โครงร่างแผนการค้นคว้าอสิ ระ
เรื่อง
ภาวะผู้นาทางวชิ าการของผู้บริหาร
ในระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
ของโรงเรียนขนาดกลาง
สถานศึกษาสังกดั สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง
Instructional Leadership of Executives
in the student support system of medium-sized schools
Educational institutions under Ang Thong Secondary Education Service Area Office
เสนอ
อาจารย์ดร.มชี ัย ออสุวรรณ
โดย
นายจีระศักด์ิ จนั ทรังษี
รหัสนิสิต 6414651702 ห้อง 1
สาขาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน
บทที่ 1
บทนา
ความสาคญั ของปัญหา
สถานการณ์ในปัจจุบนั ของสังคมยุคขอ้ มูลข่าวสาร ความเจริญกา้ วหน้าทางสื่อดิจิตลั ไดเ้ ขา้ มามี
บทบาทในวิถีชีวิตของผูค้ นในสังคมทุกรูปแบบ ทาให้บุคคลในประเทศไทย โดย เฉพาะในเด็กและ
เยาวชน ตอ้ งไดร้ ับรู้และเผชิญกบั ความเปลี่ยนแปลงของสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เต็มไปด้วย
สถานการณ์ปัญหามากมาย ท้งั ทางสังคมและทางการศึกษา ทาให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมแตกต่างไป
จากเด็กและเยาวชนในอดีตที่ผ่านมา แม้ว่าจะมีการดูแลอย่างดีจากผูป้ กครอง ครูอาจารย์จะให้ความ
ปรารถนาดีอย่างมากเท่าไรก็ตาม ก็ไม่อาจทาให้เด็กและเยาวชนน้ันมีพฤติกรรมที่สังคมพึงที่คาดหวงั ได้
สถานศึกษาเป็นองคก์ รหน่ึงที่มีความสาคญั ท่ีจดั การศึกษาใหก้ บั เดก็ และเยาวชน การบริหารงานวชิ าการของ
ผบู้ ริหารในโรงเรียนก็มีความสาคญั ในการช่วยพฒั นาให้กบั นกั เรียน ท่ีสอดคลอ้ งกบั วิสยั ทศั น์ ในการพฒั นา
ประเทศ ดงั น้ี “ประเทศไทยมีความมนั่ คง มงั่ คง่ั ยง่ั ยืน เป็ นประเทศท่ี พฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ ซ่ึงเป็นยทุ ธศาสตร์ที่เนน้ การวางรากฐานการพฒั นา ทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศอยา่ งเป็ น
ระบบ โดยมุ่งเนน้ การพฒั นาและยกระดบั คนในทุกมิติและในทุกช่วงวยั ให้เป็ นทรัพยากรมนุษยท์ ี่ดี เก่ง
และมีคุณภาพพร้อมขบั เคล่ือนการพฒั นาประเทศไปขา้ งหนา้ ไดอ้ ยา่ งเต็มศกั ยภาพ ซ่ึง “คนไทยในอนาคต
จะตอ้ งมีความพร้อมท้งั กาย ใจ สติปัญญา มีพฒั นาการท่ีดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวยั มีจิต
สาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผูอ้ ่ืน มธั ยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็ น
พลเมืองดีของชาติ มีหลกั คิดที่ถูกตอ้ ง มีทกั ษะท่ีจาเป็ นในศตวรรษที่ 21 มีทกั ษะส่ือสารภาษาองั กฤษและ
ภาษาที่ 3 และอนุรักษภ์ าษาทอ้ งถ่ิน มีนิสยั รักการเรียนรู้และการพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ สู่การ
เป็นคนไทย ที่มีทกั ษะสูง เป็ นนวตั กร นกั คิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่และอื่นๆ โดยมี สมั มาชีพตาม
ความถนดั ของตนเอง” (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน, 2563:1)
ในท่ีน้ี ตามกฎกระทรวงซ่ึงกาหนดหลกั เกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารและการจดั
การศึกษาพ.ศ. 2550 อาศยั อานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 39 วรรคสองแห่ง พระราชบญั ญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ซ่ึงแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2545)
ไดร้ ะบุวา่ การบริหารและการจดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ใหต้ ามเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพื่อใหส้ ถานศึกษาสามารถ
ดาเนินการในการบริหารจดั การศึกษาไดโ้ ดยอิสระ สอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียน สถานศึกษา
ชุมชน ทอ้ งถ่ิน และการมีส่วนร่วมจากผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียทุกฝ่ าย โดยกาหนดขอบข่ายและภาระกิจการ
บริหารสถานศึกษาไว้ 4 งาน คือ งานวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล และงาน
บริหารงานทว่ั ไป ในงานดงั กล่าวท้งั 4 ดา้ นน้ี งานวชิ าการถือวา่ เป็นงานหลกั โดยตรงเม่ือพจิ ารณาให้ตรงกบั
วตั ถุประสงคห์ ลกั ของการบริหารสถานศึกษา เป็ นงานท่ีเป็ นไปเพื่อให้นกั เรียนบรรลุจุดมุงหมาย ผู้บริหาร
จะบริหารงานวิชาการให้มีประสิทธิภาพและไดป้ ระสิทธิผลน้นั ตอ้ งเขา้ ใจในงานวิชาการให้แทจ้ ริง รู้จกั
ปัญหาท่ีเกิดข้ึนและสามารถหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาต่างๆน้นั ให้ไดแ้ ละพฒั นางานดา้ นวชิ าการให้ดีย่งิ ข้ึน
ตอ่ ไป 1
กระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดให้มีการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งรอบดา้ น เพื่อดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียนใหถ้ ูกที่ ถูกเวลา เสริมสร้างสมรรถนะ ใหค้ าแนะนาอยา่ งต่อเน่ือง ตลอดถึงการดูแลและสงเคราะห์
นกั เรียนที่อยใู่ นครอบครัวกลุ่มเส่ียง หรือประสบปัญหาต่างๆ โดยมุ่งเน้นพฒั นาผูเ้ รียนอยา่ งทว่ั ถึง ป้องกนั
ไมใ่ หเ้ กิดปัญหากบั นกั เรียนในช่วงวยั เรียนในดา้ นต่างๆ ท่ีมีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ รวมท้งั การพฒั นา
ระบบเครือข่ายผูป้ กครอง ชุมชน องคก์ รท่ีเกี่ยวขอ้ ง และหน่วยงานต่างๆ ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
เป็ นการดาเนินงานที่ช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งเป็ นระบบ มีข้นั ตอนชดั เจน พร้อมท้งั มีวธิ ีการและเครื่องมือท่ีมี
มาตรฐานและมีหลกั ฐานในการทางานที่เชื่อถือและตรวจสอบได้ โดยมีคณะผบู้ ริหารทางวชิ าการ ครูประจา
ช้นั ครูที่ปรึกษา ครูแนะแนว เป็ นบุคลากรหลกั ในการดาเนินงานโดยมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ ายที่
เกี่ยวขอ้ งท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา เช่น ผูบ้ ริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง ชุมชน
และครูทุกคน มีวิธีการที่มีมาตรฐาน ถูกตอ้ งแม่นยาและสามารถตรวจสอบได้ (สานกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน.2552:9)
การบริหารงานวิชาการ ท่ีมีการจดั กิจกรรมทุกสิ่งทุกอยา่ งที่เกี่ยวกบั การปรับปรุง การพฒั นา การ
เรียนการสอนให้ไดผ้ ลดี และมีประสิทธิภาพใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดกบั ผเู้ รียน น้นั จะมีส่วนร่วมในระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้วย (ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์,2561 : 16) เช่นเดียวกับ จันทรานี สงวนนาม
(2561:143) ไดใ้ หค้ วามสาคญั ของงานวชิ าการไวว้ า่ งานวชิ าการเป็ นหวั ใจสาคญั ของสถานศึกษาที่ผบู้ ริหาร
จะตอ้ งให้ความสาคญั เป็ นอยา่ งยิ่ง ซ่ึงงานวิชาการจะส่งผลต่อนกั เรียน โดยให้ครูมีส่วนร่วมในระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียน ครูมีความตระหนกั และร่วมมือพฒั นางานวิชาการอยา่ งจริงจงั สามารถนาปรัชญาของ
สถานศึกษาไปสู่การปฏิบตั ิตามโครงการต่างๆไดอ้ ย่างดียิ่งและนักเรียนสามารถนาความรู้ท่ีครูให้ไปใช้
ประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
นโยบาย สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสิงห์บุรีอ่างทอง (มธั ยมศึกษาเขต 5) ไดก้ าหนด
แนวทางพฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนไวด้ งั น้ี 1) ผบู้ ริหารโรงเรียนตอ้ งเห็นความสาคญั ของระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียนอย่างจริงจงั และให้การสนบั สนุนดาเนินการต่อเน่ือง 2) ครูทุกคนและผูท้ ่ีเกี่ยวขอ้ งตอ้ ง
ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งจริงจงั และมีความยนิ ดีในการพฒั นานกั เรียน
ในทุกๆดา้ น 3) คณะทางานหรือคณะกรรมการทุกชุดตอ้ งมีการประสานงานอยา่ งใกลช้ ิด ทางานเป็ นทีมเพ่ือ
พฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดงั น้ัน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสิงห์บุรีอ่างทอง
(มธั ยมศึกษาเขต 5) จึงกาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนโดยโรงเรียน
ตอ้ งมีการวางแผนท่ีชดั เจนเพื่อพฒั นานกั เรียนให้เป็ นคนท่ีมีคุณภาพท้งั ดา้ นร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา
ท้งั น้ีผบู้ ริหารงานวชิ าการมีความสาคญั เป็ นอยา่ งย่งิ ในการพฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ให้ไดต้ ามที่
สังคมมุ่งหวงั ( สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง (มธั ยมศึกษาเขต 5).ออนไลน์ คู่มือครูท่ี
ปรึกษาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน กลุ่มส่งเสริมการจดั การศึกษา)
2
จากความสาคญั ดงั กล่าวผวู้ ิจยั เห็นถึงความสาคญั ของการบริหารงานวิชาการของผบู้ ริหารท่ีมีส่วน
ร่วมในระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน จึงไดศ้ ึกษา ภาวะผูน้ าทางวิชาการของผูบ้ ริหารในระบบดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียนของโรงเรียนขนาดกลางสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง เพ่ือ
เป็ นแนวทางในการนาไปปฏิบตั ิให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อนกั เรียนและการบริหารวิชาการในระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียนของผบู้ ริหารงานวชิ าการ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคต์ ามที่กาหนดไว้
คาถามงานวจิ ยั
งานวจิ ยั คร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ต้งั คาถามการวจิ ยั ดงั น้ี
1. ภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผบู้ ริหารและครูผสู้ อนในโรงเรียนขนาดกลางสถานศึกษา
สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาอา่ งทองอยใู่ นระดบั ใด
2. การบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน อยใู่ นระดบั ใด และภาวะผนู้ าทาง
วชิ าการมีความสัมพนั ธ์กบั การช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียนขนาดกลางใน
สถานศึกษาสงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง อยา่ งไร
วตั ถุประสงค์ในการวจิ ยั
การวจิ ยั คร้ังน้ี มีวตั ถุประสงคใ์ นการวจิ ยั ดงั น้ี
1. เพื่อศึกษาภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผบู้ ริหารและครูผสู้ อนในระบบดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียนของโรงเรียนขนาดกลางในสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา
มธั ยมศึกษาอา่ งทอง อยูใ่ นระดบั ใด
2. เพอ่ื ศึกษาภาวะผนู้ าทางวชิ าการมีความสัมพนั ธ์กบั การบริหารงานระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียนขนาดกลางในสถานศึกษาสงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษาอา่ งทอง อยา่ งไร
ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับในการวจิ ยั
การวจิ ยั เร่ือง ภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผบู้ ริหารในระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียนขนาด
กลางสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทองประโยชน์คาดวา่ ท่ีจะไดร้ ับ
ทาให้ทราบถึงภาวะผนู้ าทางวชิ าการในระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของผูบ้ ริหารฝ่ ายวชิ าการและครูผูส้ อน
ในสถานศึกษา ซ่ึงสามารถใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนปรับปรุง พฒั นาทกั ษะการบริหารระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียนของผูบ้ ริหารสถานศึกษา และครูผูส้ อน รวมท้งั หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งสามารถนาผลการ
คน้ ควา้ อิสระไปใช้เป็ นขอ้ มูลประกอบแนวทางในการวางแผนพฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนให้ไดม้ ี
ประสิทธิภาพและไดป้ ระสิทธิผลต่อไป
3
สมมตฐิ านในการวจิ ยั
การวจิ ยั คร้ังน้ี มีสมมติฐานในการวจิ ยั ดงั น้ี
1. กระบวนการองคป์ ระกอบภาวะผนู้ าในการบริหารงานวชิ าการของผบู้ ริหารและครูผสู้ อนใน
การมีส่วนร่วมระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียนขนาดกลางในสถานศึกษาสังกดั
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทองมี 7 ดา้ นของกระบวนการ
2. แนวทางการพฒั นาภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผบู้ ริหารและครูผสู้ อนในการมี ส่วนร่วมใน
ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียนขนาดกลางในสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษาอา่ งทองมี 7 ดา้ นในการพฒั นา
ขอบเขตการวจิ ยั
การวจิ ยั คร้ังน้ี มีขอบเขตการวจิ ยั ดงั น้ี
ประชากรและกล่มุ ตัวอย่างทใี่ ช้ในการค้นคว้าอสิ ระ
1. ประชากรที่ใช้ในการค้นควา้ อิสระ ประกอบด้วย ผู้บริหารงานวิชาการและครูผูส้ อนใน
สถานศึกษาโรงเรียนขนาดกลางสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาจงั หวดั อ่างทอง
8 โรงเรียน ปี การศึกษา 2565 จานวน 220 คน
2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการค้นควา้ อิสระ ประกอบด้วย ผูบ้ ริหารงานวิชาการและครูผูส้ อนใน
สถานศึกษาโรงเรียนขนาดกลางสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาจงั หวดั อ่างทอง
8 โรงเรียน ปี การศึกษา 2565 กาหนดขนาดกลุ่มตวั อยา่ งโดยใชต้ ารางเทียบหากลุ่มตวั อยา่ งของ
เครจซ่ีละมอร์แกน ( Krejcie and Morgan.1970:607-610) และการสุ่มแบบแบ่งช้นั ตามสัดส่วน
(Proportional Stratified Random Sampling ) โดยใช้ขนาดของสถานศึกษาเป็ นช้ันในการแบ่ง
ไดก้ ลุ่มตวั อยา่ ง จานวน 140 คน
ภาพประกอบ 1 ตารางเทียบหากลุ่มตวั อยา่ งของเครจซ่ีและมอร์แกน
4
ตัวแปรทศี่ ึกษา
1. ตัวแปรต้น ไดแ้ ก่
1.1 เพศ
- ชาย
- หญิง
1.2 ระดบั การศึกษา
- ปริญญาตรี
- สูงกวา่ ปริญญาตรี
1.3 ประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงาน
- ต่ากวา่ 10 ปี
- 10 – 20 ปี
- สูงกวา่ 20 ปี ข้ึนไป
1.4 สถานภาพ
- ผบู้ ริหารฝ่ ายวชิ าการ
- ครูผสู้ อน
2. ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของผบู้ ริหารงานวชิ าการและ
ครูผสู้ อน สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาจงั หวดั อา่ งทอง ประกอบดว้ ย
2.1 การรู้จกั นกั เรียนเป็นรายบุคคล
2.2 การคดั กรองนกั เรียน
2.3 การส่งเสริมนกั เรียน
2.4 การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหานกั เรียน
2.5 การส่งต่อนกั เรียน
5
กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั
การใชร้ ะบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของผบู้ ริหารวชิ าการและครูผสู้ อนในสถานศึกษา โรงเรียนใน
สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาจงั หวดั อ่างทอง ไดก้ าหนดกรอบแนวคิดในการคน้ ควา้ อิสระ
ตามนโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ( 2562 : 17 – 22 )
ดงั ภาพประกอบ 2 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั
ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม
ภาวะผนู้ าทางวชิ าการ การรู้จกั นกั เรียนเป็นรายบุคคล
การคดั กรองนกั เรียน
การส่งเสริมนกั เรียน
การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหานกั เรียน
การส่งต่อนกั เรียน
นิยามศัพท์
การบริหารวิชาการ หมายถึง การปฏิบตั ิงานในหน้าที่ของผูบ้ ริหารโรงเรี ยนเกี่ยวกบั การวาง
แผนการดาเนินงานวิชาการ การจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา การพฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษา
การพฒั นากระบวนการเรียนรู้การวดั ผลและประเมินผล (เดชา ลุนาวงค์ ,2561)
ผู้บริหารงานวิชาการ หมายถึง ผบู้ งั คบั บญั ชาหรือรักษาการแทนภายในสถานศึกษาที่มีอานาจและ
หน้าที่บริหารจดั การทรัพยากรท่ีมีอยูใ่ นสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาจงั หวดั
อ่างทอง
ครูผู้สอน หมายถึง บุคลากรท่ีทาหน้าท่ีสอนในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มธั ยมศึกษาจงั หวดั อา่ งทอง
สถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาจังหวัดอ่างทอง หมายถึง โรงเรียนใน
สังกดั ของรัฐบาลท่ีเปิ ดสอนระดบั มธั ยมศึกษาขนาดกลางของสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา
จงั หวดั อ่างทอง 8 โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรียนป่ าโมกขว์ ทิ ยาภูมิ โรงเรียนแสวงหาวิทยาคม โรงเรียนราชสถิต
วทิ ยา โรงเรียนบางเสด็จวิทยาคม โรงเรียนโพธ์ิทองพิทยาคม โรงเรียนวเิ ศษชยั ชาญวิทยาคม โรงเรียนริ้ว
หวา้ วทิ ยาคม และโรงเรียนสามโกว้ ทิ ยาคม
6
ระดับการศึกษา หมายถึง ระดบั การศึกษาสูงสุดของครูผูส้ อนในสถานศึกษาสังกดั สานักงานเขต
พ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาจงั หวดั อา่ งทอง ประกอบดว้ ย 2 ระดบั คือ
1. ครูผสู้ อนในสถานศึกษา จบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี
2. ครูผสู้ อนในสถานศึกษา จบการศึกษาระดบั สูงกวา่ ปริญญาตรี
ประสบการณ์ในการทางาน หมายถึง ระยะเวลาในการปฏิบตั ิงานของครู
1. ประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานของครูผสู้ อนในสถานศึกษา 1 – 5 ปี
2. ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานของครูผูส้ อนในสถานศึกษา 6 – 10 ปี ประสบการณ์ใน
การปฏิบตั ิงานของครูผสู้ อนในสถานศึกษา 10 ปี ข้ึนไป
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็ นกระบวนการดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งเป็ นระบบ มีข้นั ตอน
มีครูที่ปรึกษาเป็ นบุคลากรหลกั ในการดาเนินงาน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ งท้งั
ภายในและนอกสถานศึกษา ไดแ้ ก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง ชุมชน ผูบ้ ริหาร และครูทุก
คน มีวธิ ีการและเครื่องมือที่ชดั เจน มีมาตรฐานคุณภาพ และมีหลกั ฐานการทางานที่ตรวจสอบได้ (กลุ่ม
ส่งเสริมการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสิงห์บุรี อ่างทอง,คู่มือครูท่ีปรึกษา,2561)
กระบวนการและข้นั ตอนของระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน มีองคป์ ระกอบ 5 ประการ คือ
1. การรู้จกั นกั เรียนเป็ นรายบุคคล
2. การคดั กรองนกั เรียน
3. การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา
4. การพฒั นาและส่งเสริมนกั เรียน
5. การส่งต่อ
1. การรู้จักนักเรียนเป็ นรายบุคคล
ดว้ ยความแตกต่างของนกั เรียนแต่ละคนที่มีพื้นฐานความเป็ นมาของชีวิตที่ไม่เหมือนกนั
หล่อหลอม ให้เกิดพฤติกรรมหลากหลายรูปแบบ ท้งั ดา้ นบวกและดา้ นลบ ดงั น้นั การรู้จกั ขอ้ มูลที่จาเป็ น
เกี่ยวกบั ตวั นกั เรียน จึงเป็ นสิ่งสาคญั ที่จะช่วยให้ครูที่ปรึกษามีความเขา้ ใจนกั เรียนมากข้ึนสามารถนา
ขอ้ มูลมาวิเคราะห์เพื่อการ คดั กรองนกั เรียน เป็ นประโยชน์ในการส่งเสริม การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา
ของนกั เรียนไดอ้ ยา่ งถูกทาง ซ่ึงเป็ นขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์
2. การคัดกรองนักเรียน
การคดั กรองนกั เรียน เป็ นการพิจารณาขอ้ มูลที่เกี่ยวกบั ตวั นกั เรียน เพื่อการจดั กลุ่มนกั เรียน
อาจนิยามกลุ่มได้ 4 กลุ่ม คือ
กลุ่มปกติ คือ นกั เรียนที่ไดร้ ับการวเิ คราะห์ขอ้ มูลต่าง ๆ ตามเกณฑก์ ารคดั กรองของโรงเรียนแลว้
อยใู่ นเกณฑก์ ลุ่มปกติ ซ่ึงควรไดร้ ับการสร้างเสริมภูมิคุม้ กนั และส่งเสริมพฒั นา
กลุ่มเสี่ยง คือ นกั เรียนที่จดั อยูใ่ นเกณฑข์ องกลุ่มเสี่ยงตามเกณฑ์การคดั กรองของโรงเรียน ซ่ึง
โรงเรียนตอ้ งให้การป้องกนั หรือแกไ้ ขปัญหาตามแต่กรณี
กลุ่มมีปัญหา คือ นกั เรียนที่จดั อยูใ่ นเกณฑ์ของกลุ่มมีปัญหาตามเกณฑก์ ารคดั กรองของโรงเรียน
ซ่ึงโรงเรียนตอ้ งช่วยเหลือและแกป้ ัญหาโดยเร่งด่วน 7
กลุ่มพิเศษ คือ นกั เรียนที่มีความสามารถพิเศษ มีความเป็ นอจั ฉริยะ แสดงออกซ่ึงความสามารถอนั
โดดเด่นดา้ นใดดา้ นหน่ึงหรือหลายดา้ น อยา่ งเป็ นที่ประจกั ษเ์ มื่อเทียบกบั ผูม้ ีอายใุ นระดบั เดียวกนั ภายใต้
สภาพแวดลอ้ มเดียวกนั ซ่ึงโรงเรียนตอ้ งให้การส่งเสริมนกั เรียนไดพ้ ฒั นาศกั ยภาพความสามารถพิเศษน้นั
จนถึงข้นั สูงสุด
การจดั กลุ่มนกั เรียนน้ี มีประโยชน์ต่อครูที่ปรึกษาในการหาวิธีการเพื่อดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง โดยเฉพาะการแกไ้ ขปัญหาใหต้ รงกบั ปัญหาของนกั เรียนยิง่ ข้ึน และมีความรวดเร็วในการ
แกไ้ ขปัญหา เพราะ มีขอ้ มูลของนกั เรียนในดา้ นต่าง ๆ ซ่ึงหากครูที่ปรึกษาไม่ไดค้ ดั กรองนกั เรียนเพื่อการ
จดั กลุ่มแลว้ ความชดั เจนเป้าหมายการแกป้ ัญหาของนกั เรียนจะมีนอ้ ยลง มีผลต่อความรวดเร็วในการ
ช่วยเหลือ บางกรณีตอ้ งแกไ้ ขโดยเร่งด่วน
3. การป้องกันและแก้ไขปัญหา
ในการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ครูควรใหค้ วามเอาใจใส่กบั นกั เรียนทุกคนอยา่ งเท่าเทียมกนั แต่
สาหรับนกั เรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหาน้ัน จาเป็ นอยา่ งมากที่ตอ้ งให้ความดูแลเอาใจใส่อยา่ งใกลช้ ิดและหา
วธิ ีการช่วยเหลือท้งั การป้องกนั และการแกไ้ ขปัญหา โดยไม่ปล่อยปละละเลยนกั เรียนจนกลายเป็ นปัญหา
ของสังคม การสร้างภูมิคุม้ กนั การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาของนกั เรียน จึงเป็ นภาระงานที่ยิง่ ใหญ่และมี
คุณค่าอยา่ งมากในการพฒั นาให้นกั เรียนเติบโตเป็ นบุคคลที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป
การป้องกนั และการแกไ้ ขปัญหาใหก้ บั นกั เรียนน้ันมีหลายเทคนิค วธิ ีการ แต่สิ่งที่ครูประจา
ช้นั / ครูที่ปรึกษา จาเป็ นตอ้ งดาเนินการมีอยา่ งนอ้ ย 2 ประการ คือ
1. การให้คาปรึกษาเบ้ืองตน้
2. การจดั กิจกรรมเพื่อป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา
4. การพฒั นาและส่งเสริมผู้เรียน
การพฒั นาและส่งเสริมนกั เรียนเป็ นการสนบั สนุนใหน้ กั เรียนทุกคน ไม่วา่ จะเป็ นนกั เรียนกลุ่มปกติ
หรือกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา กลุ่มความสามารถพิเศษ ให้มีคุณภาพมากข้ึน ไดพ้ ฒั นาเต็มศกั ยภาพ มีความ
ภาคภูมิใจในตนเองในดา้ นต่าง ๆ ซ่ึงจะช่วยป้องกนั มิให้นกั เรียนที่อยใู่ นกลุ่มปกติและกลุ่มพิเศษกลายเป็ น
นกั เรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา และเป็ นการช่วยให้นกั เรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหากลบั มาเป็ นนกั เรียนกลุ่มปกติ
และมีคุณภาพ ตามมาตรฐานที่โรงเรียนหรือชุมชนคาดหวงั ต่อไป
การส่งเสริมพฒั นานกั เรียนมีหลายวธิ ีที่โรงเรียนสามารถพิจารณาดาเนินการได้ แต่มีกิจกรรมหลกั
สาคญั ท่ีโรงเรียนตอ้ งดาเนินการ คือ
1. การจดั กิจกรรมโฮมรูม
2. การเยี่ยมบา้ น
3. การจดั ประชุมผปู้ กครองช้นั เรียน (Classroom Meeting)
4. การจดั กิจกรรมเสริมสร้างทกั ษะการดารงชีวิตและกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
8
5. การส่งต่อ
ในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาของนกั เรียนโดยครูที่ปรึกษา อาจมีกรณีที่บางปัญหามีความยากต่อ
การช่วยเหลือ หรือช่วยเหลือแลว้ นกั เรียนมีพฤติกรรมไม่ดีข้ึนก็ควรดาเนินการส่งต่อไปยงั ผูเ้ ชี่ยวชาญ
เฉพาะดา้ นต่อไป เพื่อใหป้ ัญหา ของนกั เรียนไดร้ ับการช่วยเหลืออยา่ งถูกทางและรวดเร็วข้ึน หากปล่อยให้
เป็ นบทบาทหนา้ ที่ของครูที่ปรึกษาหรือครู คนใดคนหน่ึงเพียงลาพงั ความยุง่ ยากของปัญหาอาจมีมากข้ึน
หรือลุกลามกลายเป็ นปัญหาใหญ่โตจนยากต่อการแกไ้ ข ซ่ึงครูประจาช้นั /ครูที่ปรึกษาสามารถดาเนินการ
ไดต้ ้งั แต่กระบวนการรู้จกั นกั เรียนเป็ นรายบุคคล หรือการคดั กรองนกั เรียน ท้งั น้ีข้ึนอยูก่ บั ลกั ษณะปัญหา
ของนกั เรียน ในแต่ละกรณี
การส่งต่อแบ่งเป็ น 2 แบบ คือ
1. การส่งต่อภายใน ครูที่ปรึกษาส่งต่อไปยงั ครูที่สามารถใหก้ ารช่วยเหลือนกั เรียนได้ ท้งั น้ีข้ึนอยู่
กบั ลกั ษณะปัญหา เช่น ส่งต่อครูแนะแนว ครูพยาบาล ครูประจาวชิ า หรือฝ่ ายปกครอง
2. การส่งต่อภายนอก ครูแนะแนวหรือฝ่ ายปกครองเป็ นผูด้ าเนินการส่งต่อไปยงั ผูเ้ ชี่ยวชาญ
ภายนอก หากพิจารณาเห็นวา่ เป็ นกรณีปัญหาที่มีความยากเกินกวา่ ศกั ยภาพของโรงเรียนจะดูแลช่วยเหลือ
ได้
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาจังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง หมายถึง หน่วยงานที่บริหาร
จดั การสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ถึงช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 ในจงั หวดั อ่างทอง
*********************************************
9
บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง
การวจิ ยั และการศึกษาเก่ียวกบั ภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผบู้ ริหารในระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนใน
โรงเรียนขนาดกลางของสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง คร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ได้
ศึกษา คน้ ควา้ รวบรวม หลกั การ แนวคิด ทฤษฎี งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง นาเสนอตามลาดบั หวั ขอ้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
2.1 สภาพท่ัวไปในโรงเรียนขนาดกลางของสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษาอา่ งทอง
2.1.1 การบริหารงานในโรงเรียนขนาดกลางของสถานศึกษาสังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง
2.1.2 การจดั การศึกษาในโรงเรียนขนาดกลางของสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง
2.2 บทบาทและหนา้ ที่ของผบู้ ริหารสถานศึกษาในโรงเรียน
2.3 ขอบขา่ ยการบริหารงานของผบู้ ริหารสถานศึกษาในโรงเรียน
2.4 หลกั การ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกบั ภาวะผนู้ าทางการบริหารวชิ าการ
2.4.1 ความหมายของภาวะผนู้ าทางวชิ าการ
2.4.2 ความสาคญั ของภาวะผนู้ าทางวชิ าการ
2.4.3 องคป์ ระกอบภาวะผนู้ าทางวชิ าการ
2.5 หลกั การ แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกบั ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
2.5.1 ความหมายของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
2.5.2 ความสาคญั ของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
2.5.3 หลกั การ แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกบั ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
2.6 งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง
2.6.1 งานวจิ ยั ภายในประเทศ
2.6.2 งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ
2.7 สรุปกรอบแนวคิดในการวจิ ยั
10
2.1 สภาพทวั่ ไปในโรงเรียนขนาดกลางของสถานศึกษาสังกดั สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
มธั ยมศึกษาอ่างทอง
2.1.1 การบริหารงานในโรงเรียนขนาดกลางของสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษาอ่างทอง
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา อ่างทอง ต้งั ข้ึนตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้
ประกาศจดั ต้งั เขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา ตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553
และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 เมื่อวนั ท่ี 18
สิงหาคม 2553 เพ่ือให้การบริหารและการจดั การศึกษามีประสิทธิภาพ ให้สถานศึกษาที่จดั การศึกษา
ข้นั พ้นื ฐานระดบั มธั ยมศึกษาไปสงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาซ่ึงเป็นหน่วยงานระดบั เขต
พ้ืนท่ีการศึกษ า อยู่ภายใต้การกากับดูแลของสานักงานคณ ะกรรมการการศึกษ าข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่ดาเนินการให้เป็ นไปตามอานาจหนา้ ที่ของคณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษา
ตามมาตรา 38 แห่งพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545
และมาตรา 37 แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มีอานาจ
หนา้ ท่ีดงั น้ี
(แผนพฒั นาการศึกษา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2560-2564) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2563 – 2564 สพม.สหอท)
1. จดั ทานโยบาย แผนพฒั นา และ มาตรฐานการศึกษาของเขตพ้นื ที่การศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั
นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา ผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานและความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น
2. วเิ คราะห์การจดั ต้งั งบประมาณเงินอุดหนุนทวั่ ไปของสถานศึกษา และหน่วยงาน ในเขตพ้นื ที่
การศึกษา และแจง้ จดั สรรงบประมาณที่ไดร้ ับใหห้ น่วยงานขา้ งตน้ รับทราบและกากบั ตรวจสอบ ติดตามการ
ใชจ้ ่ายงบประมาณของหน่วยงานดงั กล่าว
3. ประสาน ส่งเสริม สนบั สนุน และพฒั นาหลกั สูตรร่วมกบั สถานศึกษาในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
4. กากบั ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานและในเขตพ้นื ที่การศึกษา
5. ศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั และรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริมสนับสนุน
การจดั การศึกษา และพฒั นาการศึกษาในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
