The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by LIB.Chaiburi, 2020-04-02 02:23:54

นิทรรศการ 2 เมษา รัการอ่าน ห้องสมุดประชาชนอำเภอชัยบุรี

66

ทรงพระเจรญิ

2 เมษายน วนั คล้ายวันพระราชสมภพ
2 เมษายน วนั คล้ายวันพระราชสมภพ
สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี

ดว้ ยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
ข้าพระพุทธเจา้ ขา้ ราชการ พนักงานราชการ และลูกจา้ ง

กศน.อาเภอชัยบรุ ี

๒ เมษายน
วนั คล้ายวนั พระราชสมภพสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

พระราชประวตั ิ

ศาสตราจารย์ พลเอก พลเรอื เอก พลอากาศเอก สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ ามหาจักรีสิรินธร มหา
วชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันเสาร์ที่ ๒ เมษายน
พ.ศ. ๒๔๙๘ ตรงกับวันข้ึน ๑๐ ค่า เดือนห้า ปีมะแม สัปตศก ณ พระทีน่ ั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวมหา
วชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพวรางกูรศาสตราจารย์ นายแพทย์ หมอ่ มหลวงเกษตร สนิทวงศ์ เป็นผูถ้ วายพระประสูติกาล และได้รับการถวายพระ
นามจากสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจ้า กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ วา่ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสริ นิ ธรเทพรัตนสุดา กติ วิ ัฒนาดุลโสภาคย์ พร้อมทัง้
ประทานคาแปลว่า นางแกว้ อันหมายถึง หญิงผูป้ ระเสริฐ และมีพระนามที่ขา้ ราชบริพาร เรียกทัว่ ไปว่า ทูลกระหมอ่ มนอ้ ยพระนาม “สิรินธร”
นัน้ นามาจากสร้อยพระนามของสมเดจ็ พระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้ าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ซ่ึงเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาใน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชสาหรับสร้อยพระนาม “กิติวัฒนาดุลโสภาคย”์ ประกอบข้ึนจากพระนามาภิไธยของสมเด็จ
พระบุพการี ๓ พระองค์ ได้แก่ “กิติ” มาจากพระนามาภิไธยของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระมารดา ส่วน “วัฒนา” มา
จากพระนามาภิไธยเดิมของสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า (สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี)
ซ่งึ เป็นสมเดจ็ พระปั ยยกิ า และ “อดุล” มาจากพระนามาภิไธยของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ซ่ึงเป็นสมเด็จ
พระอัยกาในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เม่ือวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ มีพระ
บรมราชโองการสถาปนาพระอิสริยศกั ดิส์ มเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าสิรนิ ธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ เฉลิมพระนามตามที่จารึกใน
พระสุพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิ ยชาติ สยามบรมราชกุมารี” นับเป็นสมเด็จ
เจ้าฟ้ าหญิงพระองคแ์ รก ทีท่ รงดารงพระอิสริยยศที่ “สยามบรมราชกุมารี” แห่งราชวงศ์จักรี อน่ึงในการสถาปนาพระอิสริยยศสาหรับพระ
บรมวงศานุวงศฝ์ ่ ายใน ตัง้ แต่เริม่ ตัง้ กรุงรัตนโกสินทร์จนถึงปั จจุบัน การสถาปนาพระยศ “สมเด็จพระ” นัน้ สว่ นใหญจ่ ะเป็นการสถาปนาพระ
ยศของสมเด็จพระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง สมเดจ็ พระบรมอัยยิกาเธอ พระวิมาดาเธอ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ ในรัชกาลต่าง ๆ แต่การ
สถาปนาในครัง้ นีถ้ อื เป็นครัง้ แรกทีม่ ีการสถาปนาสมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ า ข้ึนเป็น “สมเด็จพระ” จึงเป็นพระเกยี รตยิ ศทีส่ งู ยิง่

๒ เมษายน
วันคล้ายวนั พระราชสมภพสมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้
กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

