The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือแนวทางการบริหารจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนเทศบาลหัวดง (ป.ฟักอังกูร)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือแนวทางการบริหารจัดการเรียนการสอน โรงเรียนเทศบาลหัวดง (ป.ฟักอังกูร) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

คู่มือแนวทางการบริหารจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนเทศบาลหัวดง (ป.ฟักอังกูร)

แนวทางการบริหารจดั การเรียนการสอน
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ปกี ารศกึ ษา 2564

โรงเรยี นเทศบาลหวั ดง(ป.ฟักอังกรู ) ตาบลแมพ่ ลู อาเภอลบั แล จงั หวัดอตุ รดติ ถ์
สงั กดั กองการศึกษา เทศบาลตาบลหัวดง
กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
กระทรวงมหาดไทย

คานา

คู่มือแนวทางการบริหารจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2564 ภาคเรียนท่ี 2 โรงเรียน
เทศบาลหัวดง(ป.ฟกั องั กูร) เป็นเอกสารท่จี ัดทาข้ึนเพ่ือให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากร
ในโรงเรยี นไดเ้ ขา้ ใจในบทบาทหน้าทีข่ องตนเอง นาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบัติได้อย่าง
ถกู ตอ้ งทาให้เกดิ ผลสาเร็จตามจุดมุง่ หมายของโรงเรียนไดอ้ ยา่ งดียิ่ง

หวังเป็นอย่างย่ิงว่านักเรียนผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนจะได้รับประโยชน์
จากคมู่ ือน้ี

โรงเรยี นเทศบาลหัวดง(ป.ฟักอังกรู )

สารบญั หน้า
1
เร่อื ง
นโยบายและแนวทางการบรหิ ารจัดการเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาด 2
ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนเทศบาลหวั ดง(ป.ฟักองั กรู ) 5
การเตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียน 9
รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนของโรงเรียน 10
มาตรการการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรงเรียนเทศบาลหวั ดง(ป.ฟักองั กรู ) 11
มาตรการและแนวทางในการดแู ลนกั เรียนของผู้ปกครอง 16
มาตรการและแนวทางในการดแู ลดา้ นอนามัยและสง่ิ แวดล้อมของโรงเรยี น 17
แนวทางการใชส้ ระว่ายนา้ ในโรงเรียน 18
แผนรองรับการจดั การเรียนการสอนสาหรับนักเรยี นปว่ ยกกั ตวั หรอื กรณีปดิ โรงเรียน 19
แนวทางปฏบิ ตั กิ ารส่ือสารเพื่อลดการรังเกยี จและการตตี ราทางสังคม (Social Stigma) 20
แนวทางปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการจดั การความเครยี ดของนกั เรียน ครู และบุคลากร 23
แผนรองรบั กรณเี กดิ การระบาดในสถานศกึ ษา 24
ข้อปฏิบตั ติ าม 6 มาตรการหลักในสถานศกึ ษาปอ้ งกนั COVID-19 25
ภาคผนวก 26
การบรหิ ารจัดการโรงเรียนในการเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรียน 29
มิติท่ี 1 ความปลอดภยั จากการลดการแพรเ่ ชอ้ื โรค 30
มิตทิ ี่ 2 การเรียนรู้ 31
มิติที่ 3 การครอบคลุมถงึ เด็กดอ้ ยโอกาส 32
มติ ทิ ่ี 4 สวสั ดิภาพและการคมุ้ ครอง 33
มติ ิที่ 5 นโยบาย 34
มติ ิท่ี 6 การบรหิ ารการเงิน 35
ความรเู้ กีย่ วกบั โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 36
ความร้เู กีย่ วกบั วคั ซนี 37
สถานศกึ ษากบั สถานการณโ์ รคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 38
รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน 39
บทบาทของนกั เรียน 40
บทบาทในการสอนของครู 43
การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน 44
แผนผังการจดั แถวเว้นระยะห่าง กิจกรรมหนา้ เสาธง 45
ไทยชนะ โรงเรยี นเทศบาลหัวดง(ป.ฟกั องั กรู ) 49
คาสั่งแต่งตงั้ คณะทางานปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19 52
คาส่งั แตง่ ตง้ั ครผู ดู้ แู ลควบคมุ และนกั เรยี นแกนนาดา้ นสุขภาพ
ใบประกาศรับรองสถานประกอบการสถานศกึ ษา ปอ้ งกันโรคโควดิ 19

นโยบายและแนวทางการบรหิ ารจัดการเรยี นการสอน
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019

(COVID-19) ในการเปดิ ภาคปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนเทศบาลหวั ดง(ป.ฟกั อังกูร)

สังกัดเทศบาลตาบลหวั ดง อ.ลับแล จ.อตุ รดติ ถ์

การเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน
วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2564

1. สถานศึกษาประเมินความพรอ้ มกอ่ นเปดิ เรียนผา่ นระบบ Thai Stop Covid
Plus (TSC+)

2. ทากจิ กรรมรว่ มกนั ในรปู แบบ Small Bubble หลีกเสยี่ งการทากจิ กรรมข้าม
กลมุ่ กัน และจดั นกั เรยี นในหอ้ งเรยี นขนาดปกติ (6 x 8 เมตร) ไม่เกนิ 25 คน
หรือจัดใหเ้ ว้นระยะหา่ งระหวา่ งนกั เรยี นในหอ้ งเรียนไมน่ ้อยกว่า 1.5 เมตร

3. จดั ระบบการให้บรกิ ารอาหารสาหรบั นักเรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
ตามหลกั สขุ าภิบาลอาหารและหลกั โภชนาการ

4. จดั การด้านอนามัยสงิ่ แวดล้อมใหไ้ ด้ตามเกณฑม์ าตรฐาน ได้แก่ การระบาย
อากาศภายในอาคาร การทาความสะอาด คณุ ภาพน้าอปุ โภคบรโิ ภค และ
การจัดเกบ็ ขยะ

5. จัดให้มสี ถานท่แี ยกกักตัวในโรงเรียน School Isolation แผนเผชญิ เหตุ
สาหรบั รองรบั การดแู ลรกั ษาเบ้อี งต้น กรณนี กั เรียน ครู บคุ ลากรมกี ารตดิ เช้ือโค
วดิ -19 หรือผลตรวจ ATK เป็นบวก โดยมกี ารซักซอ้ มอย่างเคร่งครดั

6. ควบคมุ ดแู ลการเดนิ ทางจากบา้ นไปโรงเรียน (Seal Route)
กรณรี ถรบั -สง่ นักเรยี น รถสว่ นบคุ คล และพาหนะสาธารณะ
(สาหรบั โรงเรียนไป-กลบั )

7. จดั ใหม้ สี มดุ ทะเบียนประวัตกิ ารเขา้ ออกโรงเรยี น (School Pass)

ข้อมูลจากคมู่ ือการปฏิบตั ิสาหรับสถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรยี น
วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2564

การเตรยี มความพร้อมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการป้องกันโรคโควิด -19 ในสถานศกึ ษา
1. การระบายอากาศภายในอาคาร

- เปดิ ประตูหน้าต่างระบายอากาศก่อนและหลักการใชง้ าน อย่างนอ้ ย 15 นาที ควรมหี น้าตา่ ง
หรอื ชอ่ งลม อย่างนอ้ ย 2 ด้านของห้องให้อากาศถา่ ยเทเข้าสู่ภายในอาคาร

- กรณีใช้เคร่ืองปรับอากาศ ควรระบายอากาศในอาคารกอ่ นและหลังการใชง้ าน อยา่ งน้อย 2
ชัว่ โมง หรอื เปดิ ประตูหน้าตา่ งระบายชว่ งพกั เท่ยี งหรือช่วงทีไ่ มม่ กี ารเรยี นการสอน และทาความ
สะอาดสม่าเสมอ
2. การทาความสะอาด

-ทาความสะอาดวสั ดุส่งิ ของด้วยผงซกั ฟอกหรอื น้ายาทาความสะอาด และล้างมอื ด้วยสบู่
-ทาความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคบนพ้นื ผวิ ทั่วไป อุปกรณส์ มั ผสั ร่วม ดว้ ยแอลกฮอล์ 70% นาน
10 นาที อย่างน้อยวันละ 2 ครงั้
3. คุณภาพนา้ อปุ โภคบริโภค
-ตรวจดูคุณลักษณะทางกายภาพ สี กลิน่ และไมม่ สี ง่ิ เจอื ปน
-ดูแลความสะอาดจดุ บรกิ ารน้าดม่ื และภาชนะบรรจุน้าด่ืมทกุ
-ตรวจคุณภาพน้าเพือ่ หาเชอื้ แบคทเี รียดว้ ยชุดตรวจภาคสนาม (อ 11) ทุก 6 เดือน
4. การจัดการขยะ
-มีถงั ขยะแบบมีฝาปดิ ประจาหอ้ งเรยี น อาคารเรยี น หรอื บริเวณโรงเรียน และมีการคัดแยก-ลด
ปรมิ าณขยะ ตามหลกั 3R (Reduce Reuse Recycle)
-กรณขี ยะเกดิ จากผสู้ ัมผสั เสี่ยงสูง/กกั ตัวกนั หรอื หน้ากากอนามัยท่ใี ชแ้ ล้ว นาใสถ่ ุงก่อนทง้ิ ให้
ราดดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% ลงในถงุ มดั ปากถงุ ใหแ้ น่นซอ้ นถุงอกี 1 ชนั้ ปดิ ปากถงุ ให้สนทิ และฉดี พน่
บริเวณปากถงุ ดว้ ยสารฆา่ เชอื้ แล้วทงิ้ ในขยะท่ัวไป