7. จดั ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพ้นื ที่การศึกษา
8. ประสาน ส่งเสริม สนบั สนุน การจดั การศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องคก์ รปกครอง
ส่วนทอ้ งถิ่น รวมท้งั บุคคล องคก์ รชุมชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั อ่ืน
ที่จดั รูปแบบที่หลากหลายในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
9. ดาเนินการและประสาน ส่งเสริม สนบั สนุนการวจิ ยั และพฒั นาการศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
10.ประสานส่งเสริมการด าเนินงานของคณะอนุกรรมการ และคณะท างานดา้ นการศึกษา
11.ประสานการปฏิบตั ิราชการทว่ั ไปกบั องคก์ ร หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองคก์ รปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ิน ในฐานะส านกั งานผแู้ ทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพ้ืนที่การศึกษา 11
12.ปฏิบัติหน้าที่อ่ืนเกี่ยวกับกิจการภายในเขตพ้ืนที่การศึกษาที่มิไดร้ ะบุให้เป็ นหน้าท่ีของผูใ้ ด
โดยเฉพาะ หรือปฏิบตั ิงานอื่นตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย
2.1.2 การจัดการศึกษาในโรงเรียนขนาดกลางของสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษาอ่างทอง
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง ไดบ้ ริหารและจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน โดยยึด
หลกั การบริการทางการศึกษาใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ครอบคลุมท้งั เด็กปกติ เด็กดอ้ ยโอกาส
เด็กพิการ และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ต้งั แต่ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จนถึงระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาหลกั
เพ่ิมศกั ยภาพนักเรียนด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เป็ นต้น สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษาอ่างทอง จดั ทาโครงการและกาหนดเป้าหมายการปฏิบตั ิที่ชดั เจน รวมท้งั ไดด้ าเนินการอยา่ งเต็ม
ความสามารถ (แผนพัฒนาการศึกษา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2560-2564) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563 – 2564
สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาอา่ งทอง)
การจดั การศึกษาของสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง มีจุดเนน้ ดงั น้ี (แผนปฏิบตั ิ
ราชการประจาปี งบประมาณ 2563 กลุ่มนโยบายและแผน สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง)
จุดเน้นท่ี 1 ด้านผ้เู รียน นักเรียนดงั ( High Quality Students :HQS)
1. ร้อยละของผูเ้ รียนท่ีมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติยึดม่ันการ
ปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
2. ร้อยละของผเู้ รียนที่มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการมีทศั นคติที่ดีต่อบา้ นเมือง มีหลกั คิดที่ถูกตอ้ ง
เป็น พลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พงึ ประสงค์ มีคุณธรรม อตั ลกั ษณ์ มีจิตสาธารณะ มี
จิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ผอู้ ื่น และสังคมโดยรวม ซ่ือสัตย์ สุจริต มธั ยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มี
วนิ ยั และรักษา ศีลธรรม
3. ร้อยละของผเู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือกบั ภยั คุกคามทุกรูปแบบ
ที่มี ผลกระทบต่อความมนั่ คง เช่น ภยั จากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวติ และทรัพยส์ ิน การคา้
มนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภยั พบิ ตั ิต่าง ๆ เป็นตน้
4. จานวนผูเ้ รียนมีความเป็ นเลิศทางวิชาการ มีทกั ษะความรู้ที่สอดคล้องกับทกั ษะท่ีจาเป็ นใน
ศตวรรษที่ 21
5. ผูเ้ รียนระดบั มธั ยมศึกษาผ่านการประเมินสมรรถนะที่จาเป็ นด้านการรู้เรื่องการอ่าน (Reading
Literacy) ด้านการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และด้านการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific
Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA
6. ร้อยละของผเู้ รียนท่ีมีศกั ยภาพไดร้ ับโอกาสเขา้ สู่เวทีการแข่งขนั ระดบั นานาชาติ
7. ผเู้ รียนทุกระดบั มีสมรรถนะส าคญั ตามหลกั สูตร มีทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3R8C) 12
8. ร้อยละของผูเ้ รียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
มากกวา่ ร้อยละ 50 ในแตล่ ะวชิ าเพ่ิมข้ึนจากปี การศึกษาที่ผา่ นมา
9. ร้อยละผูเ้ รียนท่ีจบการศึกษาช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 6 มีทกั ษะการเรียนรู้ที่
เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทาตามความถนดั และความตอ้ งการของตนเอง มีทกั ษะอาชีพที่สอดคลอ้ ง
กบั ความตอ้ งการของประเทศ วางแผนชีวติ และวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนาไปปฏิบตั ิได้
10. ผเู้ รียนทุกคนมีทกั ษะพ้ืนฐานในการดารงชีวิต สามารถดารงชีวิตอยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข
มีความ ยดื หยนุ่ ทางดา้ นความคิด สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ ภายใตส้ ังคมที่เป็นพหุวฒั นธรรม
11. ผูเ้ รียนทุกคนมีศกั ยภาพในการจดั การสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะท่ีดี สามารถดารงชีวิต
อยา่ งมีความสุขท้งั ดา้ นร่างกายและจิตใจ
12. ผเู้ รียนทุกคนสามารถเขา้ เรียนในสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพเป็นมาตรฐานเสมอกนั
13.ผเู้ รียนทุกคนไดร้ ับจดั สรรงบประมาณอุดหนุนอยา่ งเพียงพอ และเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั สภาพ
ข้อเท็จจริง โดยคานึงถึงความจาเป็ นตามสภาพพ้ืนท่ีภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และที่ต้ังของ
สถานศึกษา และความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษส าหรับผพู้ ิการ
14. ผูเ้ รียนได้รับการสนับสนุน วสั ดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพื่อใช้เป็ น
เคร่ืองมือ ในการเรียนรู้อยา่ งเหมาะสม เพียงพอ
15. ผเู้ รียนเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ มีการขยายผลแหล่งเรียนรู้ นกั เรียน โรงเรียน ชุมชน เรียนรู้ดา้ น
การลดใช้พลังงาน การจดั การขยะและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพ่ือเป็ นแหล่งเรียนรู้ และตวั อย่างรูปแบบ
ผลิตภณั ฑท์ ่ีเป็น มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม เช่น โรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว ฯลฯ
16. ผูเ้ รียนมีการเก็บขอ้ มูลเปรียบเทียบการลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซต์ ในการดาเนิน กิจกรรม
ประจาวนั ในสถานศึกษาและท่ีบ้าน และข้อมูลของ Carbon Footprint ในรู ปแบบ QR CODE และ
Paper less
17. ผูเ้ รียนสามารถนาส่ือนวตั กรรมท่ีผ่านกระบวนการคิดมาประยุกต์ใช้ในโรงเรียน การจดั การ
เรียนรู้ และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั และชุมชนไดต้ ามแนวทาง Thailand 4.0
จุดเน้นที่ 2 ด้านผู้บริหารสถานศึกษาและครู บุคลากรดี ( High Quality Personals :HQP)
1.ผบู้ ริหารสถานศึกษาทุกโรงเรียน
1.1 มีความสามารถในการบริหารวิชาการให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตาม
แนวทางในการจดั การศึกษาศตวรรษท่ี 21 และไดม้ าตรฐานสากล
1.2 มีการจดั การบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาล และบริหารสถานศึกษาโดยยึดหลัก
School Based Management ( SBM ) อยา่ งเขม้ แขง็ และมีประสิทธิภาพ
1.3 สามารถใชภ้ าษาองั กฤษในการสื่อสาร ไดร้ ะดบั A1 ของมาตรฐาน CEFR
1.4 มีความสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหาร การสื่อสารและการเรียนรู้ และพฒั นา
ตนเอง ระบบ Digital Technology 13
1.5 มีความรู้ความสามารถ นิเทศการสอนของครุทุกคนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพอยา่ งน้อย
ภาคเรียนละ 1 คร้ัง
1.6 สามารถบริหารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล
2. ครูผสู้ อนทุกคน
2.1 ครู ทุกคนมีการเปล่ียนบทบาทจาก “ครู ผู้สอน” เป็ น “Coach” ผู้ให้คาปรึ กษา
ขอ้ เสนอแนะการเรียนรู้หรือ ผอู้ านวยการการเรียนรู้
2.2 ครูทุกคนไดร้ ับการสนบั สนุน วสั ดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทลั (Digital Device) เพื่อ
ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ใหแ้ ก่ผเู้ รียน
2.3 ครูทุกคน มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพฒั นาส่ือ นวตั กรรม และดาเนินการจดั ทา
งานวจิ ยั ดา้ นการสร้าง สานึกดา้ นการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ มได้
2.4 ครูทุกคน สามารถนาสื่อนวตั กรรมที่ผ่านกระบวนการคิดมาประยุกตใ์ ช้ในโรงเรียน
การจดั การ เรียนรู้ และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั และชุมชนไดต้ ามแนวทาง Thailand 4.0
2.5 ครูและบุคลากรทุกคน ได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะและมาตรฐานวิชาชีพ
อยา่ งตอ่ เนื่อง
จุดเน้นที่ 3 ด้านสถานศึกษา องค์กรเด่น ( High Quality Organization :HQO)
สถานศึกษาทกุ แห่งดาเนินกจิ กรรมได้ครบทุกด้าน
1. จานวนสถานศึกษาท่ีนอ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเด็จ พระ
ปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยู่หัว และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ไปพฒั นา ผเู้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามที่กาหนดไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
2. จานวนสถานศึกษาที่จดั บรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผูเ้ รียน
แสดงออกถึง ความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข มีทศั นคติที่ดีต่อบา้ นเมือง มีหลกั คิดที่ถูกตอ้ ง เป็ นพลเมืองดีของชาติ มี
คุณธรรม จริยธรรม
3. สถานศึกษาได้รับการพฒั นาให้มีมาตรฐานอย่างเหมาะสมตามบริบท ด้านประเภท
ขนาด และพ้นื ท่ี
4. สถานศึกษานeเทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) มาใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการ
จดั กิจกรรม การเรียนรู้ใหแ้ ก่ผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
5. สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและการแนะแนวที่มี
ประสิทธิภาพ
6. สถานศึกษาท่ีมีระบบฐานขอ้ มูลประชากรวยั เรียนและสามารถนามาใช้ในการวางแผน
จดั การเรียนรู้ ใหแ้ ก่ผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
7. สถานศึกษามีนโยบายและจดั กิจกรรมให้ความรู้ ท่ีถูกต้องและสร้างจิตสานึกด้าน
การผลิตและ บริโภคท่ีเป็ นมิตรกบั สิ่งแวดล้อมนาไปปฏิบตั ิใช้ท่ีบา้ นและชุมชน เช่น การส่งเสริมอาชีพ
ท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม การลดใชส้ ารเคมีจากป๋ ุยและยาฆ่าแมลง ฯลฯ 14
8. สถานศึกษามีการนาขยะมาใชป้ ระโยชน์ในรูปผลิตภณั ฑ์และพลงั งานเพ่ือลดปริมาณ
ขยะ และมีส่งเสริมการคดั แยกขยะในชุมชนเพื่อลดปริมาณคาร์บอนท่ีโรงเรียนและชุมชน
9. สถานศึกษามีการบูรณาการเร่ืองการจดั การขยะแบบมีส่วนร่วมและการนาขยะ มาใช้
ประโยชนร์ วมท้งั สอดแทรกในสาระการเรียนรู้ที่เก่ียวขอ้ ง
10. สถานศึกษามีการเก็บขอ้ มูลเปรียบเทียบการลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซต์ ในการ
ดาเนิน กิจกรรมประจาวนั ในสถานศึกษาและท่ีบ้าน และข้อมูลของ Carbon Footprint ในรูปแบบ QR
CODE และ Paper less
11. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษามีการปรับปรุงและพฒั นาบุคลากร และ
สถานท่ีให้เป็ น สานักงานสีเขียวต้นแบบมีนโยบายการจดั ซ้ือจดั จา้ งที่เป็ นมิตรกบั สิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อ
การเรียนรู้ของนกั เรียนและ ชุมชน
12. สถานศึกษา และสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ไดร้ ับการพฒั นาให้เป็ นหน่วยงาน ท่ีมี
ความทนั สมยั ยดื หยนุ่ คล่องตวั สูง พร้อมท่ีจะปรับตวั ใหท้ นั ต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยตู่ ลอดเวลา เป็ น
หน่วยงานที่มีหนา้ ที่สนบั สนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพ่ือใหส้ ถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาไดอ้ ยา่ ง
มี ประสิทธิภาพครอบคลุมทุกตาบล
13. สถานศึกษา และสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา นานวตั กรรม และเทคโนโลยีดิจิทลั
(Digital Technology) มาใชใ้ นการบริหารจดั การและตดั สินใจ ท้งั ระบบ
14. สถานศึกษา และสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และ
ประพฤติมิชอบ บริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล
15. สถานศึกษา และสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ผา่ นการประเมินคุณธรรมและความ
โปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
16. สถานศึกษาทุกแห่งและสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศ
วชิ าการ ผเู้ รียน ครู บุคลากร ทางการศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานในสงั กดั
17. สถานศึกษาทุกแห่งมีขอ้ มูลผเู้ รียนรายบุคคลท่ีสามารถเช่ือมโยงกบั ขอ้ มูลต่าง ๆ
นาไปสู่การวเิ คราะห์ เพ่ือวางแผนการจดั การเรียนรู้สู่ผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
(Big Data Technology)
18. สถานศึกษา และสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีแพลตฟอร์มดิจิทลั
(Digital Platform) เพ่ือสนบั สนุนภารกิจดา้ นบริหารจดั การศึกษา
19. สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบขอ้ มูลสารสนเทศที่สามารถใชใ้ นการวางแผนการ
จดั การศึกษาไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ
20. จานวนสถานศึกษาท่ีไดร้ ับการประเมินคุณภาพจากสานกั งานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา
21. จานวนสถานศึกษามธั ยมขนาดเลก็ ไดร้ ับการพฒั นาในทุกดา้ นเพ่มิ ข้ึน
15
2.2 บทบาทและหน้าทข่ี องผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน
บทบาทและหนา้ ท่ีของผบู้ ริหารเป็นส่ิงสาคญั ท่ีจะกระตุน้ ส่งเสริมให้การบริหารงานการศึกษา ใน
บทบาทหน้าที่ของผู้บริ หารประสบผลสาเร็จ ซ่ึ งบทบาทผู้บริ หารสถานศึกษาพอสรุ ปได้ดังน้ี
(ธีระ รุญเจริญ "การบริหารโรงเรียนยคุ ปฏิรูปการศึกษา " อดั สาเนา ม.ป.ป.)