พระอัจฉรยิ ภาพ

ด้านภาษา พระองคท์ รงมคี วามรู้ทางดา้ นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ทรงสามารถรบั สัง่ เป็นภาษาอังกฤษ ภาษาฝรงั่ เศส
และภาษาจีน และทรงกาลังศึกษาภาษาเยอรมันและภาษาละตินอีกด้วย ขณะที่ทรงพระเยาวน์ ัน้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ทรงสอนภาษาไทยแกพ่ ระราชโอรสและพระราชธดิ า โดยทรงอ่านวรรณคดีเร่อื งตา่ ง ๆ พระราชทาน และทรงให้พระองค์ทรงคัดบทกลอนต่าง ๆ
หลายตอน ทาให้พระองคโ์ ปรดวิชาภาษาไทยตัง้ แต่นัน้ มา นอกจากนี้ ยังทรงสนพระทัยในภาษาอังกฤษและภาษาบาลีด้วยเม่ือพระองค์ทรงเขา้
เรียนทีโ่ รงเรียนจิตรลดานัน้ ทรงได้รับการถ่ายทอดความรู้ทางด้านภาษาทัง้ ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรัง่ เศส
โดยภาษาไทยนั้น พระองค์ทรงเชี่ยวชาญทั้งด้านหลักภาษา วรรณคดี และศิลปะไทย เม่ือทรงจบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พระองค์พอรู้แน่ว่า
อยา่ งไรก็คงไม่ได้เรียนแผนกวิทยาศาสตร์ จึงพยายามหัดเรียนภาษาบาลี อ่านเขียนอักษรขอม เน่ืองจากในสมัยนั้น ผู้ที่จะเรียนภาษาไทยให้
กว้างขวาง ลึกซ้ึง จะต้องเรียนทั้งภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร ซ่ึงภาษาบาลีนั้น เป็นภาษาที่พระองค์สนพระทัยตัง้ แต่ทรงพระเยาว์ แต่ได้เริ่ม
เรียนอยา่ งจริงจังในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จนสามารถจาการแจกวิภัตติเบ้ืองต้นทีส่ าคัญได้ และเขา้ พระทัยโครงสร้างและลักษณะทัว่ ไป
ของภาษาบาลไี ด้ นอกจากนี้ ยังทรงเลือกเรยี นภาษาฝรัง่ เศสแทนการเรียนเปียโน เน่ืองจากมีพระราชประสงค์ที่จะอ่านหนังสือภาษาฝรัง่ เศสที่มี
อยูใ่ นตู้หนังสือมากกว่าการซ้อมเปียโน เม่ือทรงเข้าศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย นั้น พระองค์ทรงเลือกเรียนสาขา
ประวัติศาสตร์เป็นวิชาเอก และวิชาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤตเป็นวิชาโท ทาให้ทรงศึกษาวิชาภาษาไทยในระดับชั้นสูงและ
ละเอียดลึกซ้ึงยิ่งข้ึนทัง้ ด้านภาษาและวรรณคดี สว่ นภาษาบาลีและสันสกฤตนั้น ทรงศึกษาทั้งวิธีการแบบดัง้ เดิมของไทย คือ แบบที่เรียนกันใน
พระอารามต่าง ๆ และแบบภาษาศาสตร์ซ่ึงเป็นวิธีการตะวันตก ตัง้ แต่ไวยากรณข์ ัน้ พ้ืนฐานไปจนถึงขั้นสูง และเรียนตามวิธีการอินเดียโบราณ
เป็นพเิ ศษในระดับปรญิ ญาโท ซ่ึงรฐั บาลอนิ เดียได้สง่ ศาสตราจารย์ ดร. สัตยพรต ศาสตรี มาถวายพระอกั ษรภาษาสันสกฤต โดยวิทยานิพนธ์ใน
ระดับปริญญาโทของพระองค์ เร่ือง ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท นัน้ ยังได้รับการยกยอ่ งจากมหามกุฏราชวิทยาลัยว่า เป็นวิทยานิพนธ์ที่
แสดงถึงพระปรีชาสามารถ ในภาษาบาลีพุทธวจนะเป็นพิเศษ พระปรีชาสามารถทางด้านภาษาของพระองค์นั้นเป็นที่ประจักษ์ จึงได้รับการ
ทูลเกล้าถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางด้านภาษาจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ เช่น มหาวิทยาลัยรามคาแหง
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ มหาวทิ ยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซีย มหาวิทยาลัยบกั กิงแฮม สหราชอาณาจกั ร เป็นต้น

