ชมุ ชนหรือศูนย์พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาหรือสำนักงานเขต หรอื งานนโยบายจัดอย่างเต็มใจ ปฏบิ ัตงิ านตามที่
ไดร้ ับมอบหมายอยา่ งเต็มความสามารถ ใหส้ ำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ผู้ร่วมงาน ตามความ
เหมาะสมทีเ่ ราจะช่วยได้ โดยไม่ตอ้ งคอยใหเ้ ขาขอความช่วยเหลือ เหน็ ประโยชน์สว่ นรวม มากกวา่ ประโยชน์
ส่วนตวั ร่วมกจิ กรรมของชุมชนอย่างสมำ่ เสมอ อํานวยความสะดวกแก่หน่วยงานราชการอื่นๆ ทมี่ าขอใช้
บรกิ าร

(เอกสารหลักฐานอ้างอิง หนา้ 11 , 91 - 92)

ขอรบั รองว่าขอ้ มูลดังกลา่ วข้างต้นถกู ต้อง และเป็นความจริง

(ลงชื่อ).........................................................ผู้ขอรบั การประเมนิ
(นายยทุ ธศาสตร์ เพยี รไธสง)

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา วทิ ยฐานะ ผูอ้ ำนวยการชำนาญการ
วนั ท่ี 3 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564

(ลงช่ือ).........................................................ผู้รบั รอง
(........................................................)

ตำแหนง่ ....................................................................................
วนั ท่ี........เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564
ผบู้ งั คับบัญชา

(ลงช่ือ).........................................................ผู้รับรอง
(นายเรงิ ฤทธิ์ แสนพงษ์)

ตำแหนง่ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานโรงเรียนบา้ นหนองไห
วนั ที่........เดอื น มนี าคม พ.ศ. 2564

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานโรงเรยี นบ้านหนองไห

12

ภาคผนวก

13

1. การมีวินัย
1.1 การมีวินยั ในตนเอง ยอมรบั และถือปฏบิ ัตติ ามกฎ กตกิ า มารยาท ขนบธรรมเนยี ม และแบบ

แผนอันดีงามของสังคม

14

1. การมวี นิ ัย
1.2 การรักษาและเสริมสรา้ งวินยั ในตำแหนง่ หน้าท่รี าชการ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบแบบ

แผนของทางราชการ

15

1. การมวี นิ ัย
1.2 การรักษาและเสริมสรา้ งวินยั ในตำแหนง่ หน้าท่รี าชการ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบแบบ

แผนของทางราชการ

16

1. การมวี นิ ัย
1.2 การรักษาและเสริมสรา้ งวินยั ในตำแหนง่ หน้าท่รี าชการ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบแบบ

แผนของทางราชการ

17

1. การมวี นิ ัย
1.2 การรักษาและเสริมสรา้ งวินยั ในตำแหนง่ หน้าท่รี าชการ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบแบบ

แผนของทางราชการ

18

1. การมวี นิ ัย
1.2 การรักษาและเสริมสรา้ งวินยั ในตำแหนง่ หน้าท่รี าชการ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบแบบ

แผนของทางราชการ

19

1. การมวี นิ ัย
1.2 การรักษาและเสริมสรา้ งวินยั ในตำแหนง่ หน้าท่รี าชการ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบแบบ

แผนของทางราชการ

20

1. การมวี นิ ัย
1.2 การรักษาและเสริมสรา้ งวินยั ในตำแหนง่ หน้าท่รี าชการ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบแบบ

แผนของทางราชการ

21

1. การมวี นิ ัย
1.2 การรักษาและเสริมสรา้ งวินยั ในตำแหนง่ หน้าท่รี าชการ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบแบบ

แผนของทางราชการ

22

1. การมวี นิ ัย
1.2 การรักษาและเสริมสรา้ งวินยั ในตำแหนง่ หน้าท่รี าชการ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบแบบ

แผนของทางราชการ

23

1. การมีวนิ ัย
1.3 การตรงต่อเวลา การอุทิศเวลาใหแ้ ก่ทางราชการและผเู้ รยี นอย่างต่อเนือ่ ง

24

1. การมวี ินัย
1.4 ความซื่อสัตย์ สุจรติ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี

ผลประโยชนท์ ับซ้อน

25

1. การมวี ินัย
1.4 ความซื่อสัตย์ สุจรติ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี

ผลประโยชนท์ ับซ้อน

26

1. การมวี ินัย
1.4 ความซื่อสัตย์ สุจรติ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี

ผลประโยชนท์ ับซ้อน

27

1. การมวี ินัย
1.4 ความซื่อสัตย์ สุจรติ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี

ผลประโยชนท์ ับซ้อน

28

1. การมวี ินัย
1.4 ความซื่อสัตย์ สุจรติ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี

ผลประโยชนท์ ับซ้อน

29

1. การมวี ินัย
1.4 ความซื่อสัตย์ สุจรติ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี

ผลประโยชนท์ ับซ้อน

30

1. การมวี ินัย
1.4 ความซื่อสัตย์ สุจรติ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี

ผลประโยชนท์ ับซ้อน

31

1. การมวี ินัย
1.4 ความซื่อสัตย์ สุจรติ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี

ผลประโยชนท์ ับซ้อน

32

1. การมวี ินัย
1.4 ความซื่อสัตย์ สุจรติ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การรกั ษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่มี

ผลประโยชนท์ ับซ้อน

33

1. การมวี นิ ัย
1.5 การรกั ษาความสามัคคี มีนำ้ ใจ เออื้ เฟ้ือเผ่อื แผ่ ต่อเพ่อื นรว่ มงาน องคก์ ร และชุมชน

34

1. การมวี นิ ัย
1.5 การรกั ษาความสามัคคี มีนำ้ ใจ เออื้ เฟ้ือเผ่อื แผ่ ต่อเพ่อื นรว่ มงาน องคก์ ร และชุมชน

35

2. การประพฤติปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
2.1 ความอตุ สาหะ ขยัน อดทน มุ่งมั่นและรบั ผิดชอบต่อผลสัมฤทธ์ิของงาน โดยยึดหลกั ประหยัด

คุม้ ค่า มีประสิทธภิ าพ

36

2. การประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ี
2.1 ความอตุ สาหะ ขยัน อดทน มุ่งม่นั และรบั ผิดชอบต่อผลสมั ฤทธข์ิ องงาน โดยยดึ หลักประหยัด

คมุ้ ค่า มปี ระสิทธภิ าพ

37

2. การประพฤติปฏิบัตติ นเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี
2.2 การยดึ ม่นั ในคุณธรรม จรยิ ธรรม มีความศรทั ธาและปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนา

38

2. การประพฤติปฏิบัตติ นเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี
2.2 การยดึ ม่นั ในคุณธรรม จรยิ ธรรม มีความศรทั ธาและปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนา

39

2. การประพฤติปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี
2.3 การยดึ ม่ันในหลกั นติ ิธรรม ยืนหยัดกระทำในสงิ่ ท่ถี กู ต้อง เปน็ ธรรมและชอบด้วยกฎหมาย

40

2. การประพฤติปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี
2.3 การยดึ ม่ันในหลกั นติ ิธรรม ยืนหยัดกระทำในสงิ่ ท่ถี กู ต้อง เปน็ ธรรมและชอบด้วยกฎหมาย

41

2. การประพฤติปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี
2.3 การยดึ ม่ันในหลกั นติ ิธรรม ยืนหยัดกระทำในสงิ่ ท่ถี กู ต้อง เปน็ ธรรมและชอบด้วยกฎหมาย

42

2. การประพฤติปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี
2.3 การยดึ ม่ันในหลกั นติ ิธรรม ยืนหยัดกระทำในสงิ่ ท่ถี กู ต้อง เปน็ ธรรมและชอบด้วยกฎหมาย

43

2. การประพฤติปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอย่างท่ดี ี
2.4 การยดึ มั่นในการปกครองระบบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ และวางตัว

เปน็ กลางทางการเมือง

44

2. การประพฤติปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอย่างท่ดี ี
2.4 การยดึ มั่นในการปกครองระบบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ และวางตัว

เปน็ กลางทางการเมือง

45

2. การประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
2.5 การมีส่วนร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และส่ิงแวดล้อม

46

2. การประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
2.5 การมีส่วนร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และส่ิงแวดล้อม

47

2. การประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
2.5 การมีส่วนร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และส่ิงแวดล้อม

48

2. การประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
2.5 การมีส่วนร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และส่ิงแวดล้อม

49

2. การประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
2.5 การมีส่วนร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และส่ิงแวดล้อม


Click to View FlipBook Version