1. เป็นผนู้ าในการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมและคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
2. เป็นผนู้ าในการบริหาร ยดึ แนวทางการบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน
3. เป็นผนู้ าดา้ นการนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการจดั การเรียนรู้
4. เป็นผนู้ าในการพฒั นาวชิ าการ
5. เป็นผปู้ ระสานความร่วมมือกบั ชุมชน
6. เป็นผนู้ าในการบริหารงานแบบประชาธิปไตย ร่วมกนั ทางานเป็นทีม และส่งเสริมใหท้ ุกคนมี
ส่วนร่วมอยา่ งแขง็ ขนั
7. เป็นผนู้ าในการจดั การศึกษา เป็นเอกลกั ษณ์ขององคก์ รในการสร้างสรรค์
8. เป็นผนู้ าในการบริหารคุณภาพ ใหท้ ุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมตดั สินใจ ลงมือทาและรับผดิ ชอบ
ร่วมกนั เพื่อมุง่ พฒั นาผเู้ รียนเป็นสาคญั
9. เป็นผสู้ ร้างขวญั และกาลงั ใจแก่บุคลากรเพ่อื ให้เกิดการเปล่ียนแปลงวฒั นธรรมในการเรียนรู้และ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกนั
10. เป็นผนู้ าในการจดั หางบประมาณ เพ่อื สนบั สนุนการพฒั นาคุณภาพการศึกษาร่วมกนั
ที่กล่าวมา ผูบ้ ริหารท่ียึดหลกั การ 10 ประการ ดงั กล่าว ยอ่ มจะประสบความสาเร็จในการบริหาร
จดั การสถานศึกษาให้เป็ นท่ียอมรับของคนท้งั ภายในและภายนอกองคก์ รไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ผูบ้ ริหารท่ีดีจึงตอ้ ง
สารวจตนเองถึงขอ้ บกพร่องและหาแนวทางในการพฒั นาตนเองเพื่อการเรียนรู้และการพฒั นางานอยา่ ง
สม่าเสมอ เพื่อให้ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของระบบการบริหารจดั การใหม่และการปฏิรูปการศึกษาใน
ปัจจุบนั ซ่ึงในการดาเนินงานผูบ้ ริหารตอ้ งยึดการบริหารจดั การโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน (SBM: School
based Management ประกอบดว้ ยเกณฑต์ ่อไปน้ี
1. การเป็นผนู้ าทางวชิ าการ
2. การบริหารแบบมีส่วนร่วม
3. การเป็นผอู้ านวยความสะดวก
4. การประสานความสัมพนั ธ์
5. การส่งเสริมการพฒั นาครูและบุคลากร
6. การสร้างแรงจูงใจ
7. การประเมินภายในและการประเมินภายนอก
8. การส่งเสริมสนบั สนุนการวจิ ยั และพฒั นา
9.การเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์
10. การส่งเสริมเทคโนโลยี 16
คุณลกั ษณะผบู้ ริหารในศตวรรษท่ี 21 เป็ นสิ่งที่ช้ีชดั ให้เห็นถึงความดีของผบู้ ริหาร สถานศึกษาเป็ น
กลไกและตวั แปรท่ีสาคญั ในการจดั การศึกษาใหม้ ีคุณภาพ มีอิทธิพลสูงสุด ต่อคุณภาพในผลลพั ธ์ที่เกิดจาก
การบริหารท่ีจะประสบความสาเร็จ สามารถสนองตอบการแข่งขัน และทันสมัยเหมาะสมในการ
เปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี21 จึงตอ้ งมีคุณลกั ษณะ ท่ีโดดเด่น และเหมาะสม มีความรู้ในหลกั การเชิง
ทฤษฎี ทกั ษะ บทบาทหนา้ ท่ี คุณธรรม จริยธรรมและประสบการณ์ทางการบริหารการศึกษาในยคุ ใหม่เพื่อ
นาพาองคก์ ร ประสบความสาเร็จ (ชยั ยนต์ เพาพาน, 2560:96)
ชยั ยนต์ เพาพาน (2560:บทคดั ยอ่ ) องคป์ ระกอบคุณลกั ษณะของผูบ้ ริหาร สถานศึกษา ในศตวรรษที่
21 ประกอบดว้ ย
1. นักสร้างสรรค์ (Creator) ผู้บริหารท่ีมีประสิทธิภาพมีกระบวนการผลักดันให้ บุคลากรใน
โรงเรียนที่มีความสามารถสร้างสรรคง์ านใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐานมากข้ึน ตอ้ ง ผลกั ดนั เพื่อประโยชน์ของ
นกั เรียน และจะตอ้ งหาวธิ ีจดั การอยา่ งต่อเนื่องเหมือนทฤษฎีน้ า ไหล (flow theory)
2. นักการสื่อสาร (Communicator) ผูบ้ ริหารท่ีมีประสิทธิภาพไม่เพียงแต่การ สื่อสารโดยการ
แบ่งปันข้อมูลผ่านหลายส่ือเท่าน้ัน แต่ยงั เป็ นผูฟ้ ังท่ีมีประสิทธิภาพซ่ึงเป็ น สิ่งจ าเป็ นท่ีกลุ่มผูบ้ ริหาร
ตอ้ งเป็น ผสู้ ื่อสารที่มีประสิทธิภาพกบั ผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียท้งั หมด
3. นักคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinker) ผู้บริหารจึงต้องให้ความสนใจในความคิดที่ครูหรือ
บุคลากร แสดงออกเป็ นส่ิงที่สาคญั ยิ่ง โดยเฉพาะดา้ นผลกระทบที่มีต่อโรงเรียนและนักเรียนในระยะยาว
และจะไดร้ ับประโยชน์ เหล่าน้ันมากที่สุดไดอ้ ย่างไร ถือวา่ เป็ นสิ่งส าคญั สาหรับผูบ้ ริหารที่จะตอ้ งนาเอา
ขอ้ มูลและความคิดต่างๆมาใชใ้ นการตดั สินใจ ท้งั หมด
4. สร้างชุมชน (Create Community) หมายถึง การประสานเชื่อมโยงตอ่ กลุ่มคน ท่ีเหมาะสม เช่น วิธี
ที่จะสร้างโอกาสใหก้ บั บุคลากรเพื่อเชื่อมโยงต่อกบั คนอื่นๆ ท่ีจะช่วย ส่งเสริมการเรียนรู้มากข้ึน เป็ นสิ่ง
สาคญั ที่ไมเ่ พยี งแต่พฒั นาผนู้ าในโรงเรียนเท่าน้นั แต่เป็น การเปิ ดโอกาสใหค้ นอื่นเห็นความเป็นผนู้ าดว้ ย
5. การมีวิสัยทัศน์ (Vision) ผูบ้ ริหารโรงเรียนท่ีมีประสิทธิผล ต้องมีวิสัยทศั น์ในการที่จะทาให้
โรงเรียนเตรียมพร้อมท่ีดีท่ีสุดสาหรับนักเรียนไปสู่อนาคตท่ีตอ้ งการ และ สามารถแบ่งปันวิสัยทศั น์ไป
พฒั นาชุมชนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพร่วมกนั ไดด้ ว้ ย
6. การสร้างความร่วมมือ และการติดต่อ (Establishing cooperation and contact) ผูบ้ ริหารต้อง
แสวงหา แบง่ ปันขอ้ มูล และความรู้อยา่ งเปิ ดเผยชดั เจน มีการคน้ หา ความเขา้ ใจและปฏิบตั ิอยา่ งเขา้ ใจกบั คน
อ่ืน มีการติดตอ่ กบั โลกภายนอกผา่ นทางบลอ็ กและส่ือทางสงั คม และตอ้ งสร้างการร่วมมือกบั ผอู้ ื่น
7. สร้างพลงั เชิงบวก (Create positive Energy) ผูบ้ ริหารตอ้ งสร้างหลกั การท้งั เชิงบวก เชิงรุกและ
วธิ ีการ ดูแลเอาใจใส่ ตอ้ งใหเ้ วลาในการพบปะพูดคุยกบั นกั เรียน ครูและ ผปู้ กครองรับรู้และคุณค่าของพวก
เขาโดยการพฒั นา ความสัมพนั ธ์ท่ีแทจ้ ริงให้เกิดข้ึน นอกจากน้ีผูบ้ ริหารตอ้ งสร้างสุขภาพตนเอง สวสั ดิการ
และระดบั พลงั งานใหพ้ ร้อมเสมอ
17
8. ความเช่ือมั่น (Confidence) ผู้บริหารต้องมีลักษณะความมั่นใจ (confidence) เข้าถึงได้ง่าย
(approachable) มีความโดดเด่น (Is outstanding) ในฐานะท่ีเป็ นผูน้ าต้องมีความกล้าที่จะต้องเผชิญกับ
สถานการณ์ที่ยากลาบาก ซ่ึงสถานการณ์เหล่าน้ีมกั จะอยูใ่ นความสงบเสมอ และมีความมน่ั ใจในการรักษา
ขวญั กาลงั ใจและความเชื่อมนั่ ในชุมชนโรงเรียน
9. ความมุ่งม่ันและความพากเพียร (Determination and perseverance) ผูบ้ ริหารต้องแสดงความ
มุ่งมนั่ และความทุ่มเท (dedication) อยา่ งจริงจงั เพ่ือผลกั ดนั ใหก้ บั ครูและนกั เรียนเกิดความมุ่งมน่ั ทุ่มเทใน
งาน และ อยา่ ยอมแพ้ (Never give up) เพ่อื ให้ บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายการพฒั นาที่กาหนดไว้
10. ความเต็มใจที่จะเรียนรู้ (Willingness to Learn) ผูบ้ ริหารตอ้ งเรียนรู้อย่าง สม่าเสมอ เพราะการ
เปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 เป็นที่น่าต่ืนเตน้ และนามาใชเ้ สริมสร้าง ศกั ยภาพผบู้ ริหาร และสังคมโรงเรียน
ผบู้ ริหารจึงตอ้ งเป็นผเู้ รียนรู้ตลอดชีวติ (Be a Lifelong Learner)
11. ต้องเป็ นนักประกอบการ คิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Entrepreneurial, Creative and
Innovative) ความสามารถในการคิดนอกกรอบเป็ นพลงั ที่มีอานาจของ ผูบ้ ริหาร การคิดสร้างสรรค์ และ
นวตั กรรมเป็ นวธิ ีท่ีดีท่ีสุดในการบริหารจดั การกบั ความซบั ซอ้ นทางสังคมในศตวรรษที่ 21 และตอ้ งพฒั นา
โรงเรียนเป็นองคก์ รประกอบการ (entrepreneurial organization) ไดด้ ว้ ย
12. นกั ริเริ่มงาน (Originator) ผูบ้ ริหารตอ้ งเรียนรู้ถึงความเชื่อมนั่ ในสัญชาตญาณ (instincts) ของ
ตนเอง ความสามารถการเป็ นนกั คิด นกั ริเริ่มสร้างสรรคผ์ บู้ ริหารสามารถ แกป้ ัญหาใหส้ าเร็จอยา่ งไมค่ าดฝัน
หรือ จากการสงั หรณ์ใจ (intuitively)
13. ความสามารถในการสร้างแรงบันดาลใจ (Ability to Inspire) ผู้บริ หารควรสร้างความ
กระตือรือร้นและความคิดเชิงบวกต่อบุคลากรในการร่วมกนั กาหนดทิศทางใน อนาคต ส่ิงท้งั หมดน้ีตอ้ ง
เนน้ ใหเ้ กิดข้ึนในขณะท่ียงั ดารงตาแหน่งผบู้ ริหาร
14. การเจียมเน้ือเจียมตวั (Be Humble) ผูบ้ ริหารมีความสาคญั ต่อการทาหน้าท่ี ในโรงเรียนซ่ึงงาน
ผบู้ ริหารไมใ่ ช่เป็นรูปป้ันแต่เป็ นงานที่เอ้ือต่อทุกคนในโรงเรียนนนั่ คือ ตอ้ งมี สมั มาคารวะ การรู้จกั บุคคลใน
ชุมชน การเปิ ดโอกาสกบั ครู และชุมชนเขา้ มามีส่วนร่วม
15. ตวั แบบท่ีดี (Good Model) หากคุณก าลงั ส่งเสริมทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ตอ้ งรู้และฝึ กพวกเขา
ใหม้ ีความคิดสร้างสรรค์ การทางานร่วมกนั ฝึ กการส่ือสารท่ีดี และคิด วเิ คราะห์เป็ นการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ ง
มีประสิทธิภาพ และการปลูกฝังสร้างสรรคน์ วตั กรรม จดั สภาพแวดลอ้ มท่ีปลอดภยั สาหรับ การเรียนรู้และ
ความเสี่ยง
The Wallace Foundation (2012:10) แนวทางสาหรับผบู้ ริหารสถานศึกษาท่ีมีประสิทธิผลควร
นาไปใชม้ ี 5 ประการ ดงั น้ี
1.การสร้างวิสัยทศั น์เพื่อความสาเร็จทางวิชาการสาหรับนักเรียน (Shaping a vision of academic
success for all students) การนาวสิ ยั ทศั น์สู่การปฏิบตั ิเพอ่ื ใหเ้ กิด ความเขา้ ใจ และมีส่วนร่วมของบุคลากรใน
การมุ่งผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียนให้ บรรลุผลตามเป้าหมาย
18
2.สร้างบรรยากาศท่ีอบอุ่นเพื่อการศึกษา (Creating a climate hospitable to education) ผบู้ ริหารตอ้ ง
จดั สภาพแวดลอ้ มให้เหมาะกบั ผเู้ รียน และบุคคลภายนอก เพราะ โรงเรียนเป็ นศูนยก์ ลางทางการเรียน และ
กิจกรรม บรรยากาศมีความสาคญั ที่เอ้ือต่อการ เรียนการสอน และการเรียนรู้ของผเู้ รียน
3.การปลูกฝังภาวะผู้นาให้กับบุคคลอื่น (Cultivating leadership in others) ท้ัง ครูในโรงเรียน
ถือวา่ ทรัพยากรสาคญั ในการบริหาร การสร้างให้ครูเป็ นผูน้ าทางวิชาการจะส่งผลให้โรงเรียนมีการพฒั นา
ไปสู่คุณภาพ และมีมาตรฐานทางการศึกษา
4.การปรับปรุงการเรียนการสอน (Improving instruction) ผูบ้ ริหารที่มีประสิทธิผลจะมุ่งทางาน
ดว้ ยความเอาใจใส่ในการปรับปรุงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยมุ่งถึง คุณภาพการสอน และให้บรรลุผล
สาเร็จตามความคาดหวงั ของผเู้ รียน และผปู้ กครอง
5.การบริ หารจัดการกับคน ข้อมูล และกระบวนการ (Managing people, data and processes)
ผูบ้ ริหารที่มีประสิทธิผลตอ้ งให้ความสาคญั กบั บุคลากรท้งั ครูบุคลากร และผูเ้ รียน รวมท้งั การนาขอ้ มูล
มาใชป้ ระโยชนต์ อ่ การพฒั นาสารสนเทศเพ่อื การบริหารและกระบวนการการบริหาร เป็นตน้
2.3 ขอบข่ายการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน
ตามกฎกระทรวงซ่ึงกาหนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการกระจายอานาจการบริหารและการจดั การศึกษา
พ.ศ. 2550 อาศยั อานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 39 วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับท่ี 2 พ.ศ.2545)
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ต่อไปน้ี
“ให้ ป ลัดก ระ ท รวงศึ ก ษ าธิ ก ารห รื อเล ข าธิ ก ารค ณ ะ ก รรม ก ารก ารศึ ก ษ าข้ ัน พ้ื น ฐาน พิ จารณ า
ดาเนินการกระจายอานาจการบริหารและการจดั การศึกษาในด้านวิชาการด้านงบประมาณ ด้านการ
บริหารงานบุคคล และดา้ นการบริหารทวั่ ไปไปยงั คณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา หรือสถานศึกษาในอานาจหนา้ ที่ของตน แลว้ แต่กรณีในเร่ืองดงั ต่อไปน้ี”
1. ด้านการบริหารงานวชิ าการ มีภาระหนา้ ที่ 17 อยา่ งดว้ ยกนั คือ
1.1 การพฒั นาหรือการดาเนินการเกี่ยวกบั การใหค้ วามเห็นการพฒั นาสาระหลกั สูตรทอ้ งถ่ิน
1.2 การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ
1.3 การจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา
1.4 การพฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษา
1.5 การพฒั นากระบวนการเรียนรู้
1.6 การวดั ผล ประเมินผล และดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน
1.7 การวจิ ยั เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
1.8 การพฒั นาและส่งเสริมใหม้ ีแหล่งเรียนรู้
1.9 การนิเทศการศึกษา
1.10 การแนะแนว
1.11 การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
1.12 การส่งเสริมชุมชนใหม้ ีความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการ 19
1.13 การประสานความร่วมมือในการพฒั นาวชิ าการกบั สถานศึกษาและองคก์ รอ่ืน
1.14 การส่งเสริมและสนบั สนุนงานวชิ าการแก่บุคคล ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงานสถาน
ประกอบการ และสถาบนั อ่ืนท่ีจดั การศึกษา
1.15 การจดั ทาระเบียบและแนวปฏิบตั ิเก่ียวกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศึกษา
1.16 การคดั เลือกหนงั สือแบบเรียนเพ่อื ใชใ้ นสถานศึกษา
1.17 การพฒั นาและใชส้ ่ือเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา
2. ด้านการบริหารงานงประมาณ มีภาระหนา้ ท่ี 22 อยา่ งดว้ ยกนั คือ
2.1 การจดั ทาแผนงบประมาณและคาขอต้งั งบประมาณเพอื่ เสนอตอ่ ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
หรือ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน แลว้ แตก่ รณี
2.2 การจดั ทาแผนปฏิบตั ิการใชจ้ ่ายเงินตามท่ีไดร้ ับจดั สรรงบประมาณจากสานกั งาน
คณะกรรมการ การศึกษาข้นั พ้นื ฐานโดยตรง
2.3 การอนุมตั ิการใชจ้ ่ายงบประมาณท่ีไดร้ ับจดั สรร
2.4 การขอโอนและการขอเปล่ียนแปลงงบประมาณ
2.5 การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
2.6 การตรวจสอบติดตามและรายงานการใชง้ บประมาณ
2.7 การตรวจสอบติดตามและรายงานการใชผ้ ลผลิตจากงบประมาณ
2.8 การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพอื่ การศึกษา
2.9 การปฏิบตั ิงานอ่ืนใดตามท่ีไดร้ ับมอบหมายเกี่ยวกบั กองทุนเพอื่ การศึกษา