๒ เมษายน
วันคล้ายวนั พระราชสมภพสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

พระอัจฉรยิ ภาพ

ด้านดนตรี พระองค์ทรงเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทยผู้หน่ึง โดยทรงใช้เคร่ืองดนตรีไทยได้ทุกชนิด แต่ที่โปรดทรงอยู่ประจา
คือ ระนาด ซอ และฆอ้ งวง โดยเฉพาะระนาดเอก พระองค์ทรงเริ่มหัดดนตรีไทย ในขณะที่ทรงศึกษาอยูช่ ัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนจิตรลดา
โดยทรงเลือกหดั ซอด้วงเป็นเคร่อื งดนตรชี นิ้ แรก[24] และได้ทรงดนตรีไทยในงานปิดภาคเรียนของโรงเรียน รวมทัง้ งานวันคืนสู่เหยา้ ร่วมกับวง
ดนตรจี ิตรลดาของโรงเรียนจิตรลดาด้วย หลังจากทีท่ รงเขา้ ศึกษาในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย พระองค์
ทรงเขา้ รว่ มชมรมดนตรไี ทยของสโมรสรนิสิตจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ โดยทรงเล่นซอด้วงเป็นหลัก และทรงเริ่มหัดเล่น
เคร่ืองดนตรีไทยชิ้นอ่ืน ๆ ด้วยในขณะที่ทรงพระเยาว์ เคร่ืองดนตรีที่ทรงสนพระทัยนั้น ได้แก่ ระนาดเอกและซอสามสาย ซ่ึงพระองค์ทรงเริ่ม
เรียนระนาดเอกอยา่ งจริงจังเม่อื ปี พ.ศ. 2528 หลงั จากการเสด็จทรงดนตรีไทย ณ บา้ นปลายเนิน ซ่ึงเป็นวังของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้า
ฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ โดยมี สิริชัยชาญ พักจารูญ เป็นอาจารยผ์ ูถ้ วายการสอน พระองค์ทรงเริ่มเรียนตัง้ แต่การจับไม้ระนาด การตี
ระนาดแบบต่าง ๆ และทา่ ทีป่ ระทับขณะทรงระนาด และทรงเริม่ เรียนการตีระนาดตามแบบแผนโบราณ กล่าวคือ เริ่มต้นด้วยเพลงต้นเพลงฉิ่ง
สามชนั้ แลว้ จงึ ทรงตอ่ เพลงอ่ืน ๆ ตามมา ทรงทาการบา้ นด้วยการไล่ระนาดทุกเช้า หลังจากบรรทมต่ืนภายในห้องพระบรรทม จนกระทัง่ พ.ศ.
2529 พระองค์จึงทรงบรรเลงระนาดเอกร่วมกับครูอาวุโสของวงการดนตรีไทยหลายท่านต่อหน้าสาธารณชนเป็นครั้งแรก ในงานดนตรีไทย
อุดมศึกษา ครัง้ ที่ 17 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเพลงที่ทรงบรรเลง คือ เพลงนกขมิน้ (เถา)ในด้านการขับร้อง พระองค์ทรงสนพระทัยใน
ด้านการขับร้องเพลงไทย โดยทรงเริ่มฝึกหัดการขับร้องด้วยพระองคเ์ องเม่ือครัง้ ยังทรงศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนจิตรลดา ทรงเริม่ ต้นเรียนการขับ
ร้องกบั เจริญใจ สนุ ทรวาทิน อาจารยป์ ระจาชมรมดนตรีไทย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย และทรงพระราชนิพนธบ์ ทขับร้องเพลงไทย
สาหรับพระราชทานให้แก่สถาบันการศึกษาและวงดนตรีไทยเพ่ือนาไปบรรเลงและขับร้องเน่ืองในโอกาสต่าง ๆ นอกจากดนตรีไทยแล้ว
พระองค์ยังทรงดนตรีสากลด้วย โดยทรงเริ่มเรียนเปียโนตัง้ แต่พระชนมายุ 10 พรรษา แต่ได้ทรงเลิกเรียนหลังจากนัน้ 2 ปี และทรงฝึกเคร่ือง
ดนตรสี ากล ประเภทเคร่อื งเป่ า จากพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จนสามารถทรงทรัมเป
ตนาวงดุริยางคใ์ นงานคอนเสริ ์ตสายใจไทย และทรงระนาดฝรงั่ นาวงดุรยิ างคใ์ นงานกาชาดคอนเสริ ์ต

