ก
คำนำ
กลุ่มบริหารงานวชิ าการไดจ้ ดั ทำ คมู่ ือปฏิบตั ริ าชการ ประจำภาคเรียนท่ี 1/2565 เพอื่ เป็นแนวทางในการ
จดั การเรยี นการสอน การบริหารงานวชิ าการของครู ผ้บู ริหาร และผู้ที่มีส่วนเกยี่ วขอ้ ง ของโรงเรยี นหนองบัวพทิ ยา
คารในเลม่ ประกอบด้วยเน้ือหาสาระ ข้อมลู ทจ่ี ำเปน็ อย่างยงิ่ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเปน็ ขอ้ มูล
สารสนเทศทีจ่ ะทำใหเ้ หน็ กรอบและแนวทางในการปฏบิ ตั ิงานด้านวิชาการไดอ้ ยา่ งชัดเจน ซึ่งจะอำนวยความ
สะดวกแก่ครทู กุ ทา่ น รวมทง้ั เปน็ เคร่อื งมอื ในการนเิ ทศกำกับติดตาม ของฝา่ ยบรหิ ารอันจะทำให้กระบวนการ
บรหิ ารงานวิชาการเกิดประสทิ ธภิ าพย่ิงขน้ึ
ขอขอบคุณคณะครบู ุคลากรทุกท่านท่ีมีส่วนรว่ มทำให้การจัดทำค่มู อื ปฏบิ ตั ิราชการเลม่ น้สี ำเรจ็ สมบูรณ์
ดว้ ยดี หวงั วา่ ครูและบุคลากรโรงเรียนหนองบวั พทิ ยาคารจะได้ใช้คู่มอื ปฏิบัติราชการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ
เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา และตอ่ ผู้เรียนใหม้ ีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสงู สุด
นายพฤทธิ์พล ชารี
รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวชิ าการ
สารบญั ข
เรอ่ื ง หนา้
แผนภมู ิการบรหิ ารกล่มุ บริหารงานวิชาการ ๑
วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ เปา้ หมาย เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา ๒
การบรหิ ารงานวชิ าการ ๕
ดา้ นบริหารวชิ าการ ๑๒
คำสง่ั โรงเรยี นปฏบิ ัติหนา้ ท่สี อน ๑๙
ตารางสอนครูรายบุคคล ๖๑
ตารางสอนนกั เรียนรายห้อง ๘๕
คณะผจู้ ัดทำ ๙๘
แผนภมู กิ ารบรหิ ารกลุ่มบรหิ ารงานวชิ
ผู้อานวยก
รองผอู้ านวยการโรงเรยี น
กลุ่มงานพฒั นาหลกั สตู รและ หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้
การประเมนิ ผล
๑. ภาษาไทย
๑. งานพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา ๒. คณติ ศาสตร์
งานวจิ ัย ๓. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
๒. งานทะเบยี นเทยี บโอนและสามะ ๔. สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม
โนผเู้ รียน ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา
๓. งานวัดผลและประเมินผล ๖. ศิลปะ
การศึกษา ๗. การงานอาชพี
๔. งานนเิ ทศการศกึ ษา ๘. ภาษาตา่ งประเทศ
๕. งานจดั การเรยี นการสอน ๙. กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
ชาการ โรงเรยี นหนองบวั พทิ ยาคาร
การโรงเรยี น
นกล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ
กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพ กลุ่มงานโครงการหอ้ งเรยี น
การศกึ ษา พเิ ศษ
๑. งานวิจัยเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ๑. โครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษ SMTE
ในสถานศกึ ษา ๒. โครงการห้องเรยี นพเิ ศษ EIS
๒. งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๓. โครงการห้องเรยี นเพชรบวั พิทย์
๓. งานแนะแนว ๔. โครงการหอ้ งเรียนพิเศษพลศกึ ษา
๔. งานพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายใน ๕. โครงการห้องเรียนพเิ ศษ G-Math
และมาตรฐานการศึกษา ๖. โครงการหอ้ งเรียนพิเศษ G-
๕. งานประสานความรว่ มมอื ในการพฒั นา Science
วิชาการกับสถานศึกษาและองคก์ รอ่นื ๗. โครงการห้องเรียนพเิ ศษ NPIE
๖. งานพัฒนาและสอ่ื เทคโนโลยเี พ่ือ ๘. โครงการหอ้ งเรียนพิเศษ IJCK
การศกึ ษา
๗. งานสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๘. งานโครงการสง่ เสรมิ นกั เรียน
แลกเปล่ียน
๙. ศนู ย์พฒั นาศักยภาพบุคคลเพอ่ื ความ
เปน็ เลศิ (Human Capital Excellence
Center : HCEC)
๒
วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย เอกลกั ษณ์ และอตั ลกั ษณ์ ของสถานศกึ ษา
วสิ ยั ทัศนโ์ รงเรยี น
วสิ ยั ทศั น์
โรงเรยี นคณุ ภาพเพือ่ นกั เรียน
พนั ธกจิ
1. พฒั นาหลกั สตู รและกระบวนการจดั การเรยี นรสู้ ่คู วามเป็นสากลตามหลกั สูตรสมรรถนะ
2. ปลกู ฝงั ผ้เู รยี นใหม้ ีวินัยมีคุณธรรมและอยู่ร่วมกบั ผ้อู ืน่ ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข
3. พฒั นานกั เรียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากลสง่ เสรมิ ทกั ษะสำหรบั การดำรงชวี ติ
4. พฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี วามเป็นเลิศทางวิชาการสือ่ สารได้ 2 ภาษามีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมีลักษณะของเยาวชนในศตวรรษที่ 21
5. พัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการจดั การเรยี นรตู้ ามมาตรฐานสากลดว้ ยเทคโนโลยีและนวัตกรรมการ
เรียนรูท้ ่ีหลากหลายโดยมงุ่ เน้นนักเรยี นเป็นสำคัญ
6. เพม่ิ ศักยภาพครูและบุคลากรใหม้ ีความรู้ด้านการใชว้ ิจัยในการพฒั นานักเรียน
8. พัฒนาการบรหิ ารจัดการแบบมสี ว่ นร่วมเชญิ คุณภาพตามคติพจน์ค่านิยมและวัฒนธรรมโรงเรยี นได้ใช้
หลักธรรมาภิบาลอยา่ งมีประสิทธิภาพเพ่ือให้ไดม้ าตรฐานสากล
9. พัฒนาการบริหารจัดการศกึ ษาเป็นผนู้ ำด้านเทคโนโลยี
10. พฒั นาแหลง่ เรียนรู้สื่อนวตั กรรมเทคโนโลยีและสภาพแวดลอ้ มทเี่ อือ้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้
11. สร้างภาคเี ครอื ขา่ ยทางการศกึ ษาทางภายในและภายนอกอยา่ งเข้มแขง็
เปา้ ประสงค์
1. มีหลกั สูตรและกระบวนการจดั การเรียนรเู้ ปน็ สากลตามหลักสูตรสมรรถนะ
2. ผเู้ รียนและผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสยี พงึ พอใจในหลกั สูตรการศึกษาและการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
3. นักเรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมที ักษะสำหรบั การดำรงชีวิต
4. พฒั นาการเรยี นการสอนใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานสากล
5. พฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนใหเ้ ข้มแขง็
6. ครแู ละบคุ ลากรมีความรดู้ า้ นการใช้วจิ ยั ในการพฒั นานกั เรยี น
7. การบรหิ ารจัดการศกึ ษามีคณุ ภาพ
8. มีแหลง่ เรียนร้สู ่ือนวตั กรรมและเทคโนโลยที ่ีเอ้ือต่อการจดั การเรยี นรเู้ ป็นโรงเรยี นแห่งความสุข
happy school
9. บุคลากรมคี วามพึงพอใจต่อการบริหารจัดการ
10. พัฒนาบุคลากรใหเ้ ป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีนวตั กรรมการเรยี นรรู้ ะบบสารสนเทศและระบบ ICT
เพื่อการเรยี นรู้
11. มภี าคเี ครอื ข่ายทางการศึกษาท้ังภายในและภายนอกทีเ่ ข้มแขง็
กลยทุ ธ์
กลยุทธ์โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร พ.ศ 2565-2568
1. พฒั นาหลกั สตู รและกระบวนการจดั การเรียนรเู้ ป็นสากลตามหลักสตู รสมรรถนะ
2. พัฒนานักเรียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากลและมีทักษะสำหรับการดำรงชวี ติ
3. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การพัฒนาบุคลากรแหล่งเรียนรสู้ ื่อนวตั กรรมและเทคโนโลยใี หม้ ปี ระสิทธิภาพ
4. ส่งเสรมิ สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีสว่ นร่วมในการพฒั นาการเรียนรูท้ ัง้ ภายในและภายนอกท่ีมี
ประสทิ ธิภาพตามมาตรฐานสากล
๓
สญั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น
สญั ลกั ษณโ์ รงเรยี น
รปู ดอกบัวตมู และบวั บาน หมายถงึ นักเรียนทไ่ี ด้รบั การศกึ ษาแลว้ และกำลงั ศึกษาอยู่ และภายใต้
กรอบแห่งระเบียบวินัยของโรงเรียน และพระแสงดาบของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธ์
คอยคมุ้ ครอง
สปี ระจำโรงเรยี น ชมพู – ฟา้
ปรัชญาของโรงเรียนปญญฺ า โลกสฺมิ ปชั โฺ ชโต (ปญั ญาเปน็ เคร่ืองนำทางชวี ิตในโลก)
คำขวัญโรงเรียน เรยี นดี มวี นิ ยั ใฝ่สามคั คี กีฬาเดน่
คา่ นยิ ม โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร กำหนดค่านิยม คือ มุง่ มัน่ ในการทำงาน
เอกลักษณข์ องโรงเรยี น เคารพดว้ ยการไหว้ เรยี นรกู้ า้ วไกลดว้ ย ICT
อัตลักษณข์ องโรงเรียน ใฝ่เรียนรู้ ชมู ารยาทไทย ใส่ใจสิ่งแวดลอ้ ม
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดงั น้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและล ด
ปัญหาความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรือไมร่ ับข้อมูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลือกใชว้ ธิ ีการสอื่ สาร ที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีมีตอ่ ตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่ าง
สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพือ่ นำไปสูก่ ารสร้างองค์ความรหู้ รือสารสนเทศ
เพื่อการตดั สินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา และมกี ารตัดสนิ ใจทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ขึน้ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม
๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ นการดำเนิน
ชวี ิตประจำวัน การเรียนรูด้ ้วยตนเอง การเรยี นรูอ้ ย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอย่รู ว่ มกนั ในสงั คมดว้ ยการ
สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ
ปรบั ตวั ให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการร้จู ักหลกี เลี่ยงพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์
ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อื่น
๔
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่างๆ และ
มที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทำงาน
การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นครเู ชียงราย (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒) ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุง่ พฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ คี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพอ่ื ให้
สามารถอยรู่ ่วมกับผู้อน่ื ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
๖. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มีจติ สาธารณะ
ค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.