2.10 การบริหารจดั การทรัพยากรเพอื่ การศึกษา
2.11 การวางแผนพสั ดุ
2.12 การกาหนดรูปแบบรายการ หรือคุณลกั ษณะเฉพาะของครุภณั ฑ์ หรือส่ิงก่อสร้างที่ใชเ้ งิน
งบประมาณเพอ่ื เสนอตอ่ ปลดั กระทรวงศึกษาธิการหรือเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐานแลว้ แต่ กรณี
2.13 การพฒั นาระบบขอ้ มูลและสารสนเทศเพอื่ การจดั ทาและจดั หาพสั ดุ
2.14 การจดั หาพสั ดุ
2.15 การควบคุมดูแล บารุงรักษาและจาหน่ายพสั ดุ
2.16 การจดั หาผลประโยชนจ์ ากทรัพยส์ ิน
2.17 การเบิกเงินจากคลงั
2.18 การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจ่ายเงิน
2.19 การนาเงินส่งคลงั
2.20 การจดั ทาบญั ชีการเงิน
2.21 การจดั ทารายงานทางการเงินและงบการเงิน
2.22 การจดั ทาหรือจดั หาแบบพมิ พบ์ ญั ชี ทะเบียน และรายงาน
20
3. ด้านการบริหารงานบุคคล มีภาระหนา้ ที่ 20 อยา่ งดว้ ยกนั คือ
3.1 การวางแผนอตั รากาลงั
3.2 การจดั สรรอตั รากาลงั ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3.3 การสรรหาและบรรจุแต่งต้งั
3.4 การเปล่ียนตาแหน่งใหส้ ูงข้ึน การยา้ ยขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3.5 การด าเนินการเกี่ยวกบั การเล่ือนข้นั เงินเดือน
3.6 การลาทุกประเภท
3.7 การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
3.8 การด าเนินการทางวนิ ยั และการลงโทษ
3.9 การสงั่ พกั ราชการและการสงั่ ใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อน
3.10 การรายงานการดาเนินการทางวนิ ยั และการลงโทษ
3.11 การอุทธรณ์และการร้องทุกข์
3.12 การออกจากราชการ
3.13 การจดั ระบบและการจดั ทาทะเบียนประวตั ิ
3.14 การจดั ทาบญั ชีรายช่ือและใหค้ วามเห็นเก่ียวกบั การเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราช
อิสริยาภรณ์
3.15 การส่งเสริมการประเมินวทิ ยฐานะขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3.16 การส่งเสริมและยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ
3.17 การส่งเสริมมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวชิ าชีพ
3.18 การส่งเสริมวนิ ยั คุณธรรมและจริยธรรมสาหรับขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3.19
การริเริ่มส่งเสริมการขอรับใบอนุญาต
3.20 การพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การดาเนินการที่เก่ียวกบั การบริหารงาน
บุคคลใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการน้นั
4. ด้านการบริหารงานทว่ั ไป มีภาระหนา้ ที่ 21 อยา่ งดว้ ยกนั คือ 21
4.1 การพฒั นาระบบและเครือขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศ
4.2 การประสานงานและพฒั นาเครือข่ายการศึกษา
4.3 การวางแผนการบริหารงานการศึกษา
4.4 งานวจิ ยั เพือ่ พฒั นานโยบายและแผน
4.5 การจดั ระบบการบริหารและพฒั นาองคก์ ร
4.6 การพฒั นามาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
4.7 งานเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา
4.8 การดาเนินงานธุรการ
4.9 การดูแลอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ ม
4.10 การจดั ทาสามะโนผูเ้ รียน
4.11 การรับนกั เรียน
4.12 การเสนอความเห็นเกี่ยวกบั เร่ืองการจดั ต้งั ยบุ รวมหรือเลิกสถานศึกษา
4.13 การประสานการจดั การศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศยั
4.14 การระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา
4.15 การทศั นศึกษา
4.16 งานกิจการนกั เรียน
4.17 การประชาสัมพนั ธ์งานการศึกษา
4.18 การส่งเสริม สนบั สนุนและประสานการจดั การศึกษาของบุคคล ชุมชน องคก์ ร หน่วยงาน
และ สถาบนั สงั คมอื่นที่จดั การศึกษา
4.19 งานประสานราชการกบั ส่วนภูมิภาคและส่วนทอ้ งถิ่น (ท) การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน 4.20
การจดั ระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน
4.21 แนวทางการจดั กิจกรรมเพ่อื ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนกั เรียน การกระจาย
อานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ใหค้ านึงถึงหลกั การดงั ต่อไปน้ี
1 ) ความพร้อมและความเหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา ที่จะสามารถรับผดิ ชอบดาเนินการตามขีด
ความสามารถไดอ้ ยา่ ง มีประสิทธิภาพ
2) ความสอดคลอ้ งกบั กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวขอ้ งกบั
เรื่องที่จะกระจายอานาจ
3) ความเป็นเอกภาพดา้ นมาตรฐานและนโยบายดา้ นการศึกษา
4) ความเป็นอิสระและความคล่องตวั ในการบริหารและการจดั การศึกษา
5) มุง่ เนน้ การมีส่วนร่วมของชุมชน และผมู้ ีส่วนไดเ้ สียในพ้ืนท่ี
6) มุ่งให้เกิดผลสาเร็จแก่สถานศึกษา โดยเน้นการกระจายอานาจให้แก่สถานศึกษาให้มาก
ท่ีสุดเพือ่ ใหส้ ถานศึกษาน้นั มีความเขม้ แขง็ และความคล่องตวั
7) เพ่ิมคุณภาพและประสิทธิภาพใหแ้ ก่สถานศึกษา
8) เพื่อใหผ้ มู้ ีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบในการดาเนินการเป็นผตู้ ดั สินใจในเร่ืองน้นั ๆ โดยตรง
(http://www.thaischool.in.th/_files_school)
2.4 หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั ภาวะผู้นาทางการบริหารวชิ าการ
2.4.1 ความหมายของภาวะผ้นู าทางวชิ าการ
ผบู้ ริหารสถานศึกษา ควรมีภาวะผนู้ าในการบริหารจดั การองคก์ รอยา่ งถูกตอ้ งและมีความสามารถ
ในการทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นได้ และรับผิดชอบในหนา้ ที่ให้สาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี รวมท้งั ทาใหอ้ งกรณ์มีท้งั
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ไดม้ ีนกั วชิ าการให้ความหมายภาวะผูน้ าอยา่ งหลากหลาย ซ่ึงผวู้ ิจยั ไดศ้ ึกษา
และรวบรวมนามาเสนอพอสังเขป ดงั น้ี
22
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ, 2544 น.
15 อา้ งถึงใน วิเชียร ทองคล่ี, 2560 น. 17) ไดก้ าหนด ลกั ษณะผบู้ ริหารสถานศึกษาตน้ แบบไวป้ ระการหน่ึง
ไดแ้ ก่ ตอ้ งมีความเป็ นผูน้ าทางวิชาการและใชค้ าภาษาองั กฤษวา่ Instructional leadership พร้อมกบั ขยาย
ความวา่ เป็ นผูท้ ี่ตอ้ งให้ความสาคญั กบั การส่งเสริมและสนบั สนุนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจดั การเรียน
การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ มีการวางแผนนโยบายและยุทธศาสตร์เพ่ือปฏิรูป การเรียนรู้ของ
สถานศึกษาอยา่ งชดั เจนเป็นผสู้ ร้างพลงั ความ ร่วมมือของทุกฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ งเพื่อปฏิรูปการเรียนรู้
รุ่งนภา นุตราวงศ์ (2552, น. 57) ไดก้ ล่าววา่ ภาวะผูน้ าทางวชิ าการ หมายถึง ผบู้ ริหารโรงเรียนท่ีมี
ความรู้ความเข้าใจเร่ืองมาตรฐานและหลกั สูตร ซ่ึงเป็ นหัวใจของการพฒั นาคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้
สามารถช่วยเหลือให้คาแนะนาแก่ครู และบุคลากรที่เกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนการตดั สินใจในทิศทางที่ถูกตอ้ ง
เพ่ือการจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษาเป็ นไปอย่างมีคุณภาพและเหมาะสมกับบริบทความต้องการของ
โรงเรียน นอกจากน้ันผูบ้ ริหารโรงเรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเร่ืองระบบ ตรวจสอบและประกัน
คุณภาพเป็นขอ้ มูลในการตดั สินใจและปรับปรุงการจดั การศึกษาเพอื่ ใหบ้ รรลุผลตามที่คาดหวงั ไวต้ อ่ ไป
สถาบันพัฒนาความก้าวหน้า (สถาบนั พฒั นาความกา้ วหนา้ , 2553 อา้ งถึง ใน อศั นียส์ ุกิจใจ, 2560
น. 41) ไดก้ ล่าววา่ ภาวะผูน้ าทางวิชาการของผูบ้ ริหาร สถานศึกษา หมายถึง พฤติกรรมการกระทาหน้าที่
ตามบทบาทของผูบ้ ริหาร สถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ในการช้ีนา หรือโน้มน้าวจูงใจขา้ ราชการครู และ
บุคลากร ทางการศึกษาตลอดจนผูเ้ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ ายให้เขา้ ใจและเกิดความตระหนักในการรวม พลงั และ
ประสานสัมพนั ธ์เพ่ือพฒั นางานวิชาการและวิชาชีพที่เกี่ยวขอ้ ง โดยตรงกบั การส่งเสริมและพฒั นาการ
เรียนรู้ใหก้ บั ผเู้ รียนไดบ้ รรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายท่ีได้ กาหนดไวอ้ ยา่ งมีคุณภาพ
กระทรวงศึกษาธิการ (2553, น. 10) ไดก้ ล่าววา่ ภาวะผูน้ าทางวิชาการ หมายถึง ความสามารถใน
การนาบุคลากรของสถานศึกษาให้ร่วมมือปฏิบัติงานจน บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษาอย่างมี
ประสิทธิภาพ ซ่ึงงานดา้ นวชิ าการเป็ นงานหลกั ท่ีสาคญั ท่ีสุดในการบริหารและจดั การศึกษาในสถานศึกษา
ผูน้ าตอ้ งมีความรู้ความ เข้าใจขอบข่ายเน้ือหา และหลกั การบริหารงานด้านวิชาการอย่างลึกซ้ึงเกี่ยวกับ
ขอบข่ายงานวชิ าการ ดา้ นหลกั สูตรและการบริหารหลกั สูตร ดา้ นการจดั การเรียนการ สอน ดา้ นการนิเทศ
ภายในดา้ นการวดั และประเมินผลการศึกษา และดา้ นการประกนั คุณภาพการศึกษา
บุญพา พรหมณะ (2559, น. 30) ไดก้ ล่าววา่ ภาวะผนู้ าทางวชิ าการ หมายถึง การบริหารจดั การของ
ผูบ้ ริหารในสถานศึกษาในการช้ีนา ส่งเสริม สนับสนุน และโน้มน้าว จูงใจในการพฒั นางานวิชาการที่
เกี่ยวขอ้ งกบั การกาหนดภารกิจของ โรงเรียน การพฒั นาการเรียนการสอน การส่งเสริมพฒั นาบุคลากร และ
การสร้างบรรยากาศในโรงเรียนให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผูเ้ รียน เพ่ือให้การจดั กิจกรรมการเรียน การสอน
เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพบรรลุตามวตั ถุประสงคต์ ามท่ีกาหนดไว้
ฮอย และฮอย (Hoy and Hoy, 2003 อา้ งถึงใน พระมหาพิทยา จนั ทร์วงศ์, 2557 น. 42) ไดก้ ล่าว
ไว้ ภาวะผูน้ าทางวิชาการ หมายถึง ผูบ้ ริหารโรงเรียนท่ีเป็ นผูน้ า ทางการศึกษาที่ส่งเสริมความสาเร็จของ
นกั เรียนทุกคนโดยการสนบั สนุน บารุง และ รักษา วฒั นธรรมของโรงเรียนและโปรแกรมการเรียนการสอน
ท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ของ นกั เรียนและบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ จริญเติบโตอยา่ งมืออาชีพ
23
สรุปได้ว่า ภาวะผนู้ าทางวชิ าการ
หมายถึง พฤติกรรมและบทบาทของผูบ้ ริหารสถานศึกษาในการใชก้ ลยทุ ธ์ ทางการเป็ นผนู้ า และ
การบริหาร ท่ีสามารถนากลุ่มให้กระทากิจกรรมดา้ นวิชาการ ให้บรรลุเป้าหมายและสามารถบริหารจดั การ
เก่ียวกบั การจดั การเรียนการสอน ตลอดท้งั การสร้างบรรยากาศในโรงเรียนให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผูเ้ รียน
เพ่ือใหก้ าร จดั กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามจุดหมาย ของหลกั สูตร
อนั จะส่งผลตอ่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียนเป็นสาคญั
2.4.2 ความสาคัญของภาวะผู้นาทางวชิ าการ
มีนักวิชาการไดก้ ล่าวถึงความสาคญั ของภาวะผูน้ าทางวิชาการไวห้ ลาย ท่านดว้ ยกนั ซ่ึงผูว้ ิจยั ได้
ศึกษาและรวบรวมนามาเสนอพอสังเขป ดงั น้ี
เมอร์ฟี และเควิน (Murphy and Kevin 1999, p. 163) ไดก้ ล่าวถึง ความสาคญั ของภาวะผูน้ าทาง
วชิ าการไวว้ า่ ภาวะผูน้ ามีความสาคญั ต่อบทบาท ผบู้ ริหารในศตวรรษท่ี 21 ผบู้ ริหารสถานศึกษา ในอนาคต
จะตอ้ งสร้างท้งั องคก์ ารและ ปรับปรุงระบบใหม่เพื่อสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของโครงสร้างสังคมใหม่
ความรู้ใน การสอนและหลกั สูตรจะเนน้ ทกั ษะหน่ึงในการเป็ นผูน้ า จากท่ีมุ่งเน้นที่การสอนและ การเรียนรู้
จากด้านของจรรยาบรรณในการทางาน มีการยอมรับฟังจากผูร้ ่วมงาน และช่วยในการกาหนดทิศทางใน
โรงเรียนและยง่ิ ไปกว่าน้นั ผูบ้ ริหารสถานศึกษาตอ้ ง มองการศึกษาเป็ นส่วนประกอบหน่ึงของการบริหาร
เพอ่ื ต่อสู้กบั ปัญหาที่ไมต่ อ้ งให้ นกั เรียนเผชิญหนา้ อยา่ งโดดเดี่ยว
ฮอลลงิ เจอร์ (Hallinger, 2009 อา้ งถึงใน พระมหาพทิ ยา จนั ทร์วงศ์, 2557 น. 42) ไดก้ ล่าววา่ ภาวะ
ผูน้ าทางวิชาการมีความสาคญั อยา่ งมากในการใชก้ ลยุทธ์ของ การประสานงานและการควบคุมท่ีจะปรับ
พนั ธกิจดา้ นวชิ าการของโรงเรียนกบั กลยุทธ์ และการดาเนินการ ดงั น้นั ผนู้ าทางวิชาการจะไม่เน้นการเป็ น
ผนู้ าเพียงอยา่ งเดียว แต่ จะให้ความสาคญั เกี่ยวกบั การบริหารจดั การดว้ ยบทบาททางการบริหารไดร้ วมถึง
การ ประสานงาน การควบคุม และกากับดูแลหลักสูตรและการเรียนการสอน ภาวะผูน้ าทาง วิชาการ
เกี่ยวขอ้ งการมีส่วนร่วมกบั "หลกั ทางเทคนิค" ของการศึกษา คือการเรียนการ สอนและการเรียนรู้ ผนู้ าทาง
วชิ าการจะตอ้ งประกอบดว้ ยความเชี่ยวชาญและ ความสามารถพิเศษ เป็ นแกนนาในการทางานอยา่ งเจาะลึก
เกี่ยวกบั หลกั สูตรและการ เรียนการสอน และกลา้ หาญในการทางานโดยตรงกบั ครูในการปรับปรุงการเรียน
การสอนและการเรียนรู้
เชลล์ (Chell. 2001, p. 5) ได้กล่าวถึง ความสาคัญของภาวะผู้นาทาง วิชาการว่า ผู้บริ หาร
สถานศึกษาเป็ นผทู้ าหนา้ ท่ีบริหารงานภายในสถานศึกษาและเป็ น ผซู้ ่ึงมีอิทธิพลต่อคุณภาพการสอนของครู
ตลอดจนมีอิทธิพลต่อความมีประสิทธิผล ของการปฏิบตั ิงานภายในสถานศึกษา การศึกษาถึงภาวะผนู้ าทาง
วิชาการของ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา จึงเป็ นหนทางหน่ึงอนั จะนาไปสู่การสร้างความมีประสิทธิภาพ เป็ นเลิศ
ของสถานศึกษา
24
สรุปได้ว่า
ภาวะผนู้ าทางวชิ าการมีความสาคญั อยา่ งมากต่อการพฒั นาสถานศึกษา เพราะภาวะผนู้ าทางวชิ าการ
ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาน้นั สามารถสร้างวสิ ัยทศั น์ และขบั เคลื่อนสถานศึกษา จนนาไปสู่เป้าหมายที่ต้งั ไว้
ของสถานศึกษาได้ โดย กระบวนการโนม้ นา้ วของผบู้ ริหารสถานศึกษา ในการสร้างเป้าหมายความสาเร็จท่ี
จุดเดียวกนั ขององคก์ ร
2.4.3 องค์ประกอบภาวะผ้นู าทางวชิ าการ
การบริหารการศึกษาน้นั ผบู้ ริหารสถานศึกษาตอ้ งมีคุณลกั ษณะภาวะผนู้ าทางวชิ าการของตนดว้ ย มี