ขอ้ มูลจากคมู่ ือการปฏบิ ตั สิ าหรับสถานศกึ ษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาคเรียน
วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2564

จดั ใหม้ มี าตรการสุขอนามยั สว่ นบคุ คล เพือ่ ป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19
โดยยึดตาม 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) ดงั นี้

6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) คือ
1. D –Distancing เวน้ ระยะหา่ ง
2. M –Mask wearing สวมหน้ากาก
3. H –Hand washing ลา้ งมือ
4. T -Testing คดั กรองวัดไข้
5. R –Reducing ลดการแออัด
6. C –Cleaning ทาความสะอาด

6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) คอื
1. S –Self-care ดแู ลตนเอง
2. S –Spoon ใช้ชอ้ นกลางส่วนตวั
3. E -Eating กนิ อาหารปรงุ สกุ ใหม่
4. T –Track ลงทะเบยี นเขา้ ออกโรงเรยี น
5. C –Check สารวจตรวจสอบ
6. Q -Quarantine กักกนั ตนเอง

ข้อมลู จากคู่มือการปฏบิ ตั ิสาหรบั สถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนของโรงเรียน
(จดั การเรียนการสอน ตามแบบประเมนิ คมู่ ือ
ปฏบิ ัตสิ าหรับสถานศึกษา ในการป้องกนั การแพร่

ระบาดของโรคโควิด 19)

รปู แบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน

มีการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ การเรียนในช้ันเรียน
(On-Site) โดยการขยายห้องเรียน ที่มีนักเรียนเกินจานวนตาม
มาตรการ และจัดการเรียนการสอนให้มีการเว้นระยะห่าง ทาง
สงั คม (Social Distancing) ไดอ้ ย่างสะดวก ภายใต้
“ ชีวิตวิถีใหม่ ” (New Normal) และปรับรูปแบบการจัดการ
เรียนการสอนแบบปกติในชั้นเรียน โดยเว้นระยะห่างระหว่าง
บคุ คล ในการทากิจกรรมไมน่ ้อยกวา่ 1 เมตร

โดยพิจารณารูปแบบให้มีความเหมาะสม และความพร้อม
ของสถานศึกษา ต้องปฏิบัติ ดงั นี้

1. การเรยี นผา่ นโทรทัศน์ (On Air)
2. การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online)
3. การเรียนผา่ นหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand)
4. การจดั การเรยี นการสอนแบบ ( ON Demand)

ข้อมลู จากคู่มือการปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

รปู แบบการจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี น

ระดบั ชนั้ อนุบาล

จัดการเรยี นการสอนแบบปกติ การเรียนในช้ันเรียน (On-Site) โดยการ
ขยายห้องเรยี น ทม่ี นี ักเรยี นเกนิ จานวนตามมาตรการ และจัดการเรียนการสอน
ใหม้ กี ารเวน้ ระยะหา่ ง ทางสังคม (Social Distancing) ไดอ้ ย่างสะดวก ภายใต้
“ ชีวิตวิถีใหม่ ” (New Normal) และปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
แบบปกตใิ นชั้นเรียน โดยเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล ในการทากิจกรรมไม่น้อย
กวา่ 1 เมตร

- นักเรียนช้นั อนุบาล 1 ขยายห้องเรยี น จานวนนกั เรียน หอ้ งเรียนละ
15 คน จานวน 2 ห้องเรียน ครู 1 คนต่อ 1 ห้องเรียน เรียนตามปกติ อาคาร
ป.ฟักอังกูร 1

- นักเรียนช้ันอนุบาล 2 ขยายพื้นที่ห้องเรียน (ห้องกิจกรรม ขนาด
120 ตารางเมตร) จานวนนกั เรียน 15 คน จานวน 2 หอ้ งเรียน ครู 1 คนต่อ 1
ห้องเรยี น หอ้ งเรียนตามปกติ อาคาร ป.ฟักองั กูร 1

- นกั เรยี นช้ันอนุบาล 3 ขยายห้องเรยี น จานวนนักเรียน หอ้ งเรียนละ
23 คน จานวน 2 ห้องเรียน เรียนตามปกติ อาคาร ป.ฟักอังกูร 7 ช้ัน 2 ครู 1
คนต่อ 1 ห้องเรียน โดยจะต้องมีการปรับปรุงอาคารเรียนให้มีความปลอดภัย
เหมาะสมสาหรบั เดก็ อนบุ าล

- รวมหอ้ งเรียนช้ันอนบุ าล 1-3 ทงั้ หมด จานวน 6 ห้องเรยี น
ต่อจานวนครู 6 คน (นกั เรยี น 111 คน)

ขอ้ มูลจากคู่มือการปฏิบตั ิสาหรับสถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียน

ระดบั ชั้นประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา

จดั การเรียนการสอนแบบปกติ การเรียนในชัน้ เรยี น (On-Site)
โดยการขยายหอ้ งเรียน ท่ีมีนกั เรียนเกินจานวนตามมาตรการเว้นระยะห่าง ให้มี
จานวนนักเรียนห้องเรียนละ 20-25 คน และจัดการเรียนการสอนให้มีการเว้น
ระยะหา่ ง ทางสงั คม (Social Distancing) ไดอ้ ยา่ งสะดวก ภายใต้
“ ชีวิตวิถีใหม่ ” (New Normal) และปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
แบบปกติในช้ันเรียนผสมผสานการใช้สื่อออนไลน์ ตามความเหมาะสมและ
ศกั ยภาพของผู้เรียน ไม่เกินวันละ 1-2 ชั่วโมง โดยเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล
ในการทากจิ กรรมไมน่ ้อยกวา่ 1 เมตร

- รวมห้องเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-6 ท้ังหมด จานวน 9 ห้องเรียน
ต่อจานวนครู 20 คน (นกั เรยี น 212 คน)

- รวมหอ้ งเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 ท้ังหมด จานวน 3 ห้องเรยี น
ตอ่ จานวนครู 3 คน (นักเรยี น 52 คน)

วนั จันทร์ ท่ี ๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔

ข้อมลู จากคู่มอื การปฏิบตั สิ าหรับสถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

มาตรการการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19)

โรงเรียนเทศบาลหัวดง(ป.ฟักองั กรู )

1. มีการคัดกรองวัดไข้ ครู นักเรียน บุคลากร และผู้มาติดต่อราชการทุกคน
อย่างเครง่ ครดั

2. ครู นักเรยี น บุคลากร และผมู้ าติดต่อราชการ ต้องสวมใสห่ น้ากากอนามัย
หรอื หนา้ กากผ้าตลอดเวลาเมือ่ อย่ใู นโรงเรยี น

3. จัดให้มีจุดล้างมือด้วยสบู่เหลว หรือเจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ ทั้ง
บริเวณหน้าประตูทางเข้าโรงเรียน หน้าอาคารเรียน และจุดรับประทาน
อาหาร

4. จัดให้มีการเว้นระยะห่างในห้องเรียน เน้นจัดการเรียนการสอน ใน
หอ้ งเรยี นเดยี วกนั ตลอดทั้งวัน

5. เน้นให้มีการทาความสะอาด พ้ืนผิวสัมผัสต่างๆ ท่ีใช้ร่วมกัน จัดกลุ่ม
สลบั กันใชง้ านเพื่อชว่ ยลดการสมั ผัสรว่ มกนั จานวนมาก

6. ลดความแออดั ไมจ่ ัดกิจกรรมที่เกดิ การรวมกลุ่มของนักเรียนจานวนมาก
7. จัดให้มีการอบรมให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติตน แก่ครู บุคลากร

นักเรียนและผู้ปกครอง เพื่อรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019(COVID 19) โดยบุคลากรสาธารณสขุ
8. ส่งเสริมให้ผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมกับโรงเรียน ในการป้องกันการ
แพรก่ ระจายเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019(COVID 19)

ขอ้ มูลจากคมู่ อื การปฏบิ ตั สิ าหรบั สถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

มาตรการและแนวทางในการดูแลนกั เรียน
ของผปู้ กครอง

1. เตรียมอาหารเช้า ให้นักเรียนรับประทานก่อนมาโรงเรียน และไม่นา
อาหารมารับประทานในพื้นที่นอกอาคารโรงอาหารหรือจุดรับประทาน
อาหารทโ่ี รงเรียนจดั ไวต้ ามหลกั สุขอนามยั โรงเรยี น

2. เตรียมอุปกรณ์การเรียนให้ครบถ้วน และเตรียมหน้ากากอนามัยให้กับ
นกั เรยี น โดยทาสัญลักษณ์หรือเขียนช่ือนักเรียนติดไว้ ควรเพ่ิมสายคล้อง
คอสาหรับนักเรียนระดับช้นั อนุบาล – ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

3. การเดนิ ทางมาโรงเรยี นของนกั เรียน โรงเรียนมีมาตรการขอความร่วมมือ
กบั คนขับรถ ในการใสห่ น้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าทุกครั้งขณะขับรถ
ทาความสะอาดรถ เบาะที่นั่ง ก่อนรับนักเรียนในช่วงตอนเช้า และส่ง
นักเรียนในช่วงตอนเย็นและปฏิบัติตามมาตรการ กฎ ระเบียบของ
โรงเรยี นอยา่ งเคร่งครดั
•กรณีผู้ปกครองมาส่งด้วยตัวเอง โรงเรียนกาหนดมาตรการขอความ