๑. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
๒. ซอ่ื สัตย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นสง่ิ ที่ดงี ามเพอ่ื สว่ นรวม
๓. กตญั ญูตอ่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
๔. ใฝ่หาความรู้ หมัน่ ศกึ ษาเล่าเรียนท้งั ทางตรง และทางออ้ ม
๕. รักษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม
๖. มศี ีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดตี ่อผอู้ ื่น เผ่อื แผแ่ ละแบ่งปนั
๗. เข้าใจเรียนรู้การเปน็ ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุขท่ถี ูกตอ้ ง
๘. มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ ้อยรจู้ กั การเคารพผใู้ หญ่
๙. มีสติรตู้ ัว ร้คู ิด รู้ทำ ร้ปู ฏบิ ัตติ ามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั
๑๐. รู้จกั ดำรงตนอยโู่ ดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรสั ของพระบาท สมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวรูจ้ ักอดออมไว้ใชเ้ ม่อื ยามจำเป็น มีไวพ้ อกนิ พอใช้ ถา้ เหลือก็แจกจ่ายจำหนา่ ย และพรอ้ มท่ีจะขยาย
กิจการเม่อื มคี วามพร้อม เมือ่ มภี ูมคิ ุ้มกันทีด่ ี
๑๑. มีความเขม้ แข็งทั้งรา่ งกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรือกเิ ลสมีความละอายเกรงกลวั
ต่อบาปตามหลักของศาสนา
๑๒. คำนงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวม และของชาติมากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเอง
๕
การบรหิ ารงานวชิ าการ
แนวคิดหลกั ในการบรหิ ารวชิ าการ
การบรหิ ารงานวชิ าการเป็นภารกิจทส่ี ำคญั ของการบริหารโรงเรียนตามที่พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2)พ.ศ.2545 ถอื เป็นงานท่มี คี วามสำคญั ท่ีสุด เปน็ หวั ใจ
ของการจดั การศึกษา ซึง่ ทง้ั ผู้บรหิ าร โรงเรยี น คณะครู และผมู้ ีส่วนเกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย ต้องมีความรู้ความเขา้ ใจ
ใหค้ วามสำคญั และ มีสว่ นร่วมในการวางแผน กำหนดแนวทางปฏิบตั กิ ารประเมนิ ผล และการปรบั ปรุงแก้ไข
อยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง มงุ่ ให้กระจายอำนาจในการบรหิ ารจัดการไปให้สถานศึกษาให้มากท่สี ุด ดว้ ย
เจตนารมณท์ ี่จะให้สถานศกึ ษาดำเนินการไดโ้ ดยอิสระ คลอ่ งตัว รวดเรว็ สอดคล้องกับความตอ้ งการของ
ผูเ้ รียน โรงเรยี น ชุมชน ทอ้ งถน่ิ และการมสี ่วนร่วมจากผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียทุกฝา่ ย ซึ่งจะเปน็ ปจั จัยสำคัญทำ
ให้สถานศึกษามีความเขม้ แข็งในการบรหิ ารและจัดการ สามารถพฒั นาหลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้
ตลอดจนการวดั ผล ประเมินผล รวมทัง้ ปจั จยั เก้ือหนนุ การพฒั นาคุณภาพนักเรยี น โรงเรียน ชุมชน ท้องถน่ิ
ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ให้บริหารงานดา้ นวิชาการไดโ้ ดยอิสระ คล่องตวั รวดเร็ว และ สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของ
นักเรียน สถานศกึ ษา ชุมชน ทอ้ งถนิ่
๒. เพื่อให้การบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรียนได้มาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคล้องกับ
ระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพื่อพัฒนาตนเอง และ จากการประเมินหน่วยงาน
ภายนอก
๓. เพื่อให้โรงเรยี นพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปัจจัยหนุนการเรียนรู้ทีส่ นองต่อ
ความ
ต้องการของผเู้ รยี น ชมุ ชน และ ทอ้ งถ่นิ โดยยึดผ้เู รยี นเปน็ สำคัญไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ และ ประสิทธิภาพ
๔. เพื่อให้โรงเรียนได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และ ของ
บคุ คล
ครอบครวั องคก์ ร หน่วยงาน และ สถาบันอืน่ ๆอยา่ งกวา้ งขวาง
๖
ขอบขา่ ยและภารกจิ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
1. การพฒั นาหรอื การดำเนนิ การเกย่ี วกบั การใหค้ วามเหน็ การพฒั นาสาระหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. วิเคราะห์กรอบสาระการเรียนรูท้ อ้ งถิน่ ท่สี ำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาจัดทำไว้
2. วเิ คราะห์หลกั สตู รสถานศึกษาเพือ่ กำหนดจุดเนน้ หรือประเด็นที่สถานศึกษาให้
ความสำคญั
๓. ศึกษา และวเิ คราะห์ข้อมลู สารสนเทศของสถานศกึ ษา และชุมชนเพ่ือนำมาเปน็ ข้อมลู
จดั ทำสาระการเรียนร้ทู ้องถิ่นของสถานศึกษาให้สมบรู ณย์ ิ่งขนึ้
๔. จดั ทำสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินของสถานศกึ ษา เพื่อนำไปจดั ทำรายวิชาพนื้ ฐานหรือ
รายวิชาเพิ่มเตมิ จัดทำคำอธบิ ายรายวชิ า หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ เพื่อจัดประสบการณ์
และจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหแ้ ก่ผูเ้ รยี น ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ
5. ผบู้ รหิ ารศึกษาอนุมตั ิ
2. การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ
บทบาทและหนา้ ที่
1. วางแผนงานดา้ นวิชาการโดยการรวบรวมขอ้ มูลและกำกับดแู ล นเิ ทศและติดตามเกยี่ วกับงาน
วิชาการ ไดแ้ ก่ การพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ การวัดผล ประเมนิ ผล และ
การเทียบโอนผลการเรียน การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใช้ ส่อื และ
เทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา การพฒั นาและสง่ เสรมิ ใหม้ แี หล่งเรยี นรกู้ ารวจิ ยั เพอ่ื พัฒนา คุณภาพการศึกษา และ
ส่งเสริมชมุ ชนใหม้ ีความเข้มแขง็ ทางวชิ าการ
2. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาอนุมตั ิโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
3. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. จัดทำแผนการเรยี นรทู้ ุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้
2. จัดการเรียนการสอนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนร้ทู ุกช่วงชัน้ ตามแนวปฏบิ ัตกิ ารเรยี นรโู้ ดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็
สำคัญ
พฒั นาคุณธรรมนำความรู้ตามหลกั การปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
3. ใช้สอ่ื การเรยี นการสอน และแหล่งการเรียนรู้
4. จัดกิจกรรมพฒั นาห้องสมดุ ห้องปฏบิ ัตกิ ารตา่ งๆ ให้เอื้อต่อการเรยี นรู้
5. สง่ เสริมการวิจยั และพฒั นาการเรียนการสอนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
6. สง่ เสรมิ การพฒั นาความเปน็ เลิศของนักเรยี น และชว่ ยเหลอื นักเรยี นพิการ ด้อยโอกาสและ
มคี วามสามารถพิเศษ
๗
4. การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ที่
1. จัดทำหลกั สูตรเป็นของตนเองโดยจัดใหม้ กี ารวิจัย และพัฒนาหลักสูตร ใหท้ ันกบั การเปลย่ี นแปลง
ทางดา้ น
เศรษฐกจิ และสังคม จัดทำหลักสตู รที่มุง่ เน้นพัฒนานักเรยี นใหเ้ ป็นมนษุ ย์ท่ีสมบรู ณ์ทง้ั รา่ งกาย จติ ใจ
สติปัญญา มคี วามรู้และคณุ ธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุข จัดให้มีวิชาต่างๆ ครบถ้วนตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาพนื้ ฐานของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2. เพิ่มเตมิ เนื้อหาสาระของรายวชิ า ได้แก่ การศึกษาดา้ นศาสนา ดนตรี นาฏศลิ ป์ กฬี า
การศึกษาท่สี ง่ เสริมความเปน็ เลิศ ผู้บกพรอ่ ง
3. เพิม่ เติมเนอ้ื หาสาระของรายวิชาทส่ี อดคล้องสภาพปัญหาความตอ้ งการของผ้เู รียน ผู้ปกครอง
ชมุ ชน สังคม และอาเซีย่ น
5. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
บทบาทและหนา้ ท่ี
๑. จัดเนื้อหาสาระและกจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกับความสนใจ และความถนดั ของผเู้ รียนโดย
คำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
2. ฝึกทักษะ กระบวนการคดิ การเผชิญสถานการณ์ และการประยกุ ต์ความรู้มาใช้ เพ่อื ป้องกันและ
แก้ไขปัญหา
3. จัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏบิ ตั ิใหท้ ำได้ คิดเปน็ ทำเปน็ รักการ
อา่ นและเกดิ การใฝ่รอู้ ย่างต่อเนื่อง
4. จดั การเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความร้ดู ้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกนั รวมทงั้ ปลกู ฝงั
คุณธรรม ค่านิยมที่ดงี ามและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ไว้ในทุกกลมุ่ สาระ/วิชา
5. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ผ้สู อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดล้อม สอ่ื การเรยี น และอำนวยความ
สะดวกเพ่อื ให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใชก้ ารวิจัยเปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการ
เรียนรู้ ท้ังนี้ ผูส้ อนและผเู้ รียนรอู้ าจเรยี นรไู้ ปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภท
ต่าง ๆ
6. จัดการเรียนร้ใู หเ้ กดิ ข้นึ ได้ทุกเวลา ทกุ สถานท่ี มกี ารประสานความร่วมมอื กับบดิ ามารดาและบุคคล
ในชุมชนทกุ ฝ่าย เพอื่ รว่ มกนั พัฒนาผ้เู รียนตามศักยภาพ
7. ศกึ ษาคน้ ควา้ พัฒนารูปแบบหรือการออกแบบกระบวนการเรยี นรทู้ ่ี
6. การวดั ผล ประเมนิ ผล และดำเนนิ การเทยี บโอนเทา่ ผลการเรยี น
บทบาทและหนา้ ที่
๑. กำหนดระเบยี บการวดั และประเมนิ ผลของสถานศกึ ษาตามหลักสตู รสถานศึกษาโดยให้
สอดคลอ้ ง กบั นโยบายระดับประเทศ
2. จัดทำเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบการวัด และประเมินผลของสถานศึกษา
3. วัดผล ประเมนิ ผล เทียบโอนประสบการณ์ ผลการเรียนและอนมุ ตั ิผลการเรยี น
4. จดั ให้มกี ารประเมินผลการเรียนทกุ ชว่ งช้ัน และจัดใหม้ กี ารซ่อมเสรมิ กรณที ่มี ีผเู้ รียน ไม่ผ่าน
เกณฑก์ ารประเมนิ
5. ให้มีการพัฒนาเครอื่ งมือในการวดั และประเมนิ ผล
๘
6. จดั ระบบสารสนเทศดา้ นการวัดผลประเมินผล และการเทยี บโอนผลการเรยี นเพ่ือใช้ในการอ้างองิ
ตรวจสอบ และใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนการสอน
7. ผบู้ ริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการประเมินการเรยี นดา้ นต่างๆ รายปี รายภาคและตดั สนิ ผลการเรียน
ผ่านระดับชน้ั และจบการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
8. การเทยี บโอนผลการเรียนเปน็ อำนาจของสถานศกึ ษา ทจ่ี ะแตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินการ
เพื่อกำหนดหลกั เกณฑว์ ิธกี าร ได้แก่ คณะกรรมการเทยี บระดบั การศกึ ษาท้งั ในระบบ นอกระบบ และตาม
อธั ยาศัย คณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และวิชาการ พรอ้ ม
ทง้ั ใหผ้ ู้บริหารสถานศกึ ษาอนมุ ัตกิ ารเทียบโอน
7. การวิจยั เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้ การวิจัยเป็นส่วนหนง่ึ ของกระบวนการเรียนรู้ และกระบวนการ
ทำงานของนักเรยี น ครู และผเู้ กีย่ วขอ้ งกบั การศึกษา
2. พัฒนาครู และนกั เรยี นให้มคี วามรูเ้ กี่ยวกับการปฏริ ูปการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการวิจัยเปน็ สำคัญ
ในการเรยี นรู้ท่ซี บั ซ้อนขึ้น ทำใหผ้ ้เู รียนได้ฝึกการคดิ การจัดการ การหาเหตุผลในการตอบปญั หา
3. พฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการวจิ ัย
4. รวบรวม และเผยแพรผ่ ลการวิจยั เพ่อื การเรียนร้แู ละพฒั นาคุณภาพการศึกษา รวมท้ังสนบั สนุนให้
ครูนำผลการวจิ ยั มาใช้เพ่ือพฒั นาการเรยี นร้แู ละพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
8. การพฒั นาและสง่ เสรมิ ใหม้ แี หลง่ เรยี นรู้
บทบาทและหนา้ ท่ี
๑. จัดให้มแี หล่งเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ใหพ้ อเพยี งเพ่อื
สนบั สนนุ การแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองกบั การจัดกระบวนการเรยี นรู้
๒. จดั ระบบแหลง่ การเรยี นร้ภู ายในโรงเรียนให้เออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นรูข้ องผเู้ รียน เช่น
พัฒนาหอ้ งสมุดให้เป็นแหลง่ การเรยี นรู้ มมุ หนังสอื ในหอ้ งเรยี น ห้องดนตรี ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งพยาบาล
ห้องศนู ยว์ ิชาการ สวนสขุ ภาพ สวนหนงั สือ เปน็ ต้น
๓. จัดระบบข้อมลู แหลง่ การเรยี นรูใ้ นท้องถิน่ ใหเ้ อ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ ของผเู้ รียน ของ
สถานศึกษาของตนเอง
๔. สง่ เสรมิ ใหค้ รูและผู้เรยี นได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ทง้ั ในและนอกสถานศกึ ษา เพื่อพัฒนาการ
เรยี นรู้ และ นเิ ทศ กำกับติดตาม ประเมนิ และปรบั ปรุงอย่างตอ่ เน่ือง
5. สง่ เสรมิ ให้ครู และผู้เรียนใชแ้ หลง่ เรียนรูท้ ั้งภายในและภายนอก
9. การนเิ ทศการศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
๑. สรา้ งความตระหนกั ใหแ้ กค่ รู และผเู้ ก่ยี วข้องใหเ้ ข้าใจกระบวนการนเิ ทศภายในว่าเป็น
กระบวนการทำงานรว่ มกนั ท่ใี ช้เหตุผลการนิเทศ เป็นการพฒั นาปรบั ปรุงวธิ กี ารทำงานของแต่ละบคุ คล ใหม้ ี
คุณภาพการนิเทศเป็นส่วนหนงึ่ ของกระบวนการบรหิ าร เพือ่ ให้ทกุ คนเกิดความเชื่อมน่ั วา่ ไดป้ ฏบิ ัตถิ ูกตอ้ ง
กา้ วหนา้ และเกดิ ประโยชน์สูงสดุ ต่อผเู้ รยี น และตัวครเู อง
๒. จดั การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพทวั่ ถึง และต่อเนอื่ งเป็นระบบและกระบวนการ
๙
๓. จัดระบบนิเทศภายในสถานศกึ ษาใหเ้ ชอ่ื มโยงกับระบบนิเทศการศกึ ษาของสำนักงานเขต
พน้ื ทีก่ ารศกึ ษา
10. การแนะแนว
บทบาทและหนา้ ที่
๑. กำหนดนโยบายการจดั การศกึ ษา ที่มีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสำคญั โดยใหท้ ุก
คนในสถานศกึ ษาตระหนักถงึ การมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการแนะแนว และการดูแลช่วยเหลือ
๒. จัดระบบงานและโครงสร้างองคก์ รแนะแนว และดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนของสถานศึกษาให้
ชัดเจน
๓. สร้างความตระหนกั ให้ครูทกุ คนเหน็ คุณค่าของการแนะแนว และดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
๔. สง่ เสริมและพฒั นาใหค้ รไู ดร้ บั ความรู้เพิม่ เตมิ เรือ่ งจติ วทิ ยาและการแนะแนวและดูแล
ชว่ ยเหลือนกั เรียน เพ่อื ให้สามารถบรู ณาการในการจดั การเรียนรูแ้ ละเชือ่ มโยงสู่การดำรงชีวิตประจำวนั
๕. คัดเลือกบคุ ลากรท่มี ีความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม ทำหน้าท่ีครแู นะ
แนว ครทู ี่ปรกึ ษา ครูประจำชั้น และคณะอนกุ รรมการแนะแนว
๖. ดูแล กำกับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดำเนนิ งานแนะแนว และดูแลช่วยเหลอื
นักเรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ
7. ส่งเสรมิ ความรว่ มมอื และความเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งครู ผปู้ กครอง และชมุ ชน
8. ประสานงานดา้ นการแนะแนวระหวา่ งสถานศึกษา องคก์ ร ภาครฐั และเอกชน บ้าน
ศาสนสถาน ชุมชนในลักษณะเครือข่ายการแนะแนว
9. เชื่อมโยงระบบแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
11. การพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน และมาตรฐานการศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
2. จัดทำแผนสถานศกึ ษาท่มี ุง่ เนน้ คุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ/์ แผนยทุ ธศาสตร)์
3. จดั ทำระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
4. ดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาตอ้ ง
สร้างระบบ การทำงานท่เี ข้มแขง็ เนน้ การมสี ่วนรว่ ม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมมง่ิ (Deming Cycle)
หรือทรี่ ู้จกั กนั ว่าวงจร PDCA
๕. ตรวจสอบ และทบทวนคณุ ภาพการศกึ ษาโดยการดำเนนิ การอยา่ งจรงิ จงั ต่อเนือ่ งดว้ ยการ
สนับสนุนใหค้ รู ผู้ปกครองและชมุ ชนเขา้ มามีสว่ นรว่ ม
๖. ประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐานทีก่ ำหนด เพื่อรองรบั การ
ประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
๗. จัดทำรายงานคุณภาพการศกึ ษาประจำปี (SAR) และสรุปรายงานประจำปี โดยความ
เหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเสนอต่อหน่วยงานตน้ สังกดั และเผยแพร่ต่อสาธารณชน
12. การสง่ เสรมิ ชมุ ชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ทางวชิ าการ
บทบาทและหนา้ ที่
1. จดั กระบวนการเรยี นรรู้ ว่ มกับบุคคล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ น
ท้องถิ่น เอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อื่น
๑๐
2. สง่ เสริมความเข้มแข็งของชมุ ชน โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชมุ ชน
3. สง่ เสริมให้ชมุ ชนมีการจัดการศกึ ษาอบรม มกี ารแสวงหาความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสารและ
เลอื กสรรภมู ปิ ัญญา วิทยาการต่างๆ
4. พฒั นาชมุ ชนใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา และความตอ้ งการรวมทั้งหาวธิ กี ารสนับสนุน
ใหม้ ีการแลกเปล่ยี นประสบการณ์ระหวา่ งชุมชน
13. การประสานความรว่ มมอื ในการพฒั นาวชิ าการกบั สถานศกึ ษา และองคก์ รอนื่ เป็น
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. ระดมทรพั ยากรเพ่ือการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น เพอ่ื
เสริมสรา้ ง พัฒนาการของนกั เรยี นทุกด้าน รวมทั้งสืบสานจารตี ประเพณศี ลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ
2. เสรมิ สร้างความสมั พันธร์ ะหวา่ งสถานศึกษากบั ชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองคก์ รท้งั