นกั การศึกษาไดก้ ล่าวถึงองคป์ ระกอบภาวะผนู้ าทางวชิ าการไวม้ ากมายดงั น้ี
ฮอลลิงเจอร์และเมอร์ฟี (Hallinger & Murphy, 1985, p. 221-224) ได้ เสนอองคป์ ระกอบของภาวะ
ผนู้ าทางวชิ าการของผบู้ ริหารสถานศึกษาไว้ 3 องคป์ ระกอบหลกั 11 องคป์ ระกอบยอ่ ย ดงั น้ี
1. การกาหนดภารกจิ ของโรงเรียน (Defining the school Mission) มีองคป์ ระกอบ
ยอ่ ย 2 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่
1.1 การกาหนดเป้าหมายของโรงเรียน (Framing the school Goals)
1.2 การสื่อสารเป้าหมายของโรงเรียน (Communicating school Goals)
2. การบริหารจัดการด้านการเรียนการสอน (Managing the Instructional Program) มีองคป์ ระกอบ
ยอ่ ย 3 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่
2.1 การนิเทศและการประเมินผลการสอนของครู (Supervising and Evaluating Instruction)
2.2 การประสานงานการใชห้ ลกั สูตร (Coordinating the Curriculum)
2.3 การตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของนกั เรียน (Monitoring student progress)
3. การเสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการของโรงเรียน (Promote School Climate) มีองค์ประกอบ
ยอ่ ย 6 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่
3.1 การควบคุมการใชเ้ วลาในการสอน (Protecting Instructional Time)
3.2 การดูแลเอาใจใส่ครู และนกั เรียนอยา่ งใกลช้ ิด (Maintaining High Visibility)
3.3 การจดั สิ่งจูงใจใหก้ บั ครู (Providing Incentives for Teachers)
3.4 การส่งเสริมใหม้ ีการพฒั นาวชิ าชีพ (Providing Professional Development)
3.5 การพฒั นาและสร้างมาตรฐานดา้ นวชิ าการ (Developing and Enforcing Academic Standards)
3.6 การจดั ใหม้ ีส่ิงส่งเสริมสภาพการเรียนรู้ (Providing Incentives for Learning)
อับเบน และฮิวส์ (Ubben & Hughes , 1987, p. 97-99) ไดก้ ล่าวถึง องคป์ ระกอบของภาวะผูน้ าทาง
วชิ าการ ไว้ 7 ดา้ น ดงั น้ี
1. การทางานตามเวลาท่ีกาหนด
2. การจดั บรรยากาศที่ดีของโรงเรียน
3. การมุ่งเนน้ ดา้ นวชิ าการ 25
4. การคาดหวงั ต่อครูและผลการปฏิบตั ิงานของครู
5. การทางานดา้ นหลกั สูตร
6. การเป็นผนู้ าท่ีมีประสิทธิภาพ
7. การประเมินผลและการตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของนกั เรียน
กลคิ แมน (Glickman, 2007, p. 47) ไดก้ ล่าวถึงองคป์ ระกอบภาวะผนู้ าทางวิชาการ ของผบู้ ริหารท่ีมี
ประสิทธิผล มีองคป์ ระกอบหลกั 5 ดา้ น ดงั น้ี
1. ดา้ นองค์ความรู้ (Knowledge) เป็ นความรู้ท่ีจาเป็ นสาหรับภาวะผูน้ าทางดา้ น วิชาการเพื่อใช้ใน
การปฏิบตั ิภาระหนา้ ท่ีของผบู้ ริหารสถานศึกษา มีองคป์ ระกอบยอ่ ย คือ
1.1 ความรู้เก่ียวกบั โรงเรียนท่ีมีประสิทธิผล
1.2 ความรู้เกี่ยวกบั การสอนที่มีประสิทธิผล
1.3 ความรู้และความเชื่อเก่ียวกบั ปรัชญาในการจดั การศึกษา
1.4 ความรู้เกี่ยวกบั พฒั นาทางการบริหาร
1.5 ความรู้เก่ียวกบั ทฤษฎีการบริหารการเปล่ียนแปลง
1.6 ความรู้เกี่ยวกบั ทฤษฎีหลกั สูตรและการพฒั นาหลกั สูตร
2. ดา้ นภาระหนา้ ท่ี (Tasks) เป็นภาระหนา้ ที่ท่ีสัมพนั ธ์กบั ความรู้ มีองคป์ ระกอบยอ่ ย คือ
2.1 การนิเทศและประเมินผลการสอน
2.2 การพฒั นาบุคลากรและทีมงาน
2.3 การพฒั นาหลกั สูตร และการนาหลกั สูตรไปใช้
2.4 การพฒั นากระบวนการกลุ่ม
2.5 การทาวจิ ยั เชิงปฏิบตั ิการ และการวจิ ยั ในช้นั เรียน
2.6 การสร้างบรรยากาศใหเ้ อ้ือตอ่ การเรียนรู้
2.7 การสร้างความสัมพนั ธ์ท่ีดีระหวา่ งโรงเรียนกบั ชุมชน
3. ด้านทักษะจาเป็ น (Skills) เป็ นการนาความรู้ไปสู่ การปฏิบัติที่มีประสิ ทธิผล ผู้บริ หาร
สถานศึกษาตอ้ งมีทกั ษะภาวะผนู้ าที่จาเป็นในการปฏิบตั ิงาน จาแนกเป็น 8 ดา้ น ดงั น้ี
3.1 ทกั ษะการติดตอ่ สื่อสาร
3.2 ทกั ษะดา้ นบุคคล
3.3 ทกั ษะการนิเทศ
3.4 ทกั ษะการตดั สินใจร่วมกนั
3.5 ทกั ษะการกาหนดเป้าหมาย หรือการกาหนควสิ ยั ทศั น์
3.6 ทกั ษะการประเมินผลและการวางแผน
3.7 ทกั ษะการสังเกต
3.8 ทกั ษะการวจิ ยั และประเมินผล
26
สรุปได้ว่า องค์ประกอบของภาวะผู้นาทางวิชาการ ที่ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีความรู้
ความสามารถในการปฏิบตั ิงานวิชาการของสถานศึกษาเป็ นมาตรฐาน มีประสิทธิภาพพฒั นาและยกระดบั
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียนใหส้ ูงข้ึน
2.5 หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
2.5.1 ความหมายของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน คือ การส่งเสริมพฒั นา การป้องกนั และการแกไ้ ขปัญหา ให้แก่
นกั เรียน เพ่ือให้นกั เรียนมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคม์ ีภูมิคุม้ กนั ทางจิตใจ มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีทกั ษะในการ
ดารงชีวิตและรอดพน้ จากสภาวะวิกฤตต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั (ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน โรงเรียน
มหาภาพกระจาดทองอุปถมั ภ์ 2559 )
ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน หมายถึง กระบวนการด าเนินงานดูแลช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งเป็ น
ระบบ มีข้นั ตอน มีครูท่ีปรึกษาเป็นบุคลากรหลกั ในการดาเนินงานโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากร ทุกฝ่ ายท่ี
เก่ียวขอ้ งท้งั ภายในและนอกสถานศึกษา อนั ไดแ้ ก่คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง ชุมชน ผูบ้ ริหาร
และ ครูทุกคน มีวิธีการและเคร่ืองมือท่ีชดั เจน มีมาตรฐานคุณภาพและมีหลกั ฐานการท างานที่ตรวจสอบได้
(ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน โรงเรียนมหาภาพกระจาดทองอุปถมั ภ์ 2559 )
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็ นกระบวนการดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมี
ข้นั ตอน พร้อมด้วยวิธีการและเคร่ืองมือการทางานท่ีชัดเจนโดยมีครูท่ีปรึกษาเป็ นบุคลากรหลกั ในการ
ดาเนินการดังกล่าว และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูท่ีเก่ียวข้อง ผู้ปกครองหรือ
บุคคลภายนอกที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะดา้ น(หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามญั ศึกษา,2558)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2552 : 12) ได้ให้ความหมายไวว้ ่า ระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียน คือ การส่งเสริมพฒั นา การป้ องกนและการแกไ้ ขปัญหาใหแ้ ก่นกั เรียน เพ่ือให้นกั เรียนมี
คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ มีภูมิคุม้ กนั ทางจิตใจ มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีทกั ษะในการดารงชีวิต และรอดพน้
สภาวะวกิ ฤติตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ( 2549 , หน้า 3) ให้ความหมายระบบการดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียน เป็ นกระบวนการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งเป็ นระบบมีข้นั ตอน มีครูประจาช้นั หรือครู
ท่ีปรึกษา เป็ นบุคลากรหลกั ในการดาเนินงาน โดยการมีส่วนร่วมกบั บุคลากรทุกฝ่ ายท้งั ภายในและภายนอก
ของโรงเรียนอนั เก่ียวขอ้ ง ไดแ้ ก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง ชุมชน ผูบ้ ริหาร และคณะครู มี
วธิ ีการและเครื่องมือท่ีชดั เจน มีมาตรฐานคุณภาพ และมีหลกั ฐานในการที่ตรวจสอบได้
กรมสุขภาพจิต (2546 ก : 7) ไดร้ ะบุวา่ ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน หมายถึง การส่งเสริม
การป้องกนั และการแกไ้ ขปัญหา โดยมีวธิ ีการและเคร่ืองมือสาหรับครูประจาช้นั หรือครูท่ีปรึกษา และ
บุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ ง เพื่อใชใ้ นการดาเนินงานพฒั นานกั เรียนใหม้ ีคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ และปลอดภยั
จากสารเสพติด 27
จากความหมายของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าว สรุปได้ว่า ระบบการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียน หมายถึง กระบวนการช่วยเหลือ ส่งเสริม ป้องกนั แกไ้ ขปัญหา พฒั นา เพื่อให้นกั เรียนไดพ้ ฒั นา
ตามวยั มีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ มีภูมิคุม้ กนั ที่เขม้ แข็ง คุณภาพชีวิตท่ีดี มีทกั ษะการดารงชีวิตในสังคม
และรอดพน้ จากอนั ตรายท้งั ปวงโดยมีวธิ ีการและเคร่ืองมือที่ชดั เจน มีคุณภาพ มาตรฐาน มีหลกั ฐานในการ
ทางานที่ตรวจสอบได้ โดยมีคณะครูท่ีประจาช้ันหรือครูท่ีปรึกษาและบุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งท้งั ภายในและ
ภายนอกของโรงเรี ยน โดยดาเนิ นการไปในทิ ศทางเดี ยวกัน เพ่ือการดูแลช่วยเห ลือนักเรี ยน
อย่างใกล้ชิด ด้วยความเต็มใจ และภาคภูมิใจในบทบาทท่ีมีส่วนสาคญั ต่อการพฒั นาคุณภาพชีวิตของ
นกั เรียนใหไ้ ปในทางที่ดี และเป็นบุคคลท่ีมีคุณค่าและพฒั นาสงั คมตอ่ ไป
2.5.2 ความสาคญั ของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 ได้
กาหนดความมุ่งหมายและหลกั การจดั การศึกษาตอ้ งเป็ นไปเพ่ือพฒั นาคนไทยให้เป็ น มนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ ท้งั
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวฒั นธรรม ในการดารงชีวิต สามารถอยู่
ร่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสุข และแนวการจดั การศึกษายงั ไดใ้ หค้ วามสาคญั แก่ผเู้ รียนทุกคน มาตรา 22 ให้
ยึดหลกั วา่ ผูเ้ รียน ทุกคน มีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ และถือว่าผูเ้ รียนมีความสาคญั ท่ีสุด
กระบวนการจดั การศึกษา ตามมาตรา 23 ขอ้ 5 ตอ้ งส่งเสริมให้ผเู้ รียนพฒั นาตามธรรมชาติ และเตม็ ศกั ยภาพ
ในการจดั การศึกษาตอ้ งเน้นความสาคญั ท้งั ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความ
เหมาะสมของแต่ละระดบั การศึกษา ซ่ึงเร่ืองหน่ึงท่ีกาหนดให้ดาเนินการ คือเรื่องความรู้และทกั ษะในการ
ประกอบอาชีพ และการดารงชีวติ อยา่ งมีความสุข มาตรา 24 กาหนดใหก้ ารจดั การเรียนรู้จะตอ้ งสอดคลอ้ ง
กบั ความสนใจและความถนัดของผูเ้ รียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ฝึ กทกั ษะ กระบวน
ความคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหา
จดั กิจกรรมใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึ กปฏิบตั ิใหค้ ิดเป็น ทาเป็ น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่
รู้อยา่ งต่อเนื่องจดั การเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ดา้ นตา่ งๆ อยา่ งได้ สดั ส่วนสมดุลกนั รวมท้งั
ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคไ์ วใ้ นทุกวิชา และประสานความร่วมมือกบั
บิดามารดาและผปู้ กครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ ายเพอ่ื ร่วมกนั พฒั นาผเู้ รียนตามศกั ยภาพ ให้มีคุณภาพท้งั
เก่ง ดี มีสุข สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานดา้ นผลผลิต คือ นกั เรียนในการประกนั คุณภาพการศึกษา
มาตรฐานที่ 1 นกั เรียนมีสุขภาวะท่ีดีและมีสุนทรียภาพ
มาตรฐานท่ี 2 มุง่ ใหน้ กั เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์
มาตรฐานท่ี 3 นกั เรียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รักเรียนรู้ และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (2560 : 2) ในฐานะท่ีมีบทบาทในการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนในระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานได้เล็งเห็นภาวะวิกฤติ ที่เกิดข้ึนต่อเด็กและ
เยาวชนมากมาย ซ่ึงจะส่งผลตอ่ การพฒั นาประเทศในอนาคตจึงมีนโยบายสาคญั ท่ีจะตอ้ งร่วมมือกบทุกฝ่ าย
เพอ่ื แกไขปัญหา วธิ ีการหน่ึงคือการนาระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน มาดาเนินการอยา่ งจริงจงั เน่ืองจาก
28
ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน มีกระบวนการทางาน อยา่ งเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพ เป็นระบบที่ช่วย
ป้องกนั แกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดข้ึนไดร้ วมท้งั ยงั ช่วย เสริมสร้างคุณภาพที่ดีให้แก่เด็กและเยาวชน ท้งั ดา้ นร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา สังคม ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรมและวถิ ีชีวติ ที่เป็นสุข
สรุป การพฒั นานกั เรียนใหเ้ ป็ นบุคคลที่มีคุณภาพท้งั ดา้ นร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มี
คุณธรรมจริยธรรม และมีวถิ ีชีวติ ที่เป็ นสุขตามที่สังคมมุ่งหวงั โดยผา่ นกระบวนการทางการศึกษาน้ัน
นอกจากจะดาเนินการ ดว้ ยการส่งเสริมสนบั สนุนนกั เรียนแลว้ การป้องกนั และการช่วยเหลือแกป้ ัญหาต่าง
ๆ ท่ีเกิดกบั นกั เรียนก็เป็ นสิ่งสาคญั เนื่องจากสภาพสังคมที่เปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วในทุกมิติ ท้งั ดา้ นการ
ส่ือสาร เทคโนโลยี ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาการระบาดของสารเสพติด ปัญหาครอบครัว ปัญหาการแข่งขนั
ทุกรูปแบบ ก่อให้เกิดความทุกข์ ความวติ กกงั วล ความเครียด ซ่ึงลว้ นแต่เป็ นผลเสียต่อสุขภาพจิตและ
สุขภาพกาย ของทุกคน จนนาไปสู่การเกิดปัญหาและสภาวะวกิ ฤติทางสังคม
ดงั น้นั ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ ของนกั เรียน ใหม้ ีความสมบูรณ์พร้อมอยา่ งเป็ นองคร์ วมท้งั ดา้ น
ร่างกาย สติปัญญา ความรู้ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนใหม้ ีทกั ษะในการดารงชีวติ จึง