รว่ มมือ จากผปู้ กครอง ในการใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้ง ที่มาส่งนักเรียน และ
ทาตามมาตรการ กฎ ระเบยี บของโรงเรยี น อย่างเครง่ ครัด

• เมื่อนักเรียนเดินทางถงึ โรงเรียน กรณที ีผ่ ู้ปกครองมาสง่ ทโี่ รงเรยี น และมี
ความประสงค์ขอเข้าบริเวณโรงเรียน ต้องผ่านจุดคัดกรอง ตรวจเช็คอุณหภูมิ
และล้างมอื ด้วยสบูห่ รือแอลกอฮอล์เจล โดยเน้นมาตรการทางสาธารณสุขอย่าง
เคร่งครัด มกี ารเวน้ ระยะทางสงั คม (Social Distancing)

ขอ้ มลู จากคูม่ อื การปฏิบตั สิ าหรับสถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

มาตรการและแนวทางในการดแู ลด้านอนามยั
และสิง่ แวดล้อมของโรงเรียน

1. เมือ่ มาถงึ โรงเรียน นกั เรียนตอ้ งใสห่ น้ากากอนามยั เดนิ เป็นแถวผา่ นประตู
โรงเรียน คุณครูเวรประจาวันดาเนินการตรวจคัดกรอง โดยเดินผ่านตาม
จดุ ทีม่ ีการเวน้ ระยะ ตามทางเดนิ
จุดที่ 1 ตรวจวดั อุณหภมู ิ
จุดที่ 2 ล้างมอื ดว้ ยดว้ ยสบหู่ รือเจลแอลกอฮอล์

2. เม่ือผ่านจุดคัดกรองนักเรียนจะได้รับสัญลักษณ์ผ่านการคัดกรอง กรณี
นักเรียนชัน้ อนุบาลและช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 จะมีครูหรือนักเรียนแกน
นารุ่นพี่ นานักเรยี นไปยังหอ้ งเรยี น และท่ีหอ้ งเรยี นจะมคี รูประจาชั้นรอรบั
นักเรียนอยู่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 และนักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาสามารถเดนิ ไปยงั ห้องเรียนไดเ้ อง

3. กจิ กรรมหน้าเสาธง จดั นกั เรียนเข้าแถวเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร มีการจัด
กจิ กรรมหน้าเสาธงตามปกติ แต่ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมน้อยลง เฉพาะ
กิจกรรมหลกั ที่จาเป็นเท่านั้น โดยมีมาตรการเว้นระยะทางสังคม (Social
Distancing)

4. การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน ให้มีการจัดโต๊ะเรียน จานวนไม่เกิน
20 - 25 ตวั โดยแตล่ ะตวั ให้มกี ารเวน้ ระยะห่างทางกายภาพ 1-2 เมตร

5. มีการทาความสะอาดห้องเรียน โต๊ะเรียน และเก้าอี้ทุกคร้ังด้วยน้ายาฆ่า
เชอ้ื ท้ังก่อนเรียน พกั กลางวัน และหลงั เรียน โดยมีการบันทึกข้อมูลอย่าง
เคร่งครัด

6. ตงั้ จุดวางเจลแอลกอฮอลล์ า้ งมอื ในหอ้ งเรยี น (บรเิ วณโตะ๊ ครู)

ขอ้ มูลจากคมู่ ือการปฏิบตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

มาตรการและแนวทางในการดูแลด้านอนามยั
และส่ิงแวดลอ้ มของโรงเรียน

7. ขณะทาการสอน ครูผู้สอนและนักเรียนต้องใส่หน้ากากอนามัย
ตลอดเวลา

8. ให้นักเรียนหลีกเลี่ยงการยืมสิ่งของต่างๆ เช่นอุปกรณ์การเรียนและของ
เล่นจากเพือ่ น

9. งดการสมั ผัสรา่ งกายซ่ึงกนั และกัน
10. การใช้ห้องน้า โรงเรียนมีครูและเจ้าหน้าที่คอยดูแลนักเรียนในการใช้

ห้องน้า ท้ังในช่วงเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน ให้นักเรียนสลับกันใช้
ห้องน้า ตามความเหมาะสมของโรงเรียน โดยรอคิวและมีจุดเว้นระยะ
อย่างชัดเจน
11. ห้องน้าโรงเรียนโรงเรียน มีมาตรการในการทาความสะอาด ฆ่าเช้ือ และ
บันทึกเวลาในการทาความสะอาดห้องน้า โรงเรียนทุก ๆ ชั่วโมง โดย
มอบหมายครูเวรประจาวัน แมบ่ า้ น นกั การ ดาเนนิ การอย่างเครง่ ครดั
12. การล้างมือของนักเรียนเน้นให้นักเรียนล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่เหลว ท้ัง
ก่อนและหลังการรับประทานอาหาร หลังการเข้าห้องน้าและก่อนกลับ
บ้าน จนติดเป็นนิสัย โดยเน้นวิธีการล้างมือ 7 ข้ันตอน 20 วินาที ของ
กรมอนามัย

ขอ้ มลู จากคูม่ อื การปฏิบตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

มาตรการและแนวทางในการดูแลด้านอนามัย
และสงิ่ แวดลอ้ มของโรงเรียน

13. การรับประทานอาหารกลางวัน รับประทานอาหารท่ีอาคารเรียน และท่ี
โรงอาหาร โดยเน้นการเว้นระยะห่างทางสังคม 1-2 เมตร และเน้นให้
นักเรียนล้างมือด้วยสบู่ ท้ังก่อนและหลังการรับประทานอาหาร โดย
โรงเรียนจดั ใหม้ ีอา่ งล้างมืออย่างพอเพียงบริเวณอาคารโรงอาหารหรือจุด
รับประทานอาหารท่ีจดั ไว้ให้ และมีการจดั พ้ืนที่สาหรบั รับประทานอาหาร
ทถี่ ูกสขุ ลักษณะ

14. วัตถุดิบในการทาอาหารจะต้องมีความสดใหม่ และปรุงสุก ถูก
สุขลักษณะและทาความสะอาด อย่างเคร่งครัดก่อนนามาปรุงอาหาร แม่
ครัว/ผู้ช่วยแม่ครัว พนักงานล้างจาน ต้องใส่หน้ากากอนามัย และถุงมือ
ตลอดเวลาในขณะปฏิบัตงิ าน

15. ทาความสะอาดโต๊ะและเก้าอ้ี พื้นโรงอาหาร ด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ท้ังก่อน
และหลังการรับประทานอาหารของนักเรียนในแต่ละรอบ กรณีนักเรียน
จาเป็นต้องรับประทานที่พื้นอาคารจะมีแผ่นรองถาด ภาชนะ เพื่อรักษา
ความสะอาดตามหลักสุขอนามัยโรงเรียน และมีการทาความสะอาดพื้น
ก่อนและหลงั การรับประทานอาหาร

16. การท้ิงขยะ โรงเรียนมีมาตรการการคัดแยกขยะ อย่างชัดเจน เช่น ขยะ
เปยี ก ขยะแหง้ และมกี ารกาจัดหลงั เลิกเรยี นในทุกๆ วนั

17. โรงเรียนจัดครูตรวจสอบความสะอาดประจาวัน และประสานงานกับ
หน่วยงานราชการ ในพ้ืนที่จัดส่งเจ้าหน้าท่ีด้านอนามัยมาตรวจสอบเป็น
ระยะ ๆ

ข้อมลู จากค่มู ือการปฏบิ ตั สิ าหรับสถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

มาตรการและแนวทางในการดูแลดา้ นอนามัย
และส่งิ แวดลอ้ มของโรงเรียน

18. โรงเรียนจัดครู/เจ้าหน้าที่คอยดูแล อานวยความสะดวกในการกดน้าด่ืม
จากตู้ ตามมาตรการของ ศบค. กาหนด โดยผู้ปกครองสามารถเตรียมน้า
ด่ืมให้กบั นักเรยี นมาจากบ้านได้

19. งดการใช้ของร่วมกันของนักเรียน ครูประจาช้ันต้องจัดระเบียบการเว้น
ระยะในการจัดวางอุปกรณ์ ของใช้ส่วนตัวของนักเรียน เช่นอุปกรณ์การ
แปรงฟนั แกว้ น้า และของใชอ้ น่ื ท่ีนกั เรียนนามาใช้
•หลังรับประทานอาหารกลางวัน ครูประจาชั้น/ครูเวรประจาวัน นา

นกั เรียนแปรงฟัน โดยเน้นการเวน้ ระยะหา่ งของนักเรียน
20. การนอนของนกั เรียนปฐมวยั

•จัดห้องนอนให้มีอากาศถ่ายเท มีมุ้งลวดประตู หน้าต่างปิดป้องกันยุง
และแมลง

• งดการใชเ้ ครือ่ งปรับอากาศ (อาจใชพ้ ัดลมแทน)
• เวน้ ระยะทนี่ อนของนกั เรียนหา่ งกนั ประมาณ 1-2 เมตร
•ครปู ระจาชน้ั กากับไมใ่ ห้นักเรียนเล่นกนั ขณะนอน (นักเรียนถอดหนา้ กาก
อนามัย) โดยผู้ปกครองสามารถมารับนักเรียนกลับไปนอนที่บ้านได้ เพื่อลด
ความเสยี่ งในการระบาดของโรคตดิ ต่อโควดิ 19 และโรคระบาดอ่นื ตามฤดูกาล