ภาครฐั และเอกชน เพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหลง่ วทิ ยาการของชมุ ชน เพ่ือให้สถานศึกษาเป็นแหลง่
วิทยาการของชุมชน และมีสว่ นในการพฒั นาชุมชนและทอ้ งถิน่
3. ให้บรกิ ารด้านวชิ าการท่ีสามารถเชื่อมโยงหรอื แลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสารกับแหล่งวิชาการ
ในทอ่ี นื่ ๆ
4. จดั กจิ กรรมรว่ มกบั ชมุ ชนเพอื่ สง่ เสริมวัฒนธรรมการสรา้ งความสัมพนั ธอ์ ันดกี ับศิษย์เกา่
การประชุม ผู้ปกครองนกั เรยี น การปฏบิ ัติงานรว่ มกบั ชุมชน การร่วมกจิ กรรมกบั สถาบนั การศกึ ษาอื่น
ต้น
14. การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ งานวชิ าการแกบ่ คุ คล ครอบครวั องคก์ ร หนว่ ยงาน สถานประกอบการ
และสถาบนั อน่ื ทจี่ ัดการศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. ประชาสมั พนั ธ์สรา้ งความเขา้ ใจต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องคก์ ร
ปกครอง ส่วนท้องถิน่ เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน
สงั คมอ่ืนในเรื่องเก่ยี วกับสิทธิในการจัดการศกึ ษาข้ันพื้นฐานการศกึ ษา
2. จัดให้มกี ารสร้างความรู้ความเข้าใจ การเพ่ิมความพรอ้ มใหก้ ับบุคคล ครอบครัว
ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ เอกชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบนั ศาสนา
สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอน่ื ที่ร่วมจัดการศึกษา
3. ร่วมกับบุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ เอกชน
องค์กร เอกชนองคก์ รวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอน่ื ทรี่ ่วมจัดการศึกษา
และใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ
4. สง่ เสรมิ สนับสนุนให้มีการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ระหวา่ งสถานศกึ ษากับบุคคล ครอบครวั
ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน
5. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบนั
ศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสังคมอน่ื ไดร้ ับความชว่ ยเหลือทางดา้ นวชิ าการตามความ เหมาะสม
และจำเป็น
6. ส่งเสริม และพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ ทัง้ ด้านคณุ ภาพและปรมิ าณ เพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต
อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ
๑๑
15. การจดั ทำระเบยี บและแนวปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับงานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ที่
1. ศึกษาและวเิ คราะห์ระเบียบ และแนวปฏิบัติเก่ยี วกบั งานด้านวิชาการของสถานศึกษา
เพื่อให้ ผู้ท่ี เกีย่ วข้องรบั รู้ และถอื ปฏิบัติเป็นแนวเดยี วกัน
2. จัดระเบียบ และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับงานดา้ นวิชาการของสถานศึกษา เพื่อใหผ้ ู้ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
รับรู้ และถอื ปฏบิ ัติเปน็ แนวเดียวกนั
3. ตรวจสอบร่างระเบียบและแนวปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั งานด้านวชิ าการของสถานศึกษา และแก้ไข
ปรับปรงุ
4. นำระเบยี บและแนวปฏบิ ัติเกยี่ วกบั งานด้านวชิ าการของสถานศึกษาไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ
5. ตรวจสอบ และประเมินผล การใชร้ ะเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั งานดา้ นวิชาการของ
สถานศึกษาและนำไปแก้ไขปรับปรุง ให้เหมาะสมต่อไป
16. การคัดเลอื กหนงั สอื แบบเรยี นเพอ่ื ใช้ในสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. ศึกษา วิเคราะห์ คดั เลือกหนงั สือเรียน กลุ่มสาระการเรยี นร้ตู า่ งๆ ทม่ี คี ณุ ภาพสอดคลอ้ ง
กับ หลักสูตรสถานศึกษา เพอื่ เป็นหนงั สือแบบเรียนใช้ในการจดั การเรียนการสอน
2. จัดทำหนังสือเรียน หนังสือเสรมิ ประสบการณ์ หนังสอื อา่ นประกอบ แบบฝกึ หัด ใบ
งาน ใบความรู้ เพื่อใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน
3. ตรวจพิจารณาคณุ ภาพ หนังสอื เรียนเรียน หนังสอื เสริมประสบการณ์ หนังสืออ่าน
ประกอบ แบบฝกึ หดั ใบงาน ใบความรู้ เพอื่ ใช้ประกอบการเรียนการสอน
17. การพฒั นา และใชส้ อ่ื เทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ที่
1. จดั ให้มีการรว่ มกันกำหนดนโยบาย วางแผนในเร่ืองการจัดหาและพฒั นาสอ่ื การเรียนรู้
และ เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา
2. พัฒนาบคุ ลากรใสถานศกึ ษาในเร่ืองเกี่ยวกับการพัฒนาส่ือการเรียนรู้ และเทคโนโลยีเพอ่ื
การศึกษา พรอ้ มทั้งให้มกี ารจดั ตงั้ เครือขา่ ยทางวชิ าการ ชมรมวชิ าการเพอ่ื เป็นแหลง่ การเรียนร้3ู . 3.
พฒั นาและใชส้ อ่ื และเทคโนโลยที างการศกึ ษา โดยม่งุ เน้นการพฒั นาส่อื และเทคโนโลยีทางการศกึ ษาที่ให้
ข้อเท็จจรงิ เพือ่ สร้างองคค์ วามรู้ใหมๆ่ เกดิ ข้ึน โดยเฉพาะหาแหล่งสื่อที่เสรมิ การจัด การศึกษาของสถานศึกษา
ให้มีประสิทธภิ าพ
3. พัฒนาหอ้ งสมดุ ของสถานศึกษา ใหเ้ ปน็ แหล่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา และชุมชน
4. นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในการจัดหา ผลิต ใชแ้ ละพัฒนาสื่อ
และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
๑๒
ดา้ นบรหิ ารวชิ าการ
1. หัวหน้างานบริหารวิชาการ ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มการบรหิ ารวิชาการ มีหน้าที่ ดูแล กำกับ
ติดตาม กลั่นกรองอำนวยความสะดวก ให้คำแนะนำ ปรึกษาการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานในกลมุ่
การบรหิ ารวิชาการตามขอบข่ายและภารกิจการบรหิ ารวิชาการ ปฏิบตั ิหนา้ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการจัดระบบบริหาร
องค์กร การประสานงานและให้บรกิ ารสนบั สนุน ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหารงานวิชาการต่างๆ ในโรงเรยี นสามารถ
บริหารจัดการและดำเนินการตามบทบาทภารกิจ อำนาจหน้าที่ด้วยความเรียบร้อยตลอดจนสนับสนุนและ
ให้บริการข้อมูล ข่าวสาร เอกสาร สื่อ อุปกรณ์ทางการศึกษา และทรัพยากรที่ใช้ในการจัดการศึกษาแก่
เจา้ หน้าที่ของแตล่ ะฝา่ ยงานเพอื่ ให้ฝ่ายบรหิ ารจัดการได้อย่างสะดวกคลอ่ งตัว มีคณุ ภาพและเกิดประสิทธิภาพ
2. หัวหนา้ วิชาการสายชัน้ ปฏิบัติหน้าที่ผู้ชว่ ยหัวหน้ากลุ่มการบริหารวิชาการ มีหน้าที่ช่วยหัวหนา้
กลุม่ การบริหารวชิ าการ ในการปฏิบตั งิ านตามภารกิจของงานบริหารงานวิชาการและหนา้ ที่อ่ืนๆท่ีหัวหน้ากลุ่ม
บรหิ ารวิชาการมอบหมายปฏบิ ัตหิ นา้ ทแี่ ทนในกรณหี ัวหน้าบรหิ ารงานวชิ าการไมส่ ามารถปฏิบัตหิ น้าทไ่ี ด้
ขอบข่ายงานบริหารวชิ าการ มีดังนี้
1. การพัฒนาหรือการดำเนินงานเก่ียวกบั การให้ความเหน็ การพฒั นาสาระหลกั สูตรทอ้ งถิ่น
หน้าทีร่ ับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังนี้
1) วิเคราะหก์ รอบสาระการเรยี นร้ทู ้องถนิ่ ที่สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาจดั ทำไว้
2) วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อกำหนดจุดเน้นหรือประเด็นที่สถานศึกษาหรือกลุ่มเครือข่าย
สถานศกึ ษาให้ความสำคญั
3) ศกึ ษาและวเิ คราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศกึ ษาและชุมชนเพื่อนำมาเปน็ ขอ้ มลู จัดทำสาระการ
เรยี นรทู้ ้องถน่ิ ของสถานศกึ ษาให้สมบูรณย์ ิ่งขึ้น
4) จัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิน่ ของสถานศึกษาเพือ่ นำไปจัดทำรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพิม่ เตมิ
จัดทำคำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดประสบการณ์และกจิ กรรมการเรยี น
การสอนให้แกผ่ เู้ รยี นประเมินผลและปรบั ปรุง
5) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาอนมุ ัติ
2. การวางแผนงานด้านวิชาการ หน้าที่รบั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดังนี้
1) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกำกับ ดูแล นิเทศและติดตามเกี่ยวกับงาน
วิชาการ ได้แก่ การพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ การวัดผล ประเมนิ ผล และการ
เทียบโอนผลการเรยี นการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา การพัฒนาและใช้สอ่ื และเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้การวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการส่งเสริม
ชมุ ชนใหม้ ีความเข้มแขง็ ทางวิชาการ
2) ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั ิโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
3. การจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา หน้าท่ีรับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดังนี้
1) จัดทำแผนการเรยี นรู้ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้โดยความร่วมมอื ของเครือขา่ ย