จาเป็ นที่ทุกโรงเรียน ในฐานะหน่วยงานที่ตอ้ งรับผิดชอบในการสร้างเสริมคุณภาพชีวติ ผูเ้ รียน และแก้
วกิ ฤติสังคม จึงควรนาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนมาประยุกตใ์ ชแ้ ละพฒั นาให้เหมาะสมกบั บริบทของ
แต่ละโรงเรียน
2.5.3 หลกั การ แนวคดิ กระบวนการ เกยี่ วกบั ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
หลักการ แนวคิด ของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน กรมสุขภาพจิต (2560: 3) กล่าวถึงหลกั การ
ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนโดยมีแนวคิดหลกั ในการดาเนินงาน ดงั น้ี
1. มนุษยท์ ุกคนมีศกั ยภาพที่จะเรียนรู้และพฒั นาตนเองไดต้ ลอดชีวติ เพียงแตใ่ ชเ้ วลาและวธิ ีการท่ี
แตกต่างกนั เน่ืองจากแต่ละคนมีความเป็ นปัจเจกบุคคล ดงั น้นั การยึดนกั เรียนเป็ นสาคญั ในการพฒั นาเพื่อ
ดูแล ช่วยเหลือท้งั ดา้ นการป้องกนั แกไ้ ขปัญหา หรือการส่งเสริม จึงจาเป็นอยา่ งยงิ่
2. ความสาเร็จของงาน ตอ้ งอาศยั การมีส่วนร่วม ท้งั การร่วมใจ ร่วมคิดร่วมทาของทุกคนท่ีมีส่วน
เก่ียวขอ้ ง ไม่วา่ จะเป็นบุคลากรโรงเรียนในทุกระดบั ผปู้ กครอง หรือชุมชน
เพ่ือให้การดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนประสบผลสาเร็จน้ัน (สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน, 2560 : 9-12) ไดก้ าหนดกลยทุ ธ์การดาเนินงาน โดยมีหลกั การดงั น้ี
1. การบริหารเชิงระบบ
การดาเนินการช่วยเหลือนกั เรียนในโรงเรียน สังกดั สานกั คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานน้นั
เป็นการบริหารคุณภาพเชิงระบบตามแนวคิดของเดมม่ิง (PDCA) โดยมีข้นั ตอนในการดาเนินการดงั ต่อไปน้ี
1) การวางแผน (Planning) เป็ นการวางระบบซ่ึงเป็ นองค์ประกอบแรกที่สาคัญท่ีสุด จะต้อง
กาหนดข้นั ตอนการทางานเป็ นกระบวนการ แต่ละข้นั ตอนมีวิธีการปฏิบตั ิเป็ นมาตรฐานและการบนั ทึก
การทางานเป็นปัจจุบนั ขอ้ มูลจากบนั ทึกน้ีจะนาไปสู่การตรวจสอบประเมินตนเองและใหผ้ อู้ ื่นตรวจสอบได้
และเป็ นสารสนเทศท่ีสะทอ้ นให้เห็นคุณภาพตามมาตรฐานและตวั ช้ีวดั ของระบบยอ่ ยท่ีส่งผลถึงคุณภาพ
ของโรงเรียนท้งั ระบบ 29
2) การดาเนินงาน (Doing) เป็ นการปฏิบตั ิร่วมกนั ของทุกคนโดยใช้กระบวนการ วิธีการ และ
บนั ทึก บุคคลภายในองคก์ รท่ีรับผดิ ชอบในระบบยอ่ ยต่างๆ จะปฏิบตั ิ และบนั ทึกต่อเนื่อง และเป็นปัจจุบนั
3) การตรวจสอบและประเมินผล (Checking) เป็ นการประเมินตนเองโดยร่วมกนั ประเมิน หรือ
ผลดั เปล่ียนกนั ประเมินภายใน ระหวา่ งบุคคล ระหวา่ งทีมยอ่ ยในโรงเรียน
4) การปรับปรุงพฒั นา (Action) เป็ นการนาผลการประเมินมาแก้ไข พัฒนาซ่ึงอาจจะแก้ไข
พฒั นาในส่วนท่ีเป็ นกระบวนการ วิธีการ ปัจจยั หรือการบนั ทึกใหด้ ีข้ึนจนระบบคุณภาพหรือวงจรคุณภาพ
เป็น วฒั นธรรมการทางานขององคก์ รอยา่ งยงั่ ยนื
2. การทางานเป็ นทมี
การทางานในระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนในสถานศึกษาน้ัน การดาเนินงานตอ้ งมีการทาเป็ น
ทีมจะทาตามลาพงั ไม่ได้ ดงั น้นั จึงแบง่ ทีมดาเนินการดงั น้ี
1) ทีมนาไดแ้ ก่ คณะผูบ้ ริหารสถานศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาซ่ึงจะเป็ นผู้ วิเคราะห์
จุดอ่อนจุดแข็ง จดั ทาแผนกลยุทธ์ควบคุม กากับ ติดตามและสนับสนุน เสริมสร้างพลังร่วม เพ่ือให้
การดาเนินงานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ
2) ทีมสนับสนุน เป็ นทีมหลกั ในการสนับสนุนด้านวิชาการและอ่ืน ๆ ให้เกิดการสร้างระบบ
คุณภาพข้ึน ทีมสนบั สนุนจะเป็ นใครข้ึนกบั การพฒั นาระบบว่ามีจุดเน้นท่ีระบบใด เช่น ทีมระบบการดูแล
ช่วยเหลือ นกั เรียน หวั หนา้ ทีม คือรองผบู้ ริหารสถานศึกษาที่ไดร้ ับมอบหมาย
3) ทีมทา เป็ นทีมที่สมาชิกรับผิดชอบการทางานโดยตรง เช่น ระบบการดูแลช่วยเหลือ นกั เรียน
คือทีมระดบั ช้นั ครูประจาช้นั ครูท่ีปรึกษา มีบทบาทหนา้ ท่ีในการพฒั นาคุณภาพกิจกรรมตา่ ง ๆใหม้ ีคุณภาพ
3. การแลกเปลย่ี นเรียนรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จะทาให้ไดร้ ับทราบจุดอ่อนในการดาเนินงานของตน เพ่ือใหเ้ กิดแนวทางที่
จะพฒั นาให้มีคุณภาพสูงข้ึน การแลกเปล่ียนเรียนรู้ทาได้ท้งั ภายในโรงเรียนและระหว่างโรงเรียนโดยมี
บรรยากาศ การทางานท่ีเป็ นกนั เอง ไม่ใช่การสั่งการหรือบงั คบั บญั ชา ทาให้ผปู้ ฏิบตั ิงานในแต่ละส่วนเกิด
ความรู้สึกท่ีดี ไมต่ อ้ งกงั วลเร่ืองการตรวจสอบจากผบู้ งั คบั บญั ชา
4. การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล เป็ นกระบวนการสาคัญในการพัฒนางาน ช่วยส่งเสริม
สนับสนุนและให้ข้อมูลย้อนกลับที่จะนาไปใช้ปรับปรุงงานต่อไป สาหรับการดาเนินงานระบบ
การช่วยเหลือนกั เรียนใหบ้ รรลุเป้าหมายอยา่ งมีคุณภาพ ควรดาเนินการในระบบ
กระบวนการของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
กรมสามญั ศึกษา (2560: 5) กล่าวว่า คือ การดูแลช่วยเหลือนักเรียนหมายรวมถึง การส่งเสริม การ
ป้องกนั และการแกไ้ ขปัญหา โดยมีวิธีการและเครื่องมือสาหรับครูท่ีปรึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวขอ้ ง เพ่ือใช้
ในการดาเนินงานพฒั นานกั เรียนให้มีคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์และปลอดภยั จากสารเสพติด ระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียน เป็นระบบการดาเนินงานดูแลนกั เรียนอยา่ งมีข้นั ตอนพร้อมดว้ ยวธิ ีการและเครื่องมือ
30
การทางานที่ ชดั เจนโดยมีครูที่ปรึกษาเป็ นบุคลากรหลกั ในการดาเนินการดงั กล่าว และมีการประสานความ
ร่วมมืออยา่ ง ใกลช้ ิดกบั ครูท่ีเกี่ยวขอ้ งหรือบุคลากรภายนอก รวมท้งั การสนบั สนุน ส่งเสริมจากโรงเรียนโดย
การด าเนินการ ตามกระบวนการของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
(กรมสามญั ศึกษา. 2560: 9, 29)
1. การรู้จกั นกั เรียนเป็นรายบุคคล
ดว้ ยความแตกต่างของผูเ้ รียนแต่ละคนท่ีมีพ้ืนฐานชีวิตไม่เหมือนกนั จึงส่งผลให้เกิดพฤติกรรม
ของแต่ละคนแตกต่างกนั ท้งั ดา้ นบวกและดา้ นลบ การรู้ขอ้ มูลที่เก่ียวขอ้ งพ้นื ฐานของผเู้ รียน จะช่วย ใหเ้ ขา้ ใจ
ผูเ้ รียนมากข้ึนสามารถนาขอ้ มูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อคดั กรองผูเ้ รียน และเลือกใช้วิธีการส่งเสริม ป้องกนั
และแกไ้ ขปัญหาใหผ้ ูเ้ รียนไดอ้ ยา่ งถูกทาง โดยครูที่ปรึกษาเริ่มศึกษาเอกสารขอ้ มูล ครอบครัวของผเู้ รียน ท้งั
สัมพนั ธภาพในครอบครัวและฐานะทางเศรษฐกิจ ผลการเรียนของผูเ้ รียนใน ระดับท่ีผ่านมา สังเกต
พฤติกรรม ลกั ษณะนิสัย การร่วมกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมโฮมรูม เป็นตน้
2. การคดั กรองนกั เรียน
การคดั กรองผูเ้ รียนเป็ นการนาขอ้ มูลเก่ียวกบั ผูเ้ รียนท่ีไดจ้ ากครูที่ปรึกษาและครูผสู้ อน มาทาการ
วเิ คราะห์และสังเคราะห์โดยครูท่ีปรึกษา เพอ่ื จดั กลุ่มผูเ้ รียน ในการดูแลช่วยเหลือและ ส่งเสริมและพฒั นาให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพที่เป็นจริงของผเู้ รียน โดยแบ่งผเู้ รียนออกเป็น 3 กลุ่ม ดงั น้ี
2.1 กลุ่มปกติ คือ ผูเ้ รียนท่ีได้รับการวิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ ตามเกณฑ์การคดั กรองแล้ว อยู่ใน
เกณฑ์ของกลุ่มปกติ เช่น ครอบครัวสมบูรณ์ ไม่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ เขา้ ร่วมกิจกรรมทุกคร้ัง แต่งกาย
เรียบร้อย มีความประพฤติดี เขา้ เรียนทุกคร้ังและผลการเรียนดี
2.2 กลุ่มเสี่ยง คือ ผเู้ รียนท่ีไดร้ ับการวิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ ตามเกณฑ์การคดั กรองแลว้ อยูใ่ นเกณฑ์
ของกลุ่มเสี่ยง เช่น ครอบครัวแตกแยก หย่าร้าง พ่อแม่เสียชีวิต ฐานะครอบครัวไม่ดี ครอบครัวมีภาระมาก
ขาดการร่วมกิจกรรมบ่อยคร้ัง แต่งกายไม่เหมาะสม พฤติกรรมไม่เหมาะสม บ่อยคร้ัง ขาดเรียนบ่อย ขาด
สอบหรือไมส่ ่งงานบ่อยคร้ัง
2.3 กลุ่มมีปัญหา คือ ผูเ้ รียนท่ีไดร้ ับการวเิ คราะห์ขอ้ มูลต่างๆ ตามเกณฑ์การคดั กรองแลว้ อยูใ่ น
เกณฑ์กลุ่มมีปัญหา ซ่ึงตอ้ งให้การช่วยเหลือและแก้ไขโดยด่วน เช่นมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม แต่งกายไม่
เรียบร้อยเป็ นประจา ไม่ร่วมกิจกรรมกลุ่มและกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา ขาดเรียน ติดต่อกนั มากว่า
3 คร้ัง และเก่ียวขอ้ งสิ่งเสพติด
31
3. การส่งเสริมพฒั นานกั เรียน
การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาใหผ้ เู้ รียนเป็นการช่วยป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาที่ตรงจุด หลงั จาก ได้
คดั กรองผเู้ รียนออกเป็นกลุ่มต่างๆ แลว้ เริ่มตน้ จากครูที่ปรึกษาสร้างสัมพนั ธภาพท่ีดีกบั ผูเ้ รียน การเย่ียมบา้ น
ผเู้ รียน การใหค้ าปรึกษา คาแนะนา ใหค้ วามช่วยเหลือ การช่วยหาทุนการศึกษา หรือ ทุนอาหารกลางวนั
ให้ผูเ้ รียนและการจดั กิจกรรมเพ่ือป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา เช่น การประชุมผูป้ กครอง การจดั กิจกรรมวนั
ผปู้ กครองพบครูที่ปรึกษา เป็ นตน้ ซ่ึงจะช่วยสร้างภูมิคุม้ กนั ให้ผูเ้ รียนและลดปัญหา การออกกลางคนั ของ
ผเู้ รียนได้
4. การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา
การส่งเสริมและพฒั นาผเู้ รียนเป็ นการสนบั สนุนผูเ้ รียนท้งั กลุ่มปกติ กลุ่มเส่ียง และกลุ่ม มีปัญหา
ใหม้ ีคุณภาพมากข้ึน พฒั นาศกั ยภาพให้สูงข้ึน มีความภูมิใจในตนเองมีคุณภาพชีวติ ท่ีมีข้ึน และช่วยป้องกนั
ไม่ให้ผูเ้ รียนกลุ่มปกติกลายเป็ นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มมีปัญหาและช่วยให้ผูเ้ รียนกลุ่มเสี่ยง และหรือกลุ่มมี
ปัญหากลบั มาเป็นกลุ่มปกติ การส่งเสริมและพฒั นาผเู้ รียน สามารถด าเนินการไดโ้ ดยจดั กิจกรรมต่างๆ เช่น
กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมกีฬา กิจกรรมเสริมสร้างทกั ษะการดารงชีวติ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน การศึกษาดูงาน
นอกสถานที่ การอบรมทกั ษะวชิ าชีพ การใหท้ ุนการศึกษา การจดั ทาและประกวดโครงงานและส่ิงประดิษฐ์
ของคนรุ่นใหม่ เป็นตน้
5. การส่งต่อ
การป้องกันและแก้ไขปัญหาของผูเ้ รียนโดยครูที่ปรึกษา บางกรณีอาจมีความยากต่อการ
ช่วยเหลือแลว้ ไม่ดีข้ึนหรืออาจมีปัญหาบานปลาย ยากต่อการแกไ้ ข ครูที่ปรึกษาจาเป็ นตอ้ งหา ผูเ้ ช่ียวชาญ
เฉพาะทางใหช้ ่วยเหลือ หรือส่งตอ่ ใหผ้ ทู้ ่ีมีความเหมาะสม การส่งตอ่ ทาได้ 2 แบบ คือ
5.1 การส่งต่อภายใน (ในสถานศึกษา) เช่น งานวิชาการ งานปกครอง งานสวสั ดิการ นักเรียน
นกั ศึกษาและงานแนะแนว เป็นตน้
5.2 การส่งต่อภายนอก (หน่ายงานภายนอก) โดยฝ่ ายแนะแนวหรือฝ่ ายปกครองเป็น ผดู้ าเนินการส่ง
ตอ่ เช่น ส่งต่อนกั จิตวทิ ยา สถานพยาบาลเฉพาะทาง หรือเจา้ หนา้ ที่ตารวจ เป็นตน้
การดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของครูประจาช้นั /ครูที่ปรึกษา สามารถเขียน
แสดงเป็ นแผนผงั การดาเนินงาน ดงั ภาพที่ 2.1 ( โรงเรียนคีรีราษฎร์พฒั นา สพม.12 . รูปแบบการจดั ระบบ
ดูแลช่วยเหลือนกั เรียน . 2561 )
32
แตล่ ะองคป์ ระกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนดงั กล่าว มีความสาคญั มีวธิ ีการและ เครื่องมือ
ท่ีแตกต่างกนั ไป แต่มีความสัมพนั ธ์เก่ียวเนื่องกนั ซ่ึงเอ้ือใหก้ ารดูแลช่วยเหลือนกั เรียนใน โรงเรียนเป็นระบบ
ท่ีมีประสิทธิภาพ
2.6 งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง
การวิจยั และการศึกษาเกี่ยวกบั ภาวะผนู้ าทางวิชาการของผบู้ ริหารในระบบดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียนในโรงเรียนขนาดกลางของสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาอ่างทอง คร้ัง
น้ี จากการศึกษางานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง พบวา่ มีงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ดงั น้ี
2.6.1 งานวจิ ัยภายในประเทศ
พชั ราภรณ์ จนั ทพล ศึกษา ภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผบู้ ริหารโรงเรียนในอาเภอองครักษ์
( มหาวิทยาลยั บูรพา 2559 ) ผลการวิจยั พบว่า 1. ภาวะผูน้ าทางวิชาการของผูบ้ ริหารโรงเรียนในอาเภอ
องครักษ์ สังกดั สานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครนายกโดยรวมอยู่ในระดบั มากโดยเรียง
ค่าเฉลี่ยจากมากไปนอ้ ยไดแ้ ก่ ดา้ นการกากบั ติดตามความกา้ วหนา้ ของนกั เรียนดา้ นการส่งเสริมบรรยากาศ
การเรียนการสอน และดา้ นการกาหนดพนั ธกิจของโรงเรียน 2. การเปรียบเทียบภาวะผนู้ าทางวิชาการของ
ผบู้ ริหารโรงเรียนในอาเภอองครักษ์ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก พบวา่ ประเภท
โรงเรียน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคญั ทางสถิติ การกากบั ติดตามความก้าวหน้าของนักเรียนสูงกว่า
บรรยากาศการเรียนการสอน ขนาดโรงเรียนไม่มีนยั สาคญั ทางสถิติ ประสบการณ์การบริหารแตกต่างกนั
อยา่ งไม่มีนยั สาคญั ทางสถิติ 33
สุนิสา มาสุข ศึกษา การดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูโรงเรียนสังกดั
องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั ระยอง ( มหาวิทยาลยั บูรพา 2560 ) ผลการวจิ ยั พบวา่ 1. การดาเนินงานระบบ
ดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของครูโรงเรียนสังกดั องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั ระยอง โดยรวมและรายดา้ นอยูใ่ น
ระดบั มาก เรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย 3 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ ดา้ นการส่งต่อ ดา้ นการส่งเสริมและพฒั นา
นกั เรียน และดา้ นการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหานกั เรียน ตามลาดบั 2. การเปรียบเทียบการด าเนินงานระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูโรงเรียนสังกดั องค์การบริหาร ส่วนจงั หวดั ระยอง จาแนกตามเพศ พบว่า