๒ เมษายน
วันคลา้ ยวนั พระราชสมภพสมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

พระอจั ฉรยิ ภาพ

ด้านพระราชนิพนธ์ พระองคโ์ ปรดการอ่านหนังสือและการเขียนมาตัง้ แต่ทรงพระเยาว์ รวมกับพระปรีชาสามารถทางด้านภาษาทั้งภาษาไทย
และต่างประเทศ ร้อยแกว้ และร้อยกรอง ดงั นัน้ จงึ ทรงพระราชนิพนธ์หนงั สอื ประเภทต่าง ๆ ออกมามากกวา่ 100 เล่ม ซ่งึ มีหลายหลากประเภททัง้ สารคดี
ทอ่ งเทีย่ วเม่อื เสดจ็ พระราชดาเนินเยือนต่างประเทศ เช่น เกล็ดหิมะในสายหมอก ทัศนะจากอินเดีย มนต์รักทะเลใต้ ประเภทวิชาการและประวัติศาสตร์
เช่น บนั ทกึ เร่อื งการปกครองของไทยสมยั อยธุ ยาและตน้ รัตนโกสินทร์ กษัตริยานุสรณ์ หนงั สอื สาหรับเยาวชน เช่น แกว้ จอมแกน่ แกว้ จอมซน หนังสือที่
เกี่ยวขอ้ งกับพระบรมวงศานุวงศ์ไทย เช่น สมเด็จแม่กับการศึกษา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีกับพระราชกรณียกิจพระราชจริยาวัตรด้าน
การศึกษา ประเภทพระราชนิพนธ์แปล เช่น หยกใสร่ายคา ความคิดคานึง เก็จแกว้ ประกายกวี และหนังสือทัว่ ไป เช่น นิทานเร่ืองเกาะ (เร่ืองนี้ไมม่ ีคติ)
เร่ืองของคนแขนหัก เป็นต้น และมีลักษณะการเขียนที่คล้ายคลึงกับพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวคือ ในพระราช
นิพนธ์เร่ืองต่าง ๆ นอกจากจะแสดงพระอารมณข์ ันแล้ว ยังทรงแสดงการวิพากษ์ วิจารณใ์ นแงต่ ่าง ๆ เป็นการแสดงพระมติส่วนพระองค์ นอกจากพระ
นาม "สิรินธร" แล้ว พระองค์ยังทรงใช้นามปากกาในการพระราชนิพนธ์หนังสืออีก 4 พระนาม ได้แก่ "ก้อนหินก้อนกรวด" เป็นพระนามแฝงที่ทรง
หมายถงึ พระองคแ์ ละพระสหาย สามารถแยกได้เป็น กอ้ นหิน หมายถึง พระองค์เอง ส่วนกอ้ นกรวด หมายถึง กุณฑิกา ไกรฤกษ์ พระองคม์ ีรับสัง่ ถึงพระ
นามแฝงนี้ว่า “เราตัวโตเลยใช้ว่า ก้อนหิน หวานตัวเล็ก เลยใช้ว่า กอ้ นกรวด รวมกันจึงเป็น ก้อนหิน-ก้อนกรวด” นามปากกานี้ ทรงใช้ครั้งเดียวตอน
ประพันธบ์ ทความ "เร่ืองจากเมืองอสิ ราเอล" เม่อื ปี พ.ศ. 2520 "แว่นแกว้ " เป็นช่ือทีพ่ ระองค์ทรงตัง้ ข้ึนเอง ซ่ึงพระองคม์ ีรับสัง่ ถึงพระนามแฝงนี้ว่า "ช่ือ
แว่นแกว้ นีต้ ัง้ เอง เพราะตอนเด็ก ๆ ช่ือลูกแกว้ ตัวเองอยากช่ือแกว้ ทาไมถึงเปลีย่ นไปไมร่ ู้เหมือนกัน แล้วก็ชอบเพลงน้อยใจยา นางเอกช่ือ แว่นแกว้ "
พระนามแฝง แว่นแกว้ นี้ พระองค์เริ่มใช้เม่ือปี พ.ศ. 2521 เม่ือทรงพระราชนิพนธ์และทรงแปลเร่ืองสาหรับเด็ก ได้แก่ แกว้ จอมซน แกว้ จอมแกน่ และ
ขบวนการนกกางเขน"หนูน้อย" พระองค์มีรับสั่งถึงพระนามแฝงนี้ว่า "เรามีช่ือเล่นที่เรียกกันในครอบครัวว่า น้อย เลยใช้นามแฝงว่า หนูน้อย" โดย
พระองค์ทรงใช้เพียงครั้งเดียวในบทความเร่ือง “ป๋ องที่รัก” ตีพิมพใ์ นหนังสือ 25 ปีจิตรลดา เม่ือปี พ.ศ. 2523และ "บันดาล" พระองค์มีรับสั่งถึงพระ
นามแฝงนีว้ ่า "ใช้ว่า บันดาลเพราะคานี้ผุดข้ึนมาในสมอง เลยใช้เป็นนามแฝง ไมม่ ีเหตุผลอะไรในการใช้ช่ือนี้เลย" ซ่ึงพระองค์ทรงใช้ในงานแปลภาษา
อังกฤษเป็นภาษาไทยที่ทรงทาให้สานักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
กระทรวงศึกษาธิการ เม่ือปี พ.ศ. 2526นอกจากนี้ ยังทรงพระราชนิพนธ์เพลงแป็นจานวนมาก โดยบทเพลงที่ดังและนามาขับร้องบอ่ ยครัง้ ได้แก่ เพลง
ส้มตา รวมทั้ง ยังทรงประพันธ์คาร้องในบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ได้แก่ เพลงรัก และเพลงเมนไู ข่