ข้อมลู จากคู่มอื การปฏบิ ตั ิสาหรบั สถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

มาตรการและแนวทางในการดูแลดา้ นอนามัย
และสง่ิ แวดลอ้ มของโรงเรยี น

21. การมารับนกั เรยี นกลบั บ้าน
• ผปู้ กครองรบั นกั เรยี น ณ จดุ รับ – สง่ ทโี่ รงเรียนกาหนด
• ผู้ปกครองผ่านจุดคัดกรองของโรงเรียน โดยครูเวรประจาวัน/
บุคลากรของโรงเรยี นทาหน้าท่คี ดั กรอง
• โรงเรียนปล่อยนักเรียนกลับบ้านโดยให้มีมาตรการ เว้น
ระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing)
• นักเรียนเดินเป็นแถวเว้นระยะออกจากห้องเรียน ผู้ปกครอง
และนักเรียนต้องรักษามาตรการเว้นระยะห่างทางสังคมในการ
เดินออกจากโรงเรียน

22. การทาความสะอาดห้องเรียนและอาคารเรียนโรงเรียนกาหนดมาตรการ
การทาความสะอาดห้องเรียน และอาคารเรียน 3 เวลา คือ ช่วงเช้าก่อน
เรียน พักกลางวัน และหลังเลิกเรียน เม่ือทาความสะอาดแล้วต้องปิด
อาคารเรียน และไม่อนญุ าตใหข้ นึ้ อาคารเรยี น

23. การเตรียมตัวก่อนเปิดภาคเรียน โรงเรียนกาหนดมาตรการการทาความ
สะอาดบริเวณโรงเรียนทั้งหมดด้วยน้า ยาฆ่าเชื้อ ก่อนเปิดภาคเรียน เช่น
ทาความสะอาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องพักครู หองสมุด อุปกรณ์
ไฟฟ้า เครื่องปรบั อากาศ พดั ลม หอ้ งน้า หอ้ งครัว โรงอาหาร เปน็ ตน้

24. โรงเรียนเชิญหน่วยงานภายนอก เช่น กองสาธารณสุขเทศบาล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล เจ้าหน้าท่ีอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เป็นที่ปรึกษาด้านสุขอนามัยของ
โรงเรยี น

ข้อมูลจากคมู่ อื การปฏบิ ตั สิ าหรับสถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการใช้สระวา่ ยนา้ ในโรงเรียน

กรณหี ากรัฐบาลและศบค.จังหวดั อุตรดติ ถม์ กี ารผ่อนปรนมาตรการควบคมุ โรค ให้
สามารถใช้สระว่ายนา้ ได
ปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

1. ให้มกี ารคัดกรองเบือ้ งตน้ หรอื เฝ้าระวังมใิ ห้ผู้มอี าการเจบ็ ป่วย เช่น ไข ไอ มนี า้ มูก
เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไมไดกล่นิ ไมรูรส กอ่ นลงสระว่ายนา้ ทกุ ครงั้ เพ่อื
ป้องกนั การแพรเชื้อโรค

2. กากับดแู ลและปฏบิ ัตติ ามคาแนะนาของระบบฆา่ เชอ้ื อย่างเครง่ ครัด เพอื่ ให้ระบบ
มีประสทิ ธิภาพ ในการฆา่ เช้อื ตลอดเวลาการใหบ้ รกิ าร (คลอรนี อสิ ระคงเหลือ (Free
Residual Chlorine) ใน ระดบั 1 - 3 สวน ในล้านส่วน (ppm))

3. ตรวจสอบคุณภาพนา้ ในสระทุกวัน และดแู ลความสะอาดของสระนา้ ไมใหม้ ขี ยะ
มูลฝอย

4. กาหนดมาตรการกอ่ นลงสระวา่ ยนา้ เชน่ นักเรยี นตอ้ งชาระรา่ งกายก่อนลงสระ
ตองสวมหนากากผา้ หรอื หนากากอนามยั ก่อนลงและข้นึ จากสระวา่ ยน้า สวมแวน่ ตา
หมวกว่ายน้าระหวา่ งการวา่ ยนา้ หา้ มบ้วนน้าบาย หา้ มปสั สาวะ หา้ มสัง่ น้ามูกลงในนา้
ห้ามพดู คุยกับเพอื่ น ผู้สอนวา่ ยน้า (โคช้ ) หรือผดู ูแลสระนา้ ตองสวมหนากากผา้ หรือ
หนากากอนามัยตลอดเวลาทอ่ี ยบู่ รเิ วณสระว่ายนา้

5. ทาความสะอาดอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการสอน แบง่ รอบการสอน จากดั จานวนคน และ
ให้มีการเวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร

6. ควรเตรยี มอปุ กรณ์ของใชส้ ว่ นตัวสาหรับการว่ายนา้ เช่น แว่นตา หมวกว่ายน้า
ชุดวา่ ยนา้ ผ้าเช็ดตวั เป็นตน้

ข้อมลู จากคู่มือการปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

แผนรองรับการจดั การเรยี นการสอนสาหรับนกั เรยี น
ปว่ ยกักตวั หรือกรณปี ิดโรงเรยี น

1. จดั หา จัดทาสื่อการเรยี นการสอน แบบฝกึ ตามหลกั สตู รสถานศึกษาใช้ในการ
จดั การเรียนการสอน ในการจดั ใหม้ ีรูปแบบของสอื่ ออนไลน์ต่าง ๆ และการเรียน
ทางไกลดว้ ยระบบ DLTV

2. จดั ใหน้ ักเรียนสามารถเข้าถึงการเรยี นการสอนทีม่ คี ุณภาพเหมาะสมตามบรบิ ท
อยา่ งต่อเนอื่ งตรวจสอบติดตาม กรณนี ักเรียนขาดเรยี น ลาป่วย การปดิ ถานศกึ ษา
โดยมกี ารตดิ ตอ่ ผ่านทางโทรศัพท์ Social media โดยตดิ ตามนกั เรียนเปน็ ราย
กรณี รายวนั หรือสปั ดาห์

3. ครปู ระจาชน้ั ติดตามดูแลสขุ ภาพและใหค้ าแนะนาปรกึ ษาท้ังทางดา้ นสขุ ภาพ
อาการของโรค อย่างสมา่ เสมอพรอ้ มทงั้ คอยใหก้ าลงั ใจนกั เรยี นทปี ว่ ย และแนะนา
เพื่อน ๆ ในชัน้ เรียนใหม้ ีความรู้ความเข้าใจวา่ โรคโควิด 19 เมือ่ รักษาหายแล้ว
สามารถใชช้ ีวิตปกตริ ว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้ และไม่ควรรงั เกยี จหรือลอ้ เลยี นเพอื่ นทีร่ ักษา
ตัวหารจากโรคแลว้ เม่อื กลบั มาเรยี นตามปกติ

4. สรา้ งความเขม้ แขง้ ของระบบดแู ล ชว่ ยเหลือนกั เรยี น โดยบรู ณาการกจิ กรรม
สง่ เสริมพฒั นานักเรียน ดา้ นทกั ษะชวี ติ และความเขม้ แข็งทางใจ เขา้ ใจการเรยี น
การสอนปกติ เพื่อชว่ ยให้นกั เรยี นจัดการ ความเครยี ดและรบั มอื กับการ
เปล่ียนแปลงไดอยา่ งเหมาะสม

ขอ้ มูลจากคู่มอื การปฏบิ ตั สิ าหรับสถานศกึ ษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางปฏบิ ัติการสอ่ื สารเพ่อื ลดการรังเกียจ
และการตตี ราทางสังคม(Social stigma)

1. สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับโรคโควิด 19 ให้แก่นักเรียน และ
บุคลากรในโรงเรียน สนับสนุนให้นักเรียนใช้ส่ือรอบรูสู้โควิด ในรูปแบบ ผ่าน
ช่องทางหลากหลายที่สามารถ เข้าถึงได อันจะช่วยส่งเสริมให้เกิดความรูความ
เข้าใจ และรู้วิธีการปฏิบัติตนในการป้องกันตนเอง และการปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่าง
ถูกวิธี ไม่รังเกียจหรือแสดงถึงพฤติกรรมที่ตีตราผู้ป่วยให้รู้สึกถึงการถูกรังเกียจ
โดยต้องเข้าใจวา่ ผู้ป่วยสามารถรกั ษาหายได้และกลบั มาใช้ชีวิตปกตริ ่วมกันได้

2. ให้ข้อมูลที่ให้ความเชื่อม่ัน ในมาตรการป้องกันและการดูแล ตามระบบการดูแล
ชว่ ยเหลอื ในสถานศกึ ษา โดยเฉพาะ การระมัดระวัง การสื่อสารและ คาพดู ทีม่ ีผล
ต่อนคติ เพื่อลด การรังเกียจ การตีตราทางสังคม (Social stigma) กรณีที่อาจ
พบ บุคลากรในสถานศกึ ษา นักเรยี น ผูปกครองตดิ โรคโควิด 19

3. หลีกเลี่ยงการล้อเลียนนความผิดปกติหรืออาการไมสบายของเพ่ือน เนื่องจาก
อาจจะก่อให้เกิดความหวาดกลัว มากเกินไปต่อการป่วยหรือการติดโรคโควิด 19
และเกดิ การแบง่ แยกกีดกันในหมูนกั เรียน