สถานศึกษา
2) จัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกช่วงชั้น ตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ บูรณาการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนาคุณธรรมนำ
ความรูต้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๑๓
3) ใชส้ อ่ื การเรยี นการสอนและแหล่งการเรียนรู้
4) จดั กิจกรรมพัฒนาหอ้ งสมดุ หอ้ งปฏิบตั ิการต่างๆ ใหเ้ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้
5) ส่งเสรมิ การวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้
6) ส่งเสริมการพัฒนาความเป็นเลิศของนักเรียนและช่วยเหลือนักเรียนพิการด้อยโอกาสและมี
ความสามารถพเิ ศษ
4. การพัฒนาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา หน้าทรี่ ับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) จดั ทำหลกั สูตรสถานศึกษาเป็นของตนเอง
1.1 จัดให้มีการวิจยั และพัฒนาหลักสูตรขึ้นใช้เองให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงทางด้านเศรษฐกจิ
และสังคมและเปน็ ต้นแบบให้กับโรงเรียนอื่น
1.2 จดั ทำหลักสูตรท่ีมุ่งเนน้ พัฒนานักเรยี นให้เป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
มีความรแู้ ละคณุ ธรรม สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผู้อืน่ ได้อยา่ งมีความสุข
1.3 จัดให้มีวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
1.4 เพ่มิ เตมิ เน้อื หาสาระของรายวิชาให้สงู และลึกซึ้งมากขน้ึ สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่
การศึกษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา อาชีวศึกษา การศึกษาทีส่ ่งเสริมความเปน็ เลศิ ผู้บกพร่อง พิการ
และการศึกษาทางเลือก
1.5 เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคล้องสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน
ผู้ปกครอง ชมุ ชน สังคม และโลก
2) สถานศึกษาสามารถจัดทำหลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้ การสอนและอื่นๆให้เหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายพิเศษ โดยความร่วมมือของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ
เครือขา่ ยสถานศกึ ษา
3) คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานให้ความเห็นชอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา
4) นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลและปรับปรงุ หลักสตู รสถานศกึ ษา และรายงานผลให้สำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษารบั ทราบ
5. การพฒั นากระบวนการเรียนรู้
หน้าท่รี บั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดังน้ี
1) จัดเนอ้ื หาสาระและกิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึงความ
แตกต่างระหว่างบุคคล
2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ
ป้องกันและแกไ้ ขปัญหา
3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรยี นรูจ้ ากประสบการณ์จริงฝกึ การปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการ
อ่านและเกิดการใฝ่ร้อู ย่างตอ่ เน่ือง
4) จดั การเรยี นการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างไดส้ ัดสว่ นสมดุลกันรวมท้ังปลูกฝัง
คณุ ธรรม คา่ นยิ มทดี่ งี านและคุณลกั ษณะอันพึ่งประสงค์ไว้ในทุกวชิ า
5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความ
สะดวกเพือ่ ให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทงั้ สามารถใช้การวิจยั เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
เรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภท
ต่างๆ
๑๔
6) จัดการเรียนรู้ให้เกดิ ข้ึนได้ทุกเวลาทกุ สถานทีม่ กี ารประสานความรว่ มมอื กับบิดามารดาและบุคคล
ในชมุ ชนทุกฝ่าย เพ่ือร่วมกนั พฒั นาผเู้ รียนตามศักยภาพ
6. การวดั ผล ประเมนิ ผลและดำเนินการเทียบโอนผลการเรยี น หนา้ ทร่ี ับผิดชอบปฏบิ ัติงานดังนี้
1) กำหนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยสอดคล้องกับ
นโยบายระดบั ประเทศ
2) จัดทำเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บการวดั และประเมินผลของสถานศกึ ษา
3) วดั ผล ประเมนิ ผล เทียบโอนประสบการณผ์ ลการเรยี นและอนุมัติผลการเรียน
4) จดั ให้มีการประเมนิ ผลการเรียนทุกช่วงชนั้ และจัดให้มีการซ่อมเสริมกรณีที่มีผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การ
ประเมิน
5) จัดใหม้ กี ารพัฒนาเคร่อื งมอื ในการวดั และประเมนิ ผล
6) จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อใช้ในการอ้างอิง
ตรวจสอบและใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาการเรียนการสอน
7) ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการประเมินการเรียนด้านต่างๆ รายปี/รายภาคและตัดสินผลการ
เรียนการผ่านช่วงชนั้ และจบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
8) การเทียบโอนผลการเรียนเป็นอำนาจของสถานศึกษาที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการเพื่อ
กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดบั การศกึ ษา ทัง้ ในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย
คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรยี น และเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการพรอ้ มทั้งใหผ้ ู้บริหาร
สถานศึกษาอนุมัติการเทยี บโอน
7. การวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา
หน้าที่รับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้
1) กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานของนักเรียน ครู
และผู้เกย่ี วข้องกบั การศกึ ษา
2) พฒั นาครแู ละนกั เรยี นใหม้ ีความรู้เกีย่ วกับการปฏริ ูปการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจยั เป็นสำคัญใน
การเรยี นรู้ท่ีซับซ้อนข้ึนทำให้ผู้เรียนได้ฝึกการคิด การจัดการ การหาเหตุผล ในการตอบปญั หา การผสมผสาน
ความรู้แบบสหวิทยาการและการเรยี นรู้ในปัญหาทตี่ นสนใจ
3) พฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการวิจัย
4) รวบรวม และเผยแพรผ่ ลการวจิ ัยเพ่ือการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา รวมทั้งสนับสนุนให้
ครนู ำผลการวิจัยมาใช้ เพ่ือพฒั นาการเรยี นรแู้ ละพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
8. การพฒั นาและสง่ เสรมิ ให้มแี หลง่ เรียนรู้
หน้าทรี่ บั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี
1) จัดให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้พอเพียงเพ่ือสนบั สนนุ
การแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองกบั การจดั กระบวนการเรียนรู้
2) จดั ระบบแหลง่ การเรยี นรู้ภายในโรงเรยี นใหเ้ อ้อื ต่อการจดั การเรยี นรขู้ องผู้เรียน เชน่ พัฒนาหอ้ งสมดุ
หมวดวิชา ห้องสมุดเคลื่อนที่ มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องพิพิธภัณฑ์ ห้องมัลติมีเดีย ห้องคอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ต ศูนย์วิชาการ ศูนย์วิทยบริการ Resource Center สวนสุขภาพ สวนวรรณคดี สวนหนังสือ สวน
ธรรมะ เป็นต้น
๑๕
3) จัดระบบขอ้ มูลแหล่งการเรยี นรใู้ นทอ้ งถน่ิ ให้เออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรูข้ องผู้เรียนของสถานศึกษาของ
ตนเอง เช่น จัดเสน้ ทาง/แผนท่ี และระบบการเชื่อมโยงเครอื ข่ายหอ้ งสมุดประชาชน ห้องสมุดสถาบนั การศึกษา
พพิ ธิ ภัณฑ์ พพิ ธิ ภณั ฑ์วิทยาศาสตร์ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน ฯลฯ
4) ส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้แ ละ
นิเทศ กำกับติดตาม ประเมนิ และปรับปรงุ อย่างต่อเนื่อง
9. การนเิ ทศการศกึ ษา
หน้าที่รับผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดังน้ี
1) สร้างความตระหนักให้แก่ครูและผู้เกี่ยวขอ้ งให้เขา้ ใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเปน็ กระบวนการ
ทำงานร่วมกันที่ใช้เหตุผลการนิเทศเป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทำงานของแต่ละบุคคลให้มีคุณภาพ การ
นิเทศเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหาร เพื่อให้ทุกคนเกิดความเชื่อม่ันวา่ ได้ปฏิบัติถูกต้อง ก้าวหน้า และ
เกดิ ประโยชน์สงู สุดต่อผู้เรยี นและตวั ครเู อง
2) จัดการนิเทศภายในสถานศึกษาให้มคี ุณภาพทั่วถงึ และตอ่ เนอื่ งเป็นระบบและกระบวนการ
3) จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เชื่อมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา
10. การแนะแนวการศึกษา