๒ เมษายน
วนั คลา้ ยวนั พระราชสมภพสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสน
พระทัยการอ่านและการพัฒนาห้องสมุด ทรงรับสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯไว้ในพระ
ราชูปถัมภ์ เม่ือวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2519 หลายโอกาสที่เสด็จพระราชดาเนินต่างประเทศ
ได้เสด็จเยี่ยมและทรงดูงานห้องสมุดชั้นนาหลายแห่ง ซ่ึงได้พระราชทานข้อแนะนาแก่สมาคม
ห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ และบรรณารักษ์ไทยในการนาความรู้ไปพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนและ
ห้องสมดุ ประชาชนรวมทงั้ ห้องสมดุ ประชาชนเฉลิมราชกมุ ารี ทีเ่ ป็นแหล่งเรียนร้เู พ่อื ขยายโอกาสให้
ประชนในการพฒั นาการร้หู นังสอื นอกจากนยี้ ังทรงพระกรณุ าเสดจ็ พระราชดาเนนิ เป็นองคป์ ระธาน
ในการประชุมสามัญประจาปีของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯเสมอมา รวมทั้งได้เสด็จพระ
ราชดาเนนิ แทนพระองคพ์ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ทรงเป็นประธานในโอกาสทีป่ ระเทศไทยเป็น
เจ้าภาพการประชมุ สมาพนั ธส์ มาคมห้องสมดุ ฯนานาชาติ (IFLA) และมีพระราชดารัสเปิดการประชุม
IFLA ครงั้ ที่ 65 ทีก่ รงุ เทพมหานครในปี 1999


Click to View FlipBook Version