4. จดั กจิ กรรมใหน้ กั เรียนทารว่ มกันกับนักเรียนที่หายป่วยหรือมีญาติป่วยด้วยโรคโค
วิด 19 โดยเน้นให้เห็นถึงแนวทางการปฏิบัติท่ีถูกต้อง ด้วยกิจที่ส่ือถึงความรัก
ความหว่ งใย เหน็ อกอกเห็นใจซง่ึ กันและกัน เชน่ การทาการ์ดให้กาลังใจเพอ่ื น การ
ทางานกลุ่ม เป็นต้น

ขอ้ มลู จากคมู่ ือการปฏบิ ตั สิ าหรับสถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางปฏิบัตกิ ารดา้ นการจดั การความเครียด
ของนักเรยี น ครู และบุคลากร

1. ส่ือสารทาความเข้าใจกับบุคคล ทุกฝ่ายถึงมาตรการที่น่าเช่ือถือได้ในการการ
ปฏิบัติในสถานศกึ ษาทีเ่ ชือ่ ไดว้ ่าทุกคนจะมคี วามปลอดภัยในการปฏบิ ตั งิ านภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19

2. กรณีนักเรียนหรือบุคลากรป่วยจริง ต้องให้หยุดรักษาจนกว่าจะหายเป็นปกติโดย
นาหลักฐาน ใบรับรองแพทย์มายืนยันเพ่ือกลับ เข้าเรียนตามปกติ สร้างความ
ม่นั ใจใหก้ ับทุกคน

3. ให้ครู บคุ ลากรสงั เกตอารมณความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหน้าท่ีในการ
ดูแลนักเรียนจานวนมาก และกากับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคโค
วิด 19 อย่างเคร่งครัด

4. เมอ่ื ครู บคุ ลากรมคี วามเครียด จากสาเหตตุ ่าง ๆ ควรรว่ มกันตรวจสอบ มาตรการ
ของสถานศึกษาความให้มีความชัดเจนในการปฏิบัติ เพ่ือให้เข้าใจบทบาทหน้าท่ี
และข้อปฏิบัตทิ ่ตี รงกนั ใหม้ ีการพดู คุยส่ือสารถงึ ความไมสบายใจ

5. ให้สามารถ รองขอสิ่งจาเปน สาหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอตอการปองกัน
การติดโรคโควิด 19 เชน สถานที่ ส่ือการสอน กระบวนการเรียนรู การส
งงานหรอื ตรวจการบาน เปนตน

ข้อมลู จากคูม่ อื การปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แผนรองรบั กรณีเกดิ การระบาดในสถานศึกษา

เหตุการณก์ ารระบาด หมายถึง เม่ือพบผู้ป่วยยืนยันอย่างน้อย 1 ราย ที่คิดว่าอาจมีการ
แพรกระจายเชอ้ื ในสถานศกึ ษา
นยิ าม ผปู้ ่วย
1. ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ต้องสอบสวน (PUI = Patient Under Investigation)

หมายถงึ ผทู ่ีมีประวตั ิไข หรอื วดั อณุ หภูมกิ ายไดตง้ั แต 37.5 องศาเซลเซียส ข้ึนไป
รวมกบั อาการทางเดินหายใจอยางใดอยางหนึ่ง (ไอ น้ามกู เจ็บคอ หายใจเร็วหรือ
หายใจเหนื่อยหรือหายใจลาบาก) และมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับ ผูปวยยืนยัน
ในชวง 14 วันกอนมอี าการ
2. ผู้ป่วยยืนยัน หมายถึง ผู้ที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบว่า ติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019
3. ผู้สัมผสั ทมี่ คี วามเสียงต่อการติดเช้ือสูง (High risk contact) หมายถึง ผู้สัมผัส
ใกลช้ ดิ ตามลกั ษณะ ขอ้ ใด ขอหนึ่ง ดงั นี้
- ผ้ทู ี่เรียนรว่ มหอ้ ง ผ้ทู นี่ อนรว่ มหอ้ งหรือเพื่อนสนิทท่คี ลุกคลีกนั
- ผู้สัมผัสใกล้ชดิ ชิดหรือมีการพดู คยุ กับผ้ปู ่วยในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5 นาที หรือ
ถูกไอ จาม รดจากผู้ป่วยโดยไมมีการปอ้ งกัน เช่น ไมสวมหนากากอนามยั
- ผู้ที่อยู่ในบริเวณท่ีปิด ไมมีการถ่ายเทอากาศ เช่น ในรถปรับอากาศ ในห้องปรับ
อากาศ รว่ มกับผู้ป่วยและอยู่ห่างจากผู้ป่วยไม่เกิน 1 เมตร นานกว่า 15 นาที โดย
ไมมีการปอ้ งกัน

ขอ้ มูลจากคู่มอื การปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แผนรองรับกรณีเกิดการระบาดในสถานศึกษา

4. ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเช้ือต่า (Low risk contact) หมายถึง ผู้ที่ทา
กิจกรรมอ่นื ๆ ร่วมกบั ผ้ปู ่วยแตไ่ ม่เขา้ เกณฑ์ความเส่ียง

5. ผไู้ ม่ไดสัมผสั หมายถงึ ผู้ท่อี ยูใ่ นสถานศกึ ษาแตไ่ มมีกิจกรรมหรอื พบผู้ป่วยในช่วง 14
วนั กอ่ นป่วย

6. ผู้ท่ีมีภาวะเส่ียงต่อการป่วยรุนแรง (Underlying condition) ผู้ท่ีมีภูมิต้านทานต่า
หรือมีโรคประจาตัว หรอื ผสู้ งู อายุ กจิ กรรมการเฝ้าระวงั กอ่ นการระบาด

แนวทางปฏิบตั ติ ่อผเู้ ข้าขา่ ยเป็นผูป้ ว่ ย ดังน้ี
1. ใหม้ ีการตรวจสอบการลาปว่ ยของนักเรยี นและบคุ ลากรในสถานศึกษา หากพบว่า

ป่วยมากผิดปกติ ใหร้ ายงานเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขในพ้ืนทท่ี ราบ
2. ให้มีการคัดกรองไขบริเวณทางเขาสถานศึกษาทุกวัน หากพบว่า มีเด็กที่มีไข

จานวนมากผิดปกติให้แจง้ เจา้ หน้าท่ี
3. หองพยาบาลให้มกี ารบนั ทกึ รายช่อื และอาการของนกั เรยี นทีป่ ว่ ย

ขอ้ มลู จากคมู่ ือการปฏบิ ตั สิ าหรับสถานศกึ ษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

แผนรองรับกรณีเกิดการระบาดในสถานศกึ ษา

กจิ กรรมเม่อื มกี ารระบาด

1. ปดิ สถานศกึ ษา/ชั้นปี/ชัน้ เรียน เพอื่ ทาความสะอาด เปน็ ระยะเวลา 3 วัน
2. สารวจคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทุกคน บริเวณทางเข้าสถานศึกษาและ

ดาเนินการตามแผนผัง หากพบผู้เข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI) ให้เก็บตัวอย่าง NP
swab ส่งตรวจหาเช้ือ
3. ผสู้ มั ผสั กลุ่ม High risk ใหด้ าเนินการเก็บตัวอย่าง NP swab ส่งตรวจเชื้อ
4. ผู้สัมผัสกลุ่ม Low risk ไมตองเก็บตัวอย่าง แต่ให้แยกตัวอยู่ที่บ้าน และรายงาน
อาการ (Self - report) ทกุ วัน หากพบว่า มีอาการเข้าเกณฑ์ PUI ให้ดาเนินการ
แบบผู้ป่วยPUI
5. เม่อื เปิดเทอม ให้มีการคัดกรองไขทุกวัน หากพบมีอาการเขา้ ได้กับ PUI ให้เก็บตัว
ตัวอย่างและ พิจารณา ความเส่ียงเพ่ือตัดสินใจว่าจะให้ผู้ป่วยดูอาการที่บ้านหรือ
ต้องแยกตัวในโรงพยาบาล
6. ทีมสอบสวนโรคทาการตดิ ตามผสู้ มั ผสั ทุกวัน จนครบกาหนด
7. ให้นักเรียนท่ีมีความเสี่ยงแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) และมี
การซกั ซ้อมแผนเผชิญเหตุ รองรับการดูแลรักษาเบ้ืองต้น กรณี นักเรียน ครู หรือ
บุคลากรในสถานศกึ ษามผี ลการตรวจพบเช้ือโรคโควิด๑๙ หรอื ผล ATK เป็นบวก
โดยมกี ารซกั ซ้อมอย่างเครง่ ครดั

ขอ้ มลู จากคมู่ ือการปฏิบตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางเตรยี มความพร้อมของสถานศกึ ษา
การเปิดภาคเรียน ปอ้ งกัน COVID-19

ขอ้ มลู จากคมู่ ือการปฏบิ ตั ิสาหรบั สถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

ภาคผนวก

การบริหารจัดการโรงเรยี น
การเตรียมความพร้อมกอ่ นปิดภาคเรยี น
เพ่ือเฝา้ ระวงั และป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคโควิด-19 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

มิติท่ี 1
ความปลอดภัยจาการลดการแพร่เช้ือโรค

1. มีมาตรการคดั กรองวดั ไข้ ให้กับนกั เรยี น ครู และผูเ้ ขา้ มาตดิ ต่อทกุ คน กอ่ นเขา้
สถานศึกษา

2. มมี าตรการสังเกตอาการเสยี งโควดิ 19 เชน่ ไอ มนี ้ามูก เจ็บคอ เหนือ่ ยหอบ
หายใจลาบาก จมูกไม่ได้กลน่ิ ลิ้นไมร่ รู้ ส พร้อมบนั ทึกผล สาหรับนกั เรยี น ครู และ
ผู้เขา้ มาตดิ ตอ่ ทกุ คน กอ่ นเขา้ สถานศกึ ษา