มหี น้าท่ีรบั ผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1) กำหนดนโยบายการจัดการศึกษาที่มีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสำคัญ โดยให้ทุกคนใน
สถานศกึ ษาตระหนกั ถงึ การมีสว่ นรว่ มในกระบวนการแนะแนวและการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
2) จัดระบบงานและโครงสร้างองค์กรแนะนำและดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น
3) สรา้ งความตระหนักใหค้ รูทุกคนเหน็ คณุ คา่ ของการแนะแนวและดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น
4) ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรู้เพิ่มเติมในเรื่องจิตวทิ ยาและการแนะแนวและดูแลช่วยเหลอื
นักเรียนเพอื่ ใหส้ ามารถ บูรณาการ ในการจัดการเรยี นรู้และเชอื่ มโยง สูก่ ารดำรงชวี ิตประจำวัน
5) คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพที่เหมาะสม ทำหน้าที่ครูแนะแนวครูท่ี
ปรกึ ษา ครูประจำช้ัน และคณะอนุกรรมการแนะแนว
6) ดูแล กำกับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานแนะแนวและดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่าง
เปน็ ระบบ
7) ส่งเสรมิ ความร่วมมือและความเขา้ ใจอันดรี ะหว่างครู ผู้ปกครองและชุมชน
8) ประสานงานด้านการแนะแนว ระหว่างสถานศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสน-สถาน
ชมุ ชน ในลกั ษณะเครือข่ายการแนะแนว
9) เช่อื มโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
11. การพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
มีหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดังน้ี
1) กำหนดมาตรฐานการศึกษาเพิ่มเติมของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ
มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานมาตรฐานสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาและความต้องการของชมุ ชน
2) จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ โดยจัดโครงสร้างการบรหิ ารทีเ่ อื้อต่อการพัฒนางานและการสรา้ ง
ระบบประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ข้อมูล มีความสมบูรณ์เรียกใช้ง่าย สะดวก
รวดเร็ว ปรบั ปรงุ ให้เปน็ ปจั จบุ นั อยเู่ สมอ
๑๖
3) จัดทำแผนสถานศึกษาทม่ี งุ่ เน้นคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์/แผนยุทธศาสตร์)
4) ดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาต้องสร้างระบบ
การทำงานที่เข้มแข็งเน้นการมีส่วนร่วม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) หรือที่
รจู้ ักกนั วา่ วงจร PDCA
5) ตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศึกษาโดยดำเนินการอย่างจริงจังต่อเนอื่ งด้วยการสนับสนุนให้ครู
ผปู้ กครองและชมุ ชนเข้ามามสี ว่ นรว่ ม
6) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนดเพื่อรองรับการประเมิน
คณุ ภาพภายนอก
7) จัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี (SAR) และสรุปรายงานประจำปี โดยความเหน็ ชอบของ
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานเสนอตอ่ หนว่ ยงานตน้ สังกดั และเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน
12. การส่งเสริมชุมชนให้มีความเขม้ แข็งทางวิชาการ
มหี นา้ ที่รบั ผิดชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี
1) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อ่นื
2) ส่งเสริมความเข้มแข็งของชมุ ชนโดยการจัดกระบวนการเรียนรภู้ ายในชุมชน
3) สง่ เสรมิ ให้ชมุ ชนมกี ารจัดการศกึ ษาอบรมมีการแสวงหาความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสารและรูจ้ ักเลอื กสรรภูมิ
ปญั ญาและวิทยาการตา่ งๆ
4) พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการรวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการ
แลกเปล่ยี นประสบการณ์ระหว่างชมุ ชน
13. การประสานความรว่ มมอื ในการพฒั นาวชิ าการกับสถานศึกษาและองค์กรอ่นื
มีหน้าท่รี ับผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดังนี้
1) ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้าง
พฒั นาการของนักเรยี นทุกดา้ นรวมท้งั สืบสานจารีตประเพณศี ลิ ปวัฒนธรรมของท้องถน่ิ
2) เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรทั้งภาครัฐ
และเอกชน เพือ่ ให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยาการของชมุ ชนและมีส่วนในการพฒั นาชุมชนและทอ้ งถนิ่
3) ให้บริการดา้ นวิชาการที่สามารถเชื่อมโยงหรอื แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกบั แหลง่ วิชาการ ในท่ี
อืน่ ๆ
4) จัดกิจกรรมร่วมชุมชน เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับศิษย์เก่าการประชุม
ผปู้ กครองนกั เรยี น การปฏบิ ัติงานรว่ มกับชุมชน การร่วมกจิ กรรมกับสถานบนั การศกึ ษาอน่ื เปน็ ต้น
14. การส่งเสริมและสนบั สนนุ งานวิชาการแก่บคุ คล ครอบครวั องคก์ ร หน่วยงาน สถานประกอบการ และ
สถาบนั อื่นทจี่ ัดการศึกษา
มีหนา้ ที่รับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังน้ี
1) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิน่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนในเรื่อง
เกยี่ วกบั สทิ ธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑๗
2) จัดให้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ การเพ่มิ ความพร้อมใหก้ ับบคุ คล ครอบครวั ชุมชน องค์กรชมุ ชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอืน่ ที่
รว่ มจดั การศึกษา
3) ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ เอกชน องค์กร-เอกชน
องค์วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นร่วมกันจัดการศึกษาและใช้ทรัพยากร
รว่ มกันให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ผู้เรยี น
4) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับบุคคล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กร-วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการณ์ และสถาบันสงั คมอ่นื
5) ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน
องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบันสงั คมอน่ื ไดร้ ับความช่วยเหลือ
ทางด้านวชิ าการตามความเหมาะสมและจำเป็น
6) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
15. การจัดทำระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกับงานดา้ นวชิ าการของสถานศึกษา
มหี น้าท่ีรบั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดังนี้
1) ศึกษาและวิเคาระห์ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ท่ี
เกี่ยวข้องทกุ รายรับรแู้ ละถือปฏิบตั เิ ปน็ แนวเดยี วกัน
2) จัดทำร่างระเบียบและแนวปฏบิ ัติเกีย่ วกบั งานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทกุ
ฝ่ายรับรู้และถือปฏิบัตเิ ปน็ แนวเดียวกัน
3) ตรวจสอบร่างระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษาและแกไ้ ขปรับปรุง
4) นำระเบยี บและแนวปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษาไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ
5) ตรวจสอบและประเมินผลการใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
และนำไปแกไ้ ขปรับปรุงใหเ้ หมาะสมต่อไป
16. การคดั เลอื กหนงั สอื แบบเรียนเพอื่ ใชใ้ นสถานศึกษา มหี น้าท่ีรับผดิ ชอบปฏบิ ัตงิ านดังน้ี
1) ศึกษา วิเคาระห์ คัดเลือกหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีคุณภาพสอดคล้องกลับ
หลกั สูตรสถานศกึ ษาเพื่อเป็นหนังสอื แบบเรียนเพ่ือใช้ในการจัดการเรียนการสอน
2) จัดทำหนงั สอื เรยี น หนงั สอื เสริมประสบการณ์ หนังสอื อ่านประกอบ แบบฝึกหดั ใบงาน ใบความรู้
เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
3) ตรวจพจิ ารณาคุณภาพหนงั สือเรยี น หนงั สอื เสริมประสบการณ์ หนงั สอื อ่านประกอบ แบบฝึกหัด ใบ
งาน ใบความรเู้ พ่อื ใช้ประกอบการเรียนการสอน
17. การพัฒนาและใชส้ ื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังนี้
1) จดั ใหม้ กี ารรว่ มกันกำหนดนโยบาย วางแผนในเรอ่ื งการจัดหาและพัฒนาสอ่ื การเรยี นรู้ และ
เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาของสถานศึกษา
2) พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยี เพื่อ
การศึกษา พรอ้ มทัง้ ใหม้ กี ารจดั ตั้งเครอื ข่ายทางวิชาการ ชมรมวชิ าการเพ่ือเปน็ แหล่งเรยี นรู้ของสถานศึกษา
๑๘
3) พัฒนาและใชส้ อื่ และเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยมุ่งเนน้ การพฒั นาส่ือและเทคโนโลยีทางการศึกษา
ที่ให้ข้อเท็จจริงเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดขึ้น โดยเฉพาะหาแหล่งสื่อที่เสริมการจัดการศึกษา ของ
สถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
4) พัฒนาห้องสมดุ ของสถานศกึ ษาให้เปน็ แหล่งการเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษาและชุมชน
5) นิเทศ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในการจัดหา ผลิตใช้และพัฒนาสื่อและ
เทคโนโลยีทางการศกึ ษา
18. การรับนกั เรยี น
หน้าทร่ี บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) ใหส้ ถานศึกษาประสานงานการดำเนนิ การแบ่งเขตพืน้ ท่ีบริการการศึกษารว่ มกัน และเสนอข้อตกลง
ใหเ้ ขตพน้ื ท่ีการศึกษาเห็นชอบ
2) กำหนดแผนการรบั นักเรยี นของสถานศกึ ษา โดยประสานงานกับเขตพื้นที่
การศกึ ษา
3) ดำเนินการรบั นักเรยี นตามทแ่ี ผนกำหนด
4) ร่วมมือกับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ชุมชน ในการติดตามชว่ ยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาในการเข้า
เรียน
5) ประเมินผลและรายงานผลรับเด็กเขา้ เรียนใหเ้ ขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาทราบ
19. การจัดทำสำมะโนนักเรียน
มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) ประสานงานกับชมุ ชนและท้องถิ่นในการสำรวจขอ้ มูล จำนวนนักเรียนทจี่ ะเข้ารับบรกิ าร ทาง
การศึกษาในเขตบริการของสถานศกึ ษา
2) จัดทำสำมะโนผู้เรียนที่จะเขา้ รบั บริการทางการศกึ ษาของสถานศึกษา
3) จัดระบบขอ้ มลู สารสนเทศจากสำมะโนผู้เรียนให้เขตพ้นื ที่การศึกษารบั ทราบ
20. การทัศนศึกษา มหี นา้ ที่รับผิดชอบปฏิบัติงานดังน้ี
1) วางแผนการนำนกั เรยี นไปทศั นศึกษานอกสถานศึกษา
2) ดำเนนิ การนำนักเรียนไปทศั นศกึ ษานอกสถานศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารทีก่ ำหนด
๑๙
คำสั่งโรงเรียนหนองบัวพทิ ยำคำร
ที่ 217/2565
เร่ือง แต่งตั้งครูปฏิบตั ิหนำ้ ที่สอน ภำคเรยี นท่ี 1 ปกี ำรศึกษำ 2565
*************************************
เพอ่ื ให้การจดั การเรียนการสอนในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 โรงเรยี นหนองบัวพทิ ยาคาร
เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย มีประสทิ ธิภาพ สอดคล้องกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) หลกั สูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล และหลกั สูตรโรงเรียนหนองบัวพทิ ยาคาร
จึงขอแตง่ ตั้งให้ครู พนักงานราชการ และครูอัตราจา้ ง ปฏิบัติหน้าทส่ี อน รับผิดชอบในการจดั การเรยี นการสอน
การวดั ประเมินผล ตลอดจนส่งผลประเมินในรายวชิ าท่ีไดร้ ับมอบหมายจนกว่าการเรียนการสอนจะแลว้ เสร็จ
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แหง่ พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวง
ศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ประกอบกบั มาตรา 27 แห่งระเบยี บขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. 2547 จงึ แต่งตง้ั ครปู ฏิบัติหน้าท่ีสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ดังรายละเอียดแนบทา้ ย
ให้ผทู้ ไี่ ด้รบั การแต่งต้ัง ปฏบิ ัติหน้าที่อยา่ งเครง่ ครัด มปี ระสิทธภิ าพ เพือ่ ใหเ้ กิดผลดีแก่ทางราชการสืบไป
ท้ังนี้ ต้ังแต่บัดนี้ เปน็ ต้นไป
สง่ั ณ วันท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
(นายสุขเกษม พาพินิจ)
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นหนองบวั พทิ ยาคาร
๒๐
บญั ชแี นบทา ยคําสงั่ โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารท่ี 217/2565 แตง ต้งั ครปู ฏิบตั หิ นาที่สอน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565
ลาํ ดบั รายช่อื ครูผสู อน ท่ี รหัสวิชา ช่อื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดับช้นั จํานวน รวมทง้ั ส้ิน
ที่ 3 ม.5/6,7, 13, 15 12
1 ค32201 คณติ ศาสตรเ พิ่มเติม 3
2 ลกู เสอื 1 ม.3 1
1 นางรชั นีย ชนะพาล 3 ชมุ นุม 1 1 20
4 PLC 2 2
5 ประชมุ 4 4
1 ค21101 คณติ ศาสตร 1 3 ม.1/1-5 15
2 ลกู เสือ 1 ม.3 1
2 นายทศพร ภูมพิ านิชย 3 ชมุ นมุ 1 1 20
4 แนะแนว 1 ม.1 1
5 PLC 2 2
1 ค33201 คณติ ศาสตรเ พิ่มเติม 5 3 ม.6/7-9, 13 12
2 ลูกเสือ 1 ม.3 1
3 นางเชิญขวัญ เรือกจิ 3 ชุมนุม 1 1 17
4 Homeroom 1 ม.5/13 1
5 PLC 2 2
1 ค23201 คณติ ศาสตรเ พ่ิมเตมิ 5 2 ม.3/2, 4, 8, 17 8
2 ค32101 คณติ ศาสตร 3 2 ม.5/1-4 8
4 นางปวรศิ า ดปู อง 3 ยวุ กาชาด 1 ม.2 1 21
4 ชมุ นมุ 1 1
5 Homeroom 1 ม.4/2 1
6 PLC 2 2
1 ค21101 คณติ ศาสตร 1 3 ม.1/6-8, 12, 18 15
2 ค21201 คณติ ศาสตรเ พมิ่ เตมิ 1 2 ม.1/8 2
5 นางสาวเพยี งเพ็ญ สริ ิธนพงศ 3 ยวุ กาชาด 1 ม.3 1 22
4 ชุมนุม 1 1
5 แนะแนว 1 ม.2/6 1
6 PLC 2 2
1 ค23101 คณติ ศาสตร 5 3 ม.3/1, 10, 13, 15 12
2 ค33101 คณติ ศาสตร 5 2 ม.6/10 2
6 นายพงษพชิ ิต พรมสิทธิ์ 3 ลกู เสอื 1 ม.3 1 22
4 ชุมนมุ 1 1
5 PLC 2 2
6 ประชมุ 4 4
๒๑
บญั ชแี นบทายคาํ ส่งั โรงเรยี นหนองบัวพิทยาคารท่ี 217/2565 แตง ต้งั ครปู ฏิบตั ิหนาท่สี อน ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565
ลาํ ดับ รายชอื่ ครผู สู อน ท่ี รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดบั ชน้ั จาํ นวน รวมทัง้ สิ้น
ที่
1 ค21101 คณติ ศาสตร 1 3 ม.1/10, 14-15 9
2 ค21201 คณติ ศาสตรเ พิ่มเติม 1 2 ม.1/10 2
3 ค23201 คณติ ศาสตรเ พม่ิ เติม 5 2 ม.3/3, 14 4
1 ม.2 1 20
7 นายอนตั ตศาสตร อยุ เลศิ 4 ลกู เสอื
5 ชุมนุม 1 1
6 แนะแนว 1 ม.3/14 1
7 PLC 2 2
1 ค31101 คณติ ศาสตร 1 2 ม.4/1-8 16
8 นางสาวชัชญาภา อาจนนท 2 ลกู เสอื 1 ม.2 1
ลา 3 ชุมนุม 1 1 21
4 Homeroom 1 ม.6/4 1
5 PLC 2 2
1 ค22101 คณติ ศาสตร 3 3 ม.2/1, 6 6
2 ค31201 คณติ ศาสตรเ พ่มิ เตมิ 1 3 ม.4/15, 16 6
9 นายบรรณรต สกุณา 3 ลูกเสอื 1 ม.3 1 17
4 ชมุ นุม 1 1
5 Homeroom 1 ม.5/4 1
6 PLC 2 2
1 ค21101 คณติ ศาสตร 1 3 ม.1/9, 11 6
2 ค21211 คณิตศาสตรเ ขม ขน 1 2 ม.1/9 2
3 ค30211 คณติ ศาสตรเ พมิ่ เตมิ 11 4 ม.4/12 4
10 นายสรุ ะชยั คําภหิ นู 4 ค31211 คณติ ศาสตรเ ขมขน 1 4 ม.4/11 4 21
5 ลกู เสือ 1 ม.2 1
6 ชุมนุม 1 1
7 แนะแนว 1 ม.2/9 1
8 PLC 2 2
1 ค21201 คณติ ศาสตรเ พม่ิ เตมิ 1 2 ม.1/3-5 6
2 ค23101 คณติ ศาสตร 5 3 ม.3/4, 12, 16 9
11 นางปรมิ ประภา สายสงิ ห 3 ลูกเสอื 1 ม.2 1 20
4 ชมุ นมุ 1 1
5 แนะแนว 1 ม.2/3 1
6 PLC 2 2
๒๒
บญั ชแี นบทายคําสง่ั โรงเรยี นหนองบัวพิทยาคารท่ี 217/2565 แตง ตงั้ ครูปฏบิ ัตหิ นาทส่ี อน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565
ลําดบั รายช่อื ครผู สู อน ท่ี รหสั วิชา ช่อื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จาํ นวน รวมท้งั สิ้น
ท่ี 3 ม.2/2, 16 6
1 ค22101 คณติ ศาสตร 3
2 ค22201 คณติ ศาสตรเพมิ่ เตมิ 3 2 ม.2/3-4, 6, 13, 17 10
12 นางสาวทพิ ยวรรณ สีเคนา 3 ลูกเสอื 1 ม.3 1 21
ชมุ นุม 1
4 แนะแนว 1 1
5 PLC 1 ม.1/7 2
6 2
1 ค22101 คณติ ศาสตร 3 3 ม.2/3-5, 13, 17 15
2 ยวุ กาชาด 1 ม.1 1
13 นางมณีรัตน เจริญยทุ ธ 3 ชุมนุม 1 1 20
4 แนะแนว 1 ม.1/3 1
5 PLC 2 2
1 ค21201 คณติ ศาสตรเ พิ่มเตมิ 1 2 ม.1/2, 6, 13, 18 8
2 ค22101 คณติ ศาสตร 3 3 ม.2/7, 14 6
3 I30201 การศึกษาคน ควาและสรางองคค 2วามรมู .5/6 2
14 นายธนดล ออนอยู 4 ลูกเสือ 1 ม.2 1 21
5 ชุมนุม 1 1
6 แนะแนว 1 ม.2/5 1
7 PLC 2 2
1 ค33101 คณติ ศาสตร 5 2 ม.6/7, 9, 11-16 16
2 ลูกเสือ 1 ม.3 1
15 นางกมลธญิ า คําปอง 3 ชมุ นมุ 1 1 21
4 Homeroom 1 ม.4/9 1
5 PLC 2 2
1 ค32101 คณติ ศาสตร 3 2 ม.5/5-7, 13-15 12
2 ค32201 คณติ ศาสตรเพิ่มเตมิ 1 3 ม.5/10 3
16 นายสําเภา เนือ่ งมจั ฉา 3 ลูกเสอื 1 ม.3 1 20
4 ชุมนุม 1 1
5 แนะแนว 1 ม.2/4 1
6 PLC 2 2
๒๓
บัญชแี นบทา ยคําส่งั โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารที่ 217/2565 แตง ต้ังครปู ฏิบตั ิหนา ทส่ี อน ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2565
ลาํ ดบั รายชอื่ ครผู ูส อน ท่ี รหัสวชิ า ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จํานวน รวมท้ังสิ้น
ที่ 4 ม.4/9 4
1 ค31211 คณติ ศาสตรเ ขม ขน 1
2 ค30215 คณติ ศาสตรเ พม่ิ เติม 15 4 ม.6/12 4
3 ค33201 คณติ ศาสตรเ พิ่มเตมิ 5 3 ม.6/11, 16 6
4 ค30222 คณติ ศาสตร พสวท. 2 1 ม.5/12 1
17 นายสริ พิ งษ มณวี งศ 5 ว30295 โครงงานวทิ ยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2 22
6 ลกู เสอื 1 ม.3 1
7 ชุมนมุ 1 1
8 Homeroom 1 ม.5/9 1
9 PLC 2 2
1 ค31101 คณิตศาสตร 1 2 ม.4/10, 12-13, 16 8
2 ค33101 คณติ ศาสตร 5 2 ม.6/3-6 8
18 นางศิริพร คาํ ภิหนู 3 ลกู เสอื 1 ม.2 1 21
4 ชุมนุม 1 1
5 Homeroom 1 ม.4/13 1
6 PLC 2 2
1 ค20211 คณติ ศาสตร สสวท. 1 2 ม.1/12 2
2 ค23101 คณติ ศาสตร 5 3 ม.3/2, 6, 9, 17 12
3 I20201 การศึกษาคนควาและสรางองคค 2วามรมู .2/3 2
19 นางวรทิ ยา เรียนทพั 4 ลกู เสือ 1 ม.3 1 21