โดยรวมและด้านแตกต่างกนั อย่างไม่มีนัยสาคญั ทางสถิติยกเวน้ ด้านการส่งเสริมและพฒั นานักเรียน
แตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 โดยครูเพศชาย มีการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียนมากกวา่ มีการส่งเสริมและพฒั นานกั เรียนสูงกวา่ จาแนกตาม ประสบการณ์ทางาน พบวา่ โดยรวม
และด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ โดยครูที่ปรึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีการ
ดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมากกว่า มีการทาความรู้จกั นักเรียนเป็ นรายบุคคลสูงกว่า และ
ระดบั ช้ันของครูท่ีปรึกษาโดยรวมและรายดา้ นแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคญั ทางสถิติ ยกเวน้ ดา้ นการ
ส่งเสริม และพฒั นานักเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูท่ีปรึกษาระดับ
มธั ยมศึกษาตอนตน้ มีการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมากกวา่ มีการจดั กิจกรรมส่งเสริมและ
พฒั นานกั เรียนสูงกว่า 3. แนวทางในการเสริมสร้างการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน เรียงตาม
อนั ดับความสาคญั จากผูเ้ ช่ียวชาญมากไปหาน้อย คือ ครูควรมีความรู้และความเข้าใจในการคดั กรอง
นกั เรียน ครูควรวางแผนข้นั ตอน ท่ีชดั เจนในการคดั กรองนกั เรียน และโรงเรียนจะตอ้ งมีเกณฑ์ท่ีกาหนด
เป็นมาตรฐานเพอ่ื นามาคดั กรองและแบง่ กลุ่มนกั เรียนอยา่ งถูกตอ้ ง
จนั จิรา ไชยรัตน์ และ รุ่งชชั ดาพร เวหะชาติ ศึกษา การดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนของผู้บริ หารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู (บริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยทกั ษิณ 2560) ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบระดบั การดาเนินงานระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียนของผูบ้ ริหารสถานศึกษาตาม ความคิดเห็นของครูสังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษา เขต 12 จาแนกตามตัวแปรเพศ พบว่า ครูที่มีเพศต่างกัน มีความ คิดเห็นเกี่ยวกับการการ
ดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของผูบ้ ริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกดั สานกั งาน
เขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 ในภาพรวมและรายดา้ นไม่แตกต่างกนั 2) ผลการเปรียบเทียบระดบั
การการดาเนินงานระบบดูแล ช่วยเหลือนกั เรียนของผูบ้ ริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกดั
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 จาแนก ตามตวั แปรอายุ พบวา่ ครูที่มีอายุต่างกนั มีความ
คิดเห็นเกี่ยวกบั การการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของผูบ้ ริหาร สถานศึกษาตามความคิดเห็น
ของครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 ในภาพรวมและรายดา้ นไม่แตกต่างกนั 3)
ผลการเปรียบเทียบระดบั การดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของผูบ้ ริหารสถานศึกษาตามความ
คิดเห็นของครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 จาแนกตามตวั แปรระดบั การศึกษา
พบวา่ ครูท่ีมีระดบั การศึกษาตา่ งกนั มีความคิดเห็นเกี่ยวกบั การดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของ
34
ผูบ้ ริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 12 โดย
ภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการส่งเสริมและพฒั นานักเรียน
แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01
สุธิดา พงษส์ วสั ด์ิ ศึกษา การดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียนชะอา
คุณหญิงเนื่องบุรี (บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2561) ผลการวิจยั พบว่า 1) การดาเนินงาน
ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียนชะอาคุณหญิงเน่ืองบุรี โดยภาพรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก
เรียงลาดบั ค่ามชั ฌิมเลขคณิตจากมากไปหานอ้ ย ไดแ้ ก่ การรู้จกั นกั เรียนเป็ นรายบุคคล การคดั กรองนกั เรียน
การส่งต่อ การป้องกันและแก้ไขปัญหา การส่งเสริมและพัฒนานักเรียน 2) แนวทางการพัฒนาการ
ดาเนินงานของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียน ชะอาคุณหญิงเน่ืองบุรี มีแนวทาง อาทิเช่น (1)
ดา้ นการส่งเสริมและพฒั นานักเรียน โรงเรียนควรมีการ พฒั นาจดั กิจกรรมให้นกั เรียนรู้จกั จุดเด่น จุดดอ้ ย
และการพฒั นาปรับปรุงตนเอง (2) ดา้ นการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาโรงเรียนควรมีการจดั กิจกรรมแกไ้ ข
ปัญหาของนกั เรียนกลุ่มปกติกลุ่มเส่ียงและนกั เรียนกลุ่มมีปัญหา (3) ดา้ นการส่งตอ่ โรงเรียนควรมีการช้ีแจง
ใหก้ บั นกั เรียนและผปู้ กครอง นกั เรียนทราบถึงเหตุผลท่ีแทจ้ ริงของการส่งตอ่ นกั เรียน เป็นตน้
ธิตินดั ดา สิงห์แกว้ ศึกษา การพฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนโดยใชว้ งจร PDCA :
กรณี ศึกษา โรงเรี ยนวัดป่ าตึงห้วยยาบ ( บริ หารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ 2562 )
ผลการศึกษาพบวา่ โรงเรียนยงั มีปัญหาขาดการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งเป็ นระบบ
ขาดการกากบั ติดตามอย่างต่อเน่ือง ส่วนการพฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้วงจร PDCA ของ
โรงเรียนวดั ป่ าตึงห้วยยาบนนั้ ตอ้ งมีการพฒั นาและจดั ทาเอกสารคู่มือท่ีสมบูรณ์มีการกาหนด หลกั เกณฑ์
การประเมินมีแบบฟอร์มเอกสารการประเมินและแบบบนั ทึกพฤติกรรมนกั เรียนให้ ชดั เจนตามวงจร PDCA
เพ่ือใชใ้ นการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียนวดั ป่ าตึงหว้ ยยาบต่อไป
สิทธิชยั สุขราชกิจ และ ปิ ยะนาถ บุญมีพิพธิ ศึกษา ภาวะผนู้ าการเปลี่ยนแปลงของ
ผบู้ ริหารที่ส่งผลตอ่ การดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ( คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ สถาบนั
เทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ 2562) ผลการวิจยั พบวา่ 1) ภาวะผูน้ าการเปลี่ยนแปลงของผูบ้ ริหารโรงเรียน
โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก เรียงลาดบั จาก มากไปหาน้อย คือ ด้านการสร้างแรงบนั ดาลใจ ดา้ นการมี
อิทธิพลอยา่ งมีอุดมการณ์ดา้ นการคานึงถึงความเป็ น ปัจเจกบุคคล ดา้ นการกระตุน้ ใหเ้ กิดวิสัยทศั น์ร่วมกนั
และดา้ นการกระตุน้ ทางปัญญา 2) การดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก
เรียงลาดบั จากมากไป หานอ้ ย คือ ดา้ นการป้องกนั ช่วยเหลือและแกไ้ ข ดา้ นการรู้จกั นกั เรียนเป็ นรายบุคคล
ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งเสริมและพัฒนา และด้านการส่งต่อนักเรียน3) ภาวะผูน้ าการ
เปลี่ยนแปลง ไดแ้ ก่ ดา้ นการกระตุน้ ทางปัญญา ดา้ นการกระตุน้ ให้ เกิดวิสัยทศั น์ร่วมกนั ดา้ นการคานึงถึง
ความเป็ นปัจเจกบุคคล ด้านการสร้างแรงบนั ดาลใจ ด้านการมี อิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ส่งผลต่อการ
ดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน โดยมีประสิทธิภาพในการ ทานาย ร้อยละ 80.70 อยา่ งมีนยั สาคญั
ทางสถิติท่ีระดบั .001
35
จากการศึกษางานวิจยั ในประเทศ สรุปไดว้ ่า ภาวะผูน้ าเป็ นกระบวนการที่ผูบ้ ริหารจะใช้
อิทธิพลต่อพฤติกรรมของผูอ้ ่ืน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้การปฎิบตั ิงานบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การและมี
ประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิงาน ในองคก์ ารหรือหน่วยงานน้นั การพฒั นาบุคลากรจะสาเร็จตอ้ งอาศยั ผูน้ าที่
มีวสิ ัยทศั น์ สามารถวางแผนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม และนาไปสู่การปฎิบตั ิได้ ในส่วนของการดาเนินการ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผลการศึกษาก็ต้องใช้เครื่องมือแนวทางเดียวกันของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ การรู้จกั นกั เรียนเป็ นรายบุคคล การคดั กรองนกั เรียน การส่งเสริมและพฒั นา
นกั เรียน การป้องกนั การแกป้ ัญหาและการส่งตอ่
2.6.2 งานวจิ ัยต่างประเทศ
คาวาโซ (Cavazos.1999:Abstract) ได้ศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริ หาร
สถานศึกษามธั ยมที่ประสบ ความสาเร็จในโรงเรียน Hispanic Majority High School พบวา่ ภาวะผนู้ าทาง
วชิ าการที่ทาให้ โรงเรียนประสบความสาเร็จ คือ ผูบ้ ริหารจะตอ้ งเป็ นผูน้ าที่เขม้ แข็งในการสนบั สนุนการ
พฒั นา เป้าหมาย การปฏิบตั ิงานทางวชิ าการของนกั วิชาการ การกาหนดวฒั นธรรมของโรงเรียน และการ
จดั การเรียนการสอน การสื่อสารอยา่ งมีประสิทธิภาพกบั ผูเ้ กี่ยวขอ้ ง รวมท้งั การมอบอานาจให้ครู ร่วมกนั
เป็นผนู้ าของโรงเรียน
คอสซ่ี (Kosse.2007:Abstract) ไดศ้ ึกษา ความสมบูรณ์ ในการติดตามประเมินผล
ดาเนินงานของคณะผูท้ างานในระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน : การศึกษาความสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบท่ีมี
ตอ่ ผลสัมฤทธ์ิท่ีเกิดข้ึนกบั นกั เรียน ผลคะแนนเฉล่ียดา้ นความสมบูรณ์ในภาพรวมของอคป์ ระกอบท้งั 8 ดา้ น
เปิ ดเผยให้เห็นว่า กระบวนการดาเนินงานของคณะทางานดา้ นดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีความสมบูรณ์ใน
ระดับสู ง จากการวิเคราะห์ในส่วนของผลสัมฤทธ์ิที่เกิดข้ึนกับนักเรียน พบว่า การดาเนินงานของ
คณะทางานดา้ นดูแลช่วยเหลือนกั เรียนมีผลกระทบในดา้ นบวกต่อผลสัมฤทธ์ิที่เกิดข้ึนกบั นกั เรียน
วลิ เลียม (Williams.2008:Abstract) ไดว้ จิ ยั เร่ือง การดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนการศึกษาการบริหารจดั การองค์กรและการรับรู้ด้านทฤษฎีเกี่ยวกบั การสร้างเรื่องสุขภาพของ
เยาวชน การวจิ ยั เชิงบรรยายกรณีศึกษาคร้ังน้ี ใชว้ ิธีการวเิ คราะห์เชิงเปรียบเทียบเพื่ออธิบายความแตกต่าง
ของแต่ละโมเดลท่ีใชใ้ นการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนและเพื่อสารวจว่าโครงสร้างดา้ นการ
บริหารจดั การองค์กรแบบที่ขาดหายไป ผลการวิจยั พบว่า มีความแตกต่างที่เด่นชัดที่สุดในการบริหาร
กระบวน การด้านการป้ องกัน และแก้ไขปั ญ หานักเรี ยนและการติ ดตามประเมิ น ผลการดาเนิ น งานท่ี มี
ผลกระทบต่อนกั เรียน ที่ไดร้ ับบริการจากระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนอีกดว้ ย
จากการศึกษางานวจิ ยั ต่างประเทศ สรุปไดว้ า่ ผบู้ ริหารสถานศึกษาตอ้ งมีภาวะผูน้ า เพราะ
ส่งผลให้โรงเรียนประสบความสาเร็จ โดยภาวะผูน้ ามีความจาเป็ นต่อผูบ้ ริหาร ได้แก่ 1) ภาวะผูน้ าทาง
วชิ าการ 2) ภาวะผนู้ าการเปลี่ยนแปลง และ 3) ภาวะผนู้ าเปล่ียนสภาพ ในส่วนของการดาเนินงานระบบดูแล
ช่ วยเหลื อนักเรี ยนได้มีก ระบ วนก ารศึ กษ าด้านการป้ องกันแล ะแก้ไข ปั ญ หานักเรี ยนแล ะการติ ดตาม
ประเมินผลการดาเนินงานของคณะทางานดา้ นการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน โดยศึกษาขอ้ มูลเชิงคุณภาพ เพ่ือ
นาขอ้ มูลมาพฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
36
จากการศึกษางานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งท้งั ในประเทศและต่างประเทศ สรุปไดว้ า่ ปัจจยั ท่ีสาคญั
ที่สุดท่ีจะทาให้ การบริหารงานของสถานศึกษา ด้วยระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนประสบผลสาเร็จ
บรรลุตามวตั ถุประสงค์ท่ีต้งั ไว้ คือ ภาวะผูน้ าท่ีดีและมีคุณภาพในการบริหารงานของผูบ้ ริหารสถานศึกษา
เพ่ือนาโรงเรียนไปสู่เป้าหมายทาให้บุคลากรในโรงเรียนและทุกฝ่ ายเกิดความพอใจในการปฏิบตั ิงาน
เมื่อทุกฝ่ ายเกิดความพอใจในงานแลว้ ก็จะปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ มีความมุ่งมนั่ ในการทางาน ต้งั ใจทางาน
ใหก้ บั โรงเรียน มีน้าใจและปฏิบตั ิต่อกนั อยา่ งมีความอบอุ่น จะเป็ นเครื่องหมายท่ีแสดงถึงประสิทธิภาพใน
การปฏิบตั ิงานของผบู้ ริหารสถานศึกษา
2.7 สรุปกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั
งานวจิ ยั น้ี ผวู้ จิ ยั สนใจศึกษา เกี่ยวกบั ภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผบู้ ริหารในระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียนในโรงเรียนขนาดกลางของสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา
อ่างทองวา่ มีความสัมพนั ธ์กนั อยา่ งไร และเพื่อใหไ้ ดค้ าตอบดงั กล่าว ผูว้ ิจยั ไดต้ ้งั สมมติฐานไวว้ า่ ภาวะผนู้ า
ในการบริหารงานวิชาการของผูบ้ ริหารมีส่วนร่วมในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีองค์ประกอบและ
แนวทางในการพฒั นา 7 ดา้ น โดยมุ่งมน่ั ที่จะใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ มีเทคนิคในการบริหารคน บริหารงาน
และมีความรักในองค์กร ซ่ึงจะช่วยเป็ นรากฐานในการตดั สินใจเกี่ยวกบั องคก์ รไดด้ ีข้ึน รวมท้งั ระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียนให้มีการดาเนินงานอยา่ งเป็ นกระบวนการในการส่งเสริม ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาของ
นักเรียนอย่างมีข้นั ตอน มีวิธีการและเคร่ืองมือ โดยมีการประสานความร่วมมือกับผูท้ ่ีเก่ียวข้องในการ
ดาเนินการรู้จกั นกั เรียนเป็ นรายบุคคล คดั กรองนกั เรียน ส่งเสริมและป้องกนั แกไ้ ขปัญหา และ ส่งต่อ เพื่อ
ช่วยเหลือนกั เรียนให้สามารถดารงชีวติ ในสังคมไดอ้ ยา่ งปกติสุข และส่งผลให้สถานศึกษาพฒั นาต่อไปได้
อยา่ งตอ่ เน่ือง
********************************
37