3. มนี โยบายกาหนดให้นกั เรยี น ครู และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทกุ คน ตอ้ งสวม
หนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามยั

4. มกี ารจัดเตรยี มหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัย สารองไว้ใหก้ บั นักเรยี น หรอื ผ้ทู ี่ไม่
มหี น้ากากเขา้ มาในสถานศึกษา

5. มจี ุดลา้ งมอื ด้วยสบู่ อย่างเพียงพอ
6. มกี ารจดั วางเจลแอลกอฮอลส์ าหรบั ใชท้ าความสะอาดมอื บริเวณทางเขา้ อาคาร

เรยี น หน้าประตูห้องเรียน ทางเขา้ โรงอาหาร อยา่ งเพยี งพอ
7. มีการจัดโต๊ะเรียน เก้าอน้ี ง่ั เรยี น ทีน่ ั่งในโรงอาหาร ทน่ี ง่ั พกั โดยจดั เวน้ ระยะห่าง

ระหว่างกนั อยา่ งน้อย 1-2 เมตร (ยึดหลกั Social distancing)
8. มกี ารทาสัญลกั ษณแ์ สดงจดุ ตาแหน่งชดั เจนในการจดั เว้นระยะหา่ ง ระหว่างกัน

ขอ้ มลู จากคู่มือการปฏิบตั สิ าหรับสถานศกึ ษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

มติ ทิ ี่ 1
ความปลอดภยั จาการลดการแพรเ่ ชื้อโรค

9. กรณีหอ้ งเรยี นไมส่ ามารถจดั เว้นระยะห่างตามทกี่ าหนดได้ มีการสลบั วันเรยี นแต่
ละชนั้ เรยี น หรอื มกี ารแบง่ จานวนนักเรียน

10. มกี ารทาความสะอาดห้องเรียน ห้องต่าง ๆ และอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการเรยี นการสอน
กอ่ นและหลังใชง้ านทกุ ครัง้ เชน่ ห้องคอมพวิ เตอร์ ห้องดนตรี อปุ กรณ์กีฬา

11. มกี ารทาความสะอาดบรเิ วณจดุ สมั ผสั เสยี่ งร่วม ทกุ วัน เชน่ โต๊ะ เก้าอ้ี ราว บนั ได
ลิฟต์ กลอนประตู มือจบั ประตู - หนา้ ตา่ ง

12. มีถังขยะแบบมฝี าปิดในหอ้ งเรียน
13. มกี ารปรบั ปรงุ ซ่อมแซมประตู หน้าตา่ ง และพัดลมของหอ้ งเรยี นใหม้ ีสภาพการใช้

งานไดด้ ี สาหรับใช้เปดิ - ปิดให้อากาศถา่ ยเทสะดวก
14. มีการแบง่ กลมุ่ ย่อยนกั เรียนใหน้ ักเรียนในการจดั ทากิจกรรม
15. มีการปรบั ลดเวลาในการทากจิ กรรมประชาสัมพนั ธ์ ภายหลังการเขา้ แถวเคารพธง

ชาตหิ น้าเสาธง
16. มกี ารจัดเหลื่อมเวลาทากจิ กรรมนกั เรียน เหล่อื มเวลากนิ อาหารกลางวนั

ข้อมูลจากค่มู อื การปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

มติ ทิ ่ี 1
ความปลอดภยั จาการลดการแพรเ่ ชอ้ื โรค

17. มมี าตรการให้เวน้ ระยะหา่ งการเข้าแถวทากจิ กรรม
18. มีการกาหนดใหใ้ ช้ของใชส้ ่วนตัว ไม่ใช้สิง่ ขอ ร่วมกับผูอ้ ื่น เชน่ แกว้ น้า สอ้ ม ช้อน

แปรงสีฟนั ยาสฟี ัน ผา้ เชด็ หนา้
19. มีหอ้ งพยาบาลหรือพื้นที่สาหรับแยกผ้ทู ่มี ีอาการเสย่ี งทางระบบทางเดินหายใจ
20. มีนกั เรยี นแกนนาด้านสุขภาพ จิตอาสา เป็นอาสาสมคั ร ในการช่วยดแู ลสุขภาพ

เพอ่ื นนกั เรียนด้วยกนั หรือดูแลรนุ่ นอ้ ง

ข้อมูลจากคู่มอื การปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

มติ ทิ ่ี 2 การเรียนรู้

21. มกี ารตดิ ป้ายประชาสัมพนั ธ์แนะนาการปฏบิ ัตเิ พอื่ สขุ ภาพอนามัยทีด่ ี เช่น วิธีลา้ ง
มือทถ่ี ูกตอ้ ง การสวมหนา้ กากอนามยั การเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล เป็นต้น หรอื
อน่ื ๆท่เี กย่ี วกบั โรคโควดิ 19

22. มีการเตรยี มความพร้อมการจัดการเรยี นการสอนโดยคานึงการเรียนรู้ตามวยั และ
สอดคล้องกบั พฒั นาการด้านสังคม อารมณ์ และสติปญั ญา

23. มมี าตรการกาหนดระยะเวลาในการใช้สื่อออนไลนใ์ นสถานศกึ ษาสาหรับเดก็ เลก็
(ประถม) ไม่เกิน 1 ช่ัวโมงตอ่ วนั และเด็กโต(มธั ยม) ไมเ่ กนิ 2 ชั่วโมงตอ่ วนั

24. มกี ารใช้ส่อื รอบรู้ดา้ นสขุ ภาพผา่ นช่องทาง Social Media เช่น Website,
Facebook, line, QR code, Email

ขอ้ มลู จากคู่มือการปฏิบตั ิสาหรบั สถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

มติ ิที่ 3 การครอบคลมุ ถึงเดก็ ด้อยโอกาส

25. มกี ารเตรียมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัย สารองสาหรับเดก็ เลก็
26. มีการปรบั รูปแบบการเรียนการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทการเขา้ ถึง การเรยี นรใู้ น

สถานการณ์การระบาดของโรคโควดิ 19
27. มีมาตรการส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นไดก้ ารรับบรกิ ารสขุ ภาพขนั้ พน้ื ฐานอยา่ งท่ัวถึง

ขอ้ มลู จากคู่มอื การปฏิบตั สิ าหรบั สถานศกึ ษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

มติ ิท่ี 4 สวัสดิภาพและการคมุ้ ครอง

28. มีการจดั เตรียมแผนรองรบั การจัดการเรียนการสอนสาหรับนกั เรียนปว่ ยกกั ตวั หรอื
กรณปี ิดโรงเรียน

29. มกี ารจดั เตรยี มแนวทางปฏิบัตกิ ารสื่อสารเพื่อลดการรงั เกียจ และการตตี ราทาง
สงั คม(Social stigma)

30. มีการจัดเตรียมแนวปฏบิ ตั ดิ า้ นการจัดการความเครียดของครูและบุคลากรของ
สถานศึกษา

31. มีการตรวจสอบประวัติเสย่ี งของนกั เรยี นและบคุ ลากร รวมทง้ั ตรวจสอบเร่ืองการกกั
ตัวให้ครบ 14 วัน กอ่ นมาทาการเรยี นการสอนตามปกติ และทุกวันเปิดเรยี น

32. มีการกาหนดแนวปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บสาหรบั นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรทีส่ งสยั ว่าติด
เชือ้ หรือปว่ ยดว้ ยโรคโควิด 19 โดยไม่ถอื เปน็ วันลา หรอื วันหยดุ เรียน

ขอ้ มลู จากคูม่ ือการปฏิบตั สิ าหรบั สถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

มติ ิที่ 5 นโยบาย

33. มีการสอื่ สาร ประชาสมั พนั ธค์ วามรู้ การปอ้ งกนั โรคโควิด 19 แก่นักเรียน ครู
บุคลาการ และผปู้ กครอง โดยการประชุมชี้แจง หรอื ผ่านชอ่ งทางต่างๆ อย่างน้อย
1 ครงั้ กอ่ นหรอื วนั แรกของการเปดิ เรียน

34. มีนโยบายและแนวทางปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19 ของสถานศึกษา อยา่ ง
เปน็ ลายลักษณ์ หรอื มีหลักฐานชัดเจน

35. มกี ารประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา
36. มีการแต่งต้งั คณะทางานป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควดิ 19 และกาหนดบทบาท

หนา้ ทอ่ี ยา่ งชดั เจน

ข้อมูลจากคมู่ อื การปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

มติ ทิ ี่ 6 การบรหิ ารการเงิน

37. มีแผนการใช้งบประมาณในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควดิ 19 ตามความ
จาเป็นและเหมาะสม

38. มกี ารจัดหาซ้อื วัสดุอปุ กรณป์ ้องกนั โรคโควดิ 19 สาหรับนกั เรยี นและบุคลากรใน
สถานศกึ ษา เช่น หนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ สบู่

39. มกี ารประสานแสวงหาแหลง่ ทุนสนบั สนนุ จากหน่วยงาน องค์กร หรอื เอกชน เชน่
ทอ้ งถ่ิน บรษิ ทั ห้างรา้ น NGO เปน็ ตน้ เพ่อื ดาเนนิ กิจกรรมการปอ้ งกันการแพร่
ระบาดของโรคโควดิ 19

40. มกี ารจัดหาบคุ ลากรเพ่มิ เตมิ ในการดแู ลนกั เรยี นและการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มใน
สถานศกึ ษาหรอื ไม่

ข้อมูลจากคมู่ อื การปฏบิ ตั ิสาหรบั สถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) คอื อะไร

โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Coroavirus Diseas e 2019 : COVID-19) เป็นตระกูลของ
ไวรัสท่ีก่อให้เกิดอาการป่วยต้ังแต่โรคไข้หวัดธรรมดา ไปจนถึงโรคท่ีมีความรุนแรงมาก เช่น โรค
ระบบทางเดินหายใจในตะวันออกกลาง ต้น ซ่ึงเป็นสายพันธุ์ใหม่ท่ีไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์
ก่อให้เกดิ อาการป่วยระบบทางเดินหายใจในคน และสามารถแพร่เช้ือจากคนสู่คนได้ โดยเช้ือไวรัสนี้
พบการระบาดคร้ังแรกในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019
หลังจากนั้นได้มีการระบาดไปทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจึงตั้งช่ือการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุ
ใหมน่ ้วี ่าโรค COVID-19

อาการของผปู้ ่วยโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

อาการท่วั ไป ได้แก่ อาการระบบทางเดินหายใจ มไี ข้ ไอ มนี ้ามูก เจบ็ คอ หายใจ ลาบาก
เหนือ่ ยหอบ ไมไ่ ดก้ ล่นิ ไม่รู้รส ในกรณีที่อาการรนุ แรงมาก อาจทาใหเ้ กิดภาวะแทรกซ้อน เช่น
ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย หรืออาจเสียชวี ิต

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แพรก่ ระจายเชอ้ื ได้อย่างไร

โรคชนิดนม้ี คี วามเป็นไปไดท้ ่มี ีสัตวเ์ ปน็ แหลง่ รังโรค ส่วนใหญ่แพร่กระจายผา่ นการสัมผัส
กับผู้ติดเชือ้ ผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ นา้ มกู น้าลาย ปัจจบุ นั ยงั ไมม่ ีหลกั ฐานสนับสนนุ การ
แพรก่ ระจายเชือ้ ผา่ นทางพื้นผิวสมั ผัสทม่ี ไี วรสั แลว้ มาสมั ผัสปาก จมกู และตาสามารถแพรเ่ ชอื้ ผ่าน
ทางเช้อื ท่ถี ูกขบั ถ่ายออกมากับอจุ จาระเขา้ ส่อู ีกคนหนึ่งโดยผา่ นเข้าทางปากได้ดว้ ย

โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รักษาไดอ้ ยา่ งไร

ยงั ไม่มียาสาหรบั ปอ้ งกันหรอื รักษาโรคโควดิ 19 ผทู้ ่ีติดเชื้ออาจตอ้ งไดร้ ับการรกั ษาแบบ
ประคบั ประคองตามอาการ โดยอาการที่แสดงแตกต่างกนั บางคนรนุ แรงไมม่ าก ลักษณะเหมอื น
ไขห้ วัดท่ัวไป บางคนรุนแรงมาก ทาใหเ้ กิดปอดอักเสบได้ ตอ้ งสงั เกตอาการอย่างใกล้ชิด ร่วมกบั
การรกั ษาดว้ ยการประคับประคองอาการจนกว่าจะพ้นอาการชว่ งน้นั และยงั ไมม่ ียาตวั ใด
ทม่ี หี ลกั ฐานชัดเจนวา่ รักษาโรคโควดิ 19 ได้โดยตรง

ข้อมูลจากคูม่ ือการปฏิบตั ิสาหรับสถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

วคั ซนี Pfizer

วัคซีน Pfizer เป็นวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA Vaccine) ผลิตโดยประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะ
กระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันได้ดี (Antigen) ทาให้ร่างกายรู้จักกับเชื้อโรคโควิด ๑๙ หลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอร์
เขม็ ที่ ๒ แล้ว จะมีประสทิ ธิภาพในการป้องกนั โรคโควิด ๑๙ สูงถงึ ๙๑.๓% ในช่วง ๗ วันถงึ ๖ เดอื น

รฐั บาลโดยกระทรวงสาธารณสุขอนมุ ตั ิใหฉ้ ดี วคั ซีน Pfizer ให้กับนกั เรียนอายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปี สาหรับ
เตรยี มความพร้อมให้กับสถานศกึ ษามคี วามปลอดภัยและนกั เรยี นได้รบั วัคซนี อย่างถ้วนเพื่อรองรับการเปิดภาค
เรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ในรูปแบบ Onsite ในวนั ที่ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔

วคั ซีน Sinopharm

วัคซีน Sinopharm เป็นวัคซีนชนิดเช้ือตาย ผลิตโดยสถาบัน ชีววัตถุแห่งปักก่ิง (Beijing Institute of
Biological Products: BIBP) นาเข้าโดย บริษัท ไบโอจีนีเทค จากัด มีข้อบ่งใช้สาหรับฉีดเพ่ือกระตุ้นให้
รา่ งกายสร้างภูมิคุ้มกันในผู้ที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปีข้ึนไป ฉีดครั้งละ ๑ โดส จานวน ๒ คร้ัง ห่างกัน ๒๑ - ๒๘ วัน
ในประเทศไทย วัคซีน Sinopharm เป็นวัคซีนทางเลือกท่ีกระจายให้กับองค์กร นิติบุคคล รวมถึงบุคคล
ธรรมดาผ่านราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ต้ังแต่วันท่ี ๒๐ มิถุนายน จนถึงปัจจุบัน เป็นจานวนทั้งสิ้น ๑๕ ล้านโดส
โดยที่ผ่านมาเปน็ การฉดี ให้กับผู้ทม่ี ีอายตุ งั้ แต่ ๑๘ ปี ข้นึ ไป

ขอ้ มลู จากคู่มือการปฏิบตั ิสาหรบั สถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

สถานศึกษาเป็นสถานที่ท่ีมีนักเรียนอยู่รวมกันจานวนมาก มักจะมีความเส่ียงสูงหากมี
ระบบการจดั การที่ไมด่ ี อาจจะมีการแพร่ระบาดของเช้ือ COVID-19 ได้ในกลุ่มเด็กเนื่องจากพบว่า
การติดเชื้อ COVID-19 ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมีอาการหรือมีอาการแสดงค่อนข้างน้อย ความรุนแรง
จะน้อยมาก แต่เด็กนักเรียนจะเอาเช้ือกลับบ้าน อาจทาให้การแพร่ระบาดเกิดข้ึนได้อย่างรวดเร็ว
(Super spread) ไปยงั บคุ คลในบา้ น หากมีการระบาดในกลุ่มเด็กข้ึน จะมีผลกระทบในสังคมหรือ
ผู้ใกล้ชิด เชน่ ครู พ่อแม่ ผู้สูงอายุท่ีติดเชื้อจากเด็ก ดังนั้น หากมีการเปิดเรียน มีโอกาสสูงที่จะเกิด
การติดเชื้อในกลุ่มเด็กเพ่ิมมากข้ึน ซ่ึงเด็กเป็นกลุ่มท่ีต้องได้รับการดูแลและระมัดระวังในการ
กระจายเช้ือเป็นอย่างมาก มาตรการในการเปิดเทอม จึงมีความสาคัญมากในการควบคุมการ
ระบาดการวางแผนเปิดเทอมจึงต้องมั่นใจว่า สามารถควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคในเด็ก
นักเรียนได้

ขอ้ มลู จากคู่มือการปฏิบตั ิสาหรบั สถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

สาหรับสถานศึกษาท่ีมีผลการประเมินตนเอง ตามแบบประเมินตนเองสาหรับ
สถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรค COVID-19 ในระดับ “ สีเขียว ” หรือ “ สีเหลือง ” สามารถจัดการเรียนการสอน
แบบปกติในช้ันเรียนได้ ทั้งน้ีจะต้องปฏิบัติตามมาตรการ 6 ข้อปฏิบัติในสถานศึกษา ได้แก่
1) เว้นระยะห่าง 2) สวมหน้ากากอนามัย 3) หม่ันล้างมือ 4) ทาความสะอาด 5) ตรวจวัด
อุณหภูมิ 6) ลดแออัด รวมถึง สถานศึกษาจะต้องนาเสนอ รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
(ตามที่สถานศึกษาประเมินตนเองใน ข้อท่ี 9) และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) และศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคจังหวัด (ศปก.จ.) ให้โรงเรียนสามารถ
เปิดเรียนได้ทงั้ โรงเรียน

วันจนั ทร์ ที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๔

ขอ้ มลู จากค่มู ือการปฏิบตั ิสาหรับสถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

เข้าเรยี นตามวันเวลา(ตารางเรยี นท่ีโรงเรยี นกาหนด)

เรียนดว้ ยระบบการสอนทางไกลผ่านโทรทัศนห์ รอื ชอ่ งทางการเรยี นอน่ื ๆ
เช่น Online การศกึ ษาจากแบบเรยี น ใบความรู้ หรือการทาใบกจิ กรรม

ใบงาน และการบ้านทคี่ รูมอบหมาย

ข้อมลู จากค่มู อื การปฏิบตั ิสาหรบั สถานศึกษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

สอนนักเรยี นตามปกติ
(ตามตารางสอนทโ่ี รงเรยี นกาหนด)

โรงเรยี นและครอู อกแบบการเรยี นการสอน รวมถงึ ประสานกับนกั เรียน
และผ้ปู กครองเพือ่ ตดิ ตามการเรียนด้วยระบบการสอนทางไกลผา่ น
โทรทัศนห์ รือช่องทางการเรียนอนื่ ๆ เชน่ Online

ข้อมูลจากคมู่ อื การปฏิบตั สิ าหรบั สถานศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

การจดั การเรยี นการสอนของโรงเรียน ให้นากระบวนการจดั การเรยี นรู้
ที่เน้นฝึกกระบวนการคิด ให้นักเรียนเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติมากกว่าการฟัง
บรรยายเพียงอย่างเดียว จากเดิมเริ่มที่ครูสอนในห้องเรียน แล้วมอบการบ้านให้ไป
ทาที่บ้าน อาจเปล่ียนเป็นครูกาหนดประเด็นหรือหัวข้อ พร้อมท้ังให้แหล่งข้อมูล
นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองล่วงหน้า เมื่อมาเรียนในห้อง เป็นการอภิปราย
ถกแถลง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยครูเป็นผู้อานวยความสะดวกให้เกิด การ
เรยี นรู้ การตรวจสอบความเขา้ ใจการเรียนร้ขู องนักเรียน เป็นส่ิงสาคัญ ควรดาเนินการ
เป็นระยะ สามารถดูจากการแสดงความคิดเห็น การทากิจกรรม ระหว่างเรียน
การทาแบบฝกึ การสรุปการเรียนรู้ เช่น Mind Map เป็นตน้

การจัดประสบการณ์สาหรับนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา (อนุบาล )
ครูสามารถออกแบบกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และอาจเลือกใช้
เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรม หรือผสมผสานกิจกรรมแบบบูรณาการเพ่ือส่งเสริม
พัฒนาการนักเรียนทุกด้าน โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้สนับสนุน และอานวยความสะดวก
สาหรับการกาหนดตารางหรือกิจวัตรประจาวันและสิ่งแวดล้อมในห้องเรียน
ให้คานึงถึงการรกั ษาความปลอดภัยของนักเรยี นเป็นสาคญั

ขอ้ มลู จากคู่มือการปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

ในกรณีที่โรงเรียนพบว่ามีนักเรียน ครู หรือบุคลากรอื่น ๆ ในโรงเรียน ที่อยู่ในกลุ่ม
เส่ยี ง ใหโ้ รงเรียนดาเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 กรณี
เกิดการระบาด ของกรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ ดงั ตอ่ ไปนี้

กรณเี กดิ การระบาดในสถานศกึ ษา

เหตุการณ์การระบาด หมายถงึ เมื่อพบผปู้ ่วยยนื ยันอย่างนอ้ ย 1 ราย ทค่ี ิดว่าอาจมี
การแพรก่ ระจายเชอื้ ในสถานศึกษา

1. ผปู้ ว่ ยทเี่ ข้าเกณฑต์ ้องสอบสวน (PUI = Patient Under Investigation) หมายถึง
ผู้ท่ีมีประวัติไข้ หรือวัดอุณหภูมิกายได้ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไป ร่วมกับอาการ
ทางเดิน หายใจอย่างใดอย่างหน่ึง (ไอ น้ามูก เจ็บคอ หายใจเร็ว หรือหายใจเหน่ือยหรือ
หายใจลาบาก) และมี ประวตั สิ ัมผสั ใกลช้ ิดกับผปู้ ่วยยนื ยนั ในช่วง 14 วนั กอ่ นมอี าการ

2. ผปู้ ่วยยนื ยัน หมายถึง ผู้ทม่ี ผี ลตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ พบว่า ตดิ เชอ้ื ไวรสั
โคโรน่า 2019

3. ผู้สมั ผสั ที่มีความเส่ยี งต่อการตดิ เชื้อสงู (High risk Contact) หมายถึง ผู้สมั ผัส
ใกล้ชิด ตามลักษณะข้อใดข้อหนงึ่ ดังน้ี

- ผู้ทเี่ รียนรว่ มห้อง ผ้ทู ี่นอนรว่ มหอ้ ง หรือเพอื่ นสนทิ ทคี่ ลุกคลีกัน
- ผสู้ ัมผสั ใกล้ชิดหรือมีการพดู คุยกบั ผู้ปว่ ยในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5 นาที
หรือถกู ไอ จาม รดจากผปู้ ว่ ย โดยไม่มกี ารปอ้ งกัน เช่น ไมส่ วมหน้ากากอนามยั
- ผู้ท่อี ยู่ในบริเวณท่ปี ดิ ไม่มีการถ่ายเทอากาศ เชน่ ในรถปรับอากาศ ในหอ้ ง
ปรับอากาศ ร่วมกับผปู้ ่วยและอยหู่ า่ งจากผปู้ ่วยไม่เกนิ 1 เมตร นานกว่า 15 นาที โดยไมม่ ี
การปอ้ งกัน
4. ผสู้ ัมผสั ท่มี ีความเสย่ี งตอ่ การตดิ เชอื้ ต่า (Low risk Contact) หมายถึง ผู้ทท่ี า
กิจกรรมอ่ืน ๆ รว่ มกับผปู้ ว่ ย แตไ่ ม่เขา้ เกณฑ์ความเส่ยี ง
5. ผไู้ ม่ไดส้ ัมผสั หมายถงึ ผทู้ ี่อยู่ในสถานศึกษาแต่ไม่มีกิจกรรมหรอื พบผ้ปู ว่ ยในชว่ ง
14 วนั กอ่ นป่วย
6. ผทู้ มี่ ภี าวะเส่ียงตอ่ การปว่ ยรนุ แรง (Underlying Condition) หมายถึง ผู้ทม่ี ี
ภูมติ า้ นทานตา่ หรือมโี รคประจาตัว หรือผู้สงู อายุ

ข้อมูลจากคมู่ ือการปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

กจิ กรรมการเฝา้ ระวังกอ่ นการระบาด
1) ให้มีการตรวจสอบการลาป่วยของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา หากพบว่า

ปว่ ย มากผดิ ปกติ ให้รายงานเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสุขในพน้ื ทท่ี ราบ
2) ให้มีการคัดกรองไว้บริเวณทางเข้าสถานศึกษาทุกวัน หากพบว่า มีเด็กท่ีมีไข้จานวน

มาก ผิดปกติ ใหแ้ จ้งเจ้าหน้าที่
3) หอ้ งพยาบาลให้มกี ารบันทึกรายชอ่ื และอาการของนักเรียนที่ป่วย

กจิ กรรมเมือ่ มีการระบาด
1) ปิดสถานศึกษา/ชั้นปี/ช้ันเรียน เพ่ือทาความสะอาด เป็นระยะเวลา 3 วัน โดย

ผู้อานวยการสถานศึกษา มีอานาจส่ังปิดด้วยเหตุพิเศษ ไม่เกิน 7 วัน ผู้อานวยการเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา ไม่เกิน 15 วัน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไม่เกิน 30 วัน และ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ส่ังปิดได้ตามความ
เหมาะสม

2) สารวจคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทุกคน บริเวณทางเข้าสถานศึกษา โดยใช้
เครื่องวดั อุณหภูมแิ บบมอื ถอื (Handheld thermometer) และดาเนนิ การตามแผนผัง
ตาม QR Code ทปี่ รากฏด้านล่าง

• หากพบผ้เู ข้าเกณฑส์ อบสวน (PUI) ใหเ้ กบ็ ตัวอย่าง NP swab สง่ ตรวจหาเชื้อ
3) ผู้สมั ผสั กลุ่ม High risk ให้ดาเนินการเกบ็ ตวั อย่าง NP Swab ส่งตรวจหาเชือ้
4) ผสู้ ัมผสั กลุ่ม Low risk ไมต่ ้องเก็บตัวอย่าง แต่ใหแ้ ยกตวั อยู่ท่บี ้าน และรายงาน
อาการ (Self-report) ทุกวนั หากพบว่า มีอาการเขา้ เกณฑ์ PUI ให้ดาเนนิ การแบบผปู้ ่วย PU
5) เมอ่ื เปดิ เทอม ให้มกี ารคัดกรองไขท้ กุ วนั หากพบมอี าการเข้าได้กบั PU ให้เก็บ
ตัวอย่าง และพจิ ารณาความเสย่ี งเพอ่ื ตดั สินใจวา่ จะใหผ้ ปู้ ว่ ยดอู าการทบี่ ้าน หรือต้องแยกตวั
ในโรงพยาบาล
6) ทมี สอบสวนโรคทาการตดิ ตามผูส้ ัมผัสทุกวนั จนครบกาหนด

การกากบั ตดิ ตาม และรายงานผล
สถานศึกษา ควรมีการกากบั ตดิ ตาม ทบทวนการดาเนินงาน ให้สอดคลอ้ งตามแนว

ปฏบิ ัติ สถานการณ์ และบริบท พื้นท่ี อย่างตอ่ เนอื่ ง กรณพี บผู้มอี าการเส่ยี งหรอื ป่วย ต้องรีบ
รายงาน ตอ่ ผูบ้ รหิ าร และแจ้งเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ ทันที

ขอ้ มลู จากค่มู ือการปฏิบตั ิสาหรับสถานศกึ ษา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แผนผังการจัดแถวเวน้ ระยะหา่ ง กจิ กรรมหนา้ เสาธง



คาสั่งแตง่ ตั้งคณะทางานปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

คาสั่งแตง่ ตั้งคณะทางานปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19

คาสั่งแตง่ ตั้งคณะทางานปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดโรคโควดิ 19


Click to View FlipBook Version