5 ชุมนุม 1 1
6 แนะแนว 1 ม.2/9 1
7 PLC 2 2
1 ค21101 คณติ ศาสตร 1 3 ม.1/13, 16-17 9
2 ค31201 คณติ ศาสตรเ พมิ่ เตมิ 1 3 ม.4/2, 14 6
20 นางสาวอธัญญา พลขาง 3 ลกู เสือ 1 ม.2 1 20
4 ชุมนมุ 1 1
5 แนะแนว 1 ม.1/12 1
6 PLC 2 2
๒๔
บัญชแี นบทายคาํ สงั่ โรงเรียนหนองบวั พิทยาคารที่ 217/2565 แตง ต้ังครปู ฏิบัติหนา ทส่ี อน ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2565
ลาํ ดับ รายชื่อครผู สู อน ท่ี รหสั วชิ า ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดบั ช้นั จาํ นวน รวมท้ังส้นิ
ที่
1 ค22101 คณติ ศาสตร 3 3 ม.2/8-10, 12 12
2 ค32101 คณติ ศาสตร 3 2 ม.5/8, 10 4
21 นางสาวสวุ ลี บวั ใหญรักษา 3 ลูกเสือ 1 ม.3 1 21
4 ชมุ นุม 1 1
5 Homeroom 1 ม.4/10 1
6 PLC 2 2
1 ค23201 คณติ ศาสตรเ พิม่ เตมิ 5 2 ม.3/1, 5, 7, 11, 15-16 12
2 ค20215 คณติ ศาสตร สสวท. 5 2 ม.3/12 2
3 I20201 การศกึ ษาคนควา และสรา งองคค วามรู 2 ม.2/3 2
22 นางสาวทิพาพร ชนะบญุ 4 ลูกเสือ 1 ม.2 1 21
5 ชมุ นมุ 1 1
6 Homeroom 1 ม.6/12 1
7 PLC 2 2
1 ค20201 คณติ ศาสตรป ระยกุ ต 1 2 ม.1/9 2
2 ค21211 คณติ ศาสตรเ ขมขน 1 2 ม.1/11 2
3 ค21201 คณติ ศาสตรเ พ่มิ เตมิ 1 2 ม.1/7, 16-17 6
4 ค31201 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 1 3 ม.4/10, 13 6
23 นายธีระยทุ ธ วนั นา 5 ค30217 ปฏบิ ัตกิ ารคณติ ศาสตร 1 2 ม.4/9 2 23
6 ลูกเสือ 1 ม.2 1
7 ชมุ นุม 1 1
8 แนะแนว 1 ม.2/9 1
9 PLC 2 2
1 ค20203 คณิตศาสตรประยุกต 3 2 ม.2/9 2
2 ค22211 คณติ ศาสตรเ ขม ขน 3 2 ม.2/9, 11 4
3 ค20213 คณิตศาสตร สสวท. 3 2 ม.2/12 2
4 ค32101 คณิตศาสตร 3 2 ม.5/9, 11, 12 6
24 นายปรดี า ชายทวปี 5 ว30295 โครงงานวิทยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2 21
6 ลูกเสอื 1 ม.3 1
7 ชุมนมุ 1 1
8 Homeroom 1 ม.5/9 1
9 PLC 2 2
๒๕
บัญชแี นบทา ยคาํ ส่งั โรงเรยี นหนองบัวพทิ ยาคารที่ 217/2565 แตง ตั้งครูปฏบิ ัตหิ นา ทส่ี อน ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2565
ลาํ ดับ รายชื่อครูผสู อน ที่ รหัสวชิ า ช่อื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดบั ช้นั จํานวน รวมท้ังสิ้น
ท่ี 4
1 ค30213 คณิตศาสตรเ พมิ่ เติม 13 4 ม.5/12
2 ค32201 คณติ ศาสตรเพมิ่ เติม 3 3 ม.5/14 3
3 ค32211 คณติ ศาสตรเ ขมขน 3 4 ม.5/9, 11 8
25 นางสาวเดอื นเพญ็ จารจุ ิตร 4 ว30295 โครงงานวิทยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2 22
5 ลูกเสอื 1 ม.2 1
6 ชุมนุม 1 1
7 Homeroom 1 ม.4/9 1
8 PLC 2 2
1 ค22201 คณิตศาสตรเ พ่มิ เติม 3 2 ม.2/8, 10 4
2 ค23101 คณติ ศาสตร 5 3 ม.3/3, 8, 14 9
3 ค30219 ปกาฏรบิ ศัตึกิกษาารคคนณคติ วศา แาสลตะร 3 2 ม.5/9 2
4 I30201 สลรกู าเสงอืองคความรู 2 ม.5/6
26 นางสาวพชิ ญาภา ตอนสขุ 5 1 ม.2 2 22
1
6 ชุมนมุ 1 1
7 Homeroom 1 ม.6/11 1
8 PLC 2 2
1 ค23201 คณติ ศาสตรเ พ่มิ เติม 5 2 ม.3/6, 9, 10, 13 8
2 ค31101 คณิตศาสตร 1 2 ม.4/9, 11, 14-15 8
27 นางสาวพิชชญา ทองโคตร 3 ลูกเสอื 1 ม.3 1 21
4 ชุมนุม 1 1
5 แนะแนว 1 ม.1/9 1
6 PLC 2 2
1 ค22101 คณิตศาสตร 3 3 ม.2/11, 15 6
2 ค23101 คณติ ศาสตร 5 3 ม.3/5, 7, 11 9
28 นางธิธาดา ทองมี 3 ลกู เสือ 1 ม.3 1 20
4 ชุมนุม 1 1
5 แนะแนว 1 ม.3/1 1
6 PLC 2 2
1 ว23101 วทิ ยาศาสตร 5 3 ม.3/4,3/6,3/12,3/16 12
2 ลูกเสือ 1 ม.2 1
29 นายจรญั เฉิดฉาย 3 ชุมนมุ 1 1 20
4 ประชมุ 4 4
5 PLC 2 2
๒๖
บัญชแี นบทายคาํ สัง่ โรงเรยี นหนองบวั พทิ ยาคารท่ี 217/2565 แตง ตงั้ ครูปฏิบัตหิ นา ทส่ี อน ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2565
ลาํ ดบั รายชื่อครูผูส อน ที่ รหสั วชิ า ช่อื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จํานวน รวมทง้ั สนิ้
ที่ 2 ม.1/14-15 4
1 ค21201 คณติ ศาสตรเ พม่ิ เตมิ 1
2 ค22201 คณติ ศาสตรเพมิ่ เตมิ 3 2 ม.2/2, 5, 7, 14-16 12
30 นางสาววรดนู วรโยธา 3 ลกู เสือ 1 ม.3 1 21
4 ชุมนมุ 1 1
5 แนะแนว 1 ม.1/14 1
6 PLC 2 2
1 ค33101 คณติ ศาสตร 5 2 ม.6/1-2, 8 6
2 ค33201 คณติ ศาสตรเ พ่ิมเติม 5 3 ม.6/10, 14-15 9
31 นางสกุลภรณ นาสุรวิ งษ 3 ลูกเสือ 1 ม.2 1 20
4 ชุมนมุ 1 1
5 แนะแนว 1 ม.1/9 1
6 PLC 2 2
1 ว30201 ฟสิกส 1 3 ม.4/2,4/13,4/14 9
2 ว31213 ฟส กิ สข ั้นสงู 1 4 ม.4/9 4
3 ว30211 ฟส ิกส 11 4 ม.4/12 4
32 นายนเิ วศน ชารี 4 ลกู เสือ 1 ม.3 1 22
5 ชุมนมุ 1 1
6 Homeroom 1 ม.4/12 1
7 PLC 2 2
1 ว30201 ฟสกิ ส 1 3 ม.4/10,4/15,4/16 9
2 ว30101 วิทยาศาสตรก ายภาพ (ฟสกิ ส) 3 ม.4/8,4/13,4/14 9
33 นางพรทพิ พา อัคชาติ 3 ลูกเสอื 1 ม.2 1 23
4 ชุมนุม 1 1
5 Homeroom 1 ม.5/3 1
6 PLC 2 2
1 ว30221 เคมี 1 3 ม.4/13,4/14 6
2 ว30296 การสบื เสาะหาความรู 1 2 ม.4/12 2
3 ว30231 เคมี 31 3 ม.4/12 3
34 นางนงนุช ภูขาว 4 ว30226 ปฏบิ ัตกิ ารเคมี 2 ม.5/11 2 18
5 ลูกเสอื 1 ม.2 1
6 ชมุ นุม 1 1
7 Homeroom 1 ม.6/12 1
8 PLC 2 2
๒๗
บญั ชแี นบทา ยคาํ สงั่ โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารที่ 217/2565 แตง ตัง้ ครูปฏบิ ตั หิ นา ทีส่ อน ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2565
ลาํ ดบั รายชือ่ ครผู ูส อน ที่ รหัสวชิ า ช่อื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดบั ช้นั จาํ นวน รวมท้งั สิ้น
ที่ 3 ม.2/9,11,13,14 12
1 ว22101 วทิ ยาศาสตร 3
2 ว20213 วทิ ยาศาสตรโลกทัง้ ระบบ 1 (โครงงาน 1) 2 ม.2/12 2
35 นางทิวารัชต ภมู ิพานชิ ย 3 ลกู เสือ 1 ม.3 1 19
4 ชมุ นมุ 1 1
5 แนะแนว 1 ม.1/12 1
6 PLC 2 2
1 ว30243 ชีววทิ ยา 3 3 ม.5/7,13,14,15 12
2 ว30295 โครงงานวิทยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2
36 นางสุจิตรา ผลธรุ ะ 3 ลูกเสือ 1 ม.3 1 19
4 ชุมนุม 1 1
5 Homeroom 1 ม.5/12 1
6 PLC 2 2
1 ว23101 วิทยาศาสตร 5 3 ม.3/1,3/8,3/14 9
2 ว20202 โครงงานวทิ ยาศาสตร 1 ม.3/3,15,16,17 4
37 นางศศธิ ร เงนิ คง 3 ชุมนุม 1 1 18
4 Homeroom 1 ม.3/2 1
5 ลูกเสอื 1 ม.3 1
6 PLC 2 2
1 ว21101 วทิ ยาศาสตร 1 3 ม.1/6,7,13,14 12
2 ลกู เสือ 1 ม.3 1
38 นางตรึงตรา โคตรเวยี ง 3 ชมุ นมุ 1 1 17
4 แนะแนว 1 ม.2/7 1
5 PLC 2 2
1 ว21101 วทิ ยาศาสตร 1 3 ม.1/15,16,17,18 12
2 ว20211 ของเลน เชิงวิทยาศาสตร 2 ม.1/12 2
39 นางนันทกา คนั ธิยงค 3 ลูกเสอื 1 ม.2 1 19
4 ชุมนุม 1 1
5 แนะแนว 1 ม.2/3 1
6 PLC 2 2
๒๘
บญั ชแี นบทา ยคําสง่ั โรงเรียนหนองบวั พทิ ยาคารที่ 217/2565 แตง ตั้งครปู ฏบิ ตั ิหนา ท่สี อน ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2565
ลําดับ รายชอื่ ครูผสู อน ที่ รหสั วชิ า ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จํานวน รวมท้งั สิ้น
ที่
1 ว30203 ฟส กิ ส 3 3 ม.5/10,13,14,15 12
2 ว32211 ฟส ิกสเ ขมขน 3 3 5/11 3
3 ประชมุ 4 4
40 นางสาวสุริยะพร ยอดสงา 4 ลกู เสือ 1 ม.2 1 24
5 ชุมนุม 1 1
6 Homeroom 1 ม.6/10 1
7 PLC 2 2
1 ว30243 ชีววทิ ยา 3 3 ม.5/6,5/10 6
2 ว30103 วทิ ยาศาสตรชวี ภาพ 3 ม.5/2,5/10 6
3 ว30295 โครงงานวิทยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2
41 นางจตุพร อินทรพิมพ 4 I30201 การศกึ ษาคน ควาและสรางองคความรู 2 ม.5/5 2 21
1
5 ชุมนมุ 1
6 Homeroom 1 ม.6/9 1
7 ลูกเสอื 1 ม.3 1
8 PLC 2 2
1 ว30221 เคมี 1 3 ม.4/2,4/16 6
2 ว30225 เคมี 5 3 ม.6/16 3
3 ว31221 เคมีเขมขน 1 3 ม.4/11 3
4 ว30295 โครงงานวิทยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2
42 นางสาวสมยง พวงมาลัย 5 ชมุ นมุ 1 1 19
6 Homeroom 1 ม.6/16 1
7 ลูกเสอื 1 ม.2 1
8 PLC 2 2
1 ว30225 เคมี 5 3 ม.6/8 3
2 ว32221 เคมีเขมขน 3 3 ม.5/11 3
3 ว30223 เคมี 3 3 ม.5/10,5/14 6
43 นางสาวนงคใ ย สุดตา 4 I30201 การศกึ ษาคน ควา และสรา งองคความรู 2 ม.5/14 2 19
1
5 Homeroom 1 ม.5/11
6 ลูกเสอื 1 ม.2 1
7 ชุมนมุ 1 1
8 PLC 2 2
๒๙
บัญชแี นบทา ยคาํ สงั่ โรงเรยี นหนองบวั พทิ ยาคารที่ 217/2565 แตง ต้งั ครูปฏบิ ัตหิ นาทส่ี อน ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565
ลําดบั รายชือ่ ครูผูสอน ท่ี รหัสวิชา ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จํานวน รวมท้งั ส้ิน
ท่ี
1 ว30245 ชวี วทิ ยา 5 3 ม.6/7,8,9,13,14 15
2 ว30295 โครงงานวิทยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2
3 ลูกเสอื 1 ม.2 1
44 นางสาวพรพรรณ เจรญิ ชัย 4 ชมุ นมุ 1 1 22
5 Homeroom 1 ม.4/14 1
6 PLC 22
1 ว30241 ชวี วิทยา 1 3 ม.4/2,13,14,15,16 15
2 ว30295 โครงงานวทิ ยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2
45 นางอรวรรณ ศรีพล 3 ลูกเสอื 1 ม.2 1 22
4 ชุมนุม 1 1
5 Homeroom 1 ม.5/2 1
6 PLC 2 2
1 ว30101 วิทยาศาสตรก ายภาพ (ฟส ิกส) 3 ม.4/1,3,5,7,9,11 18
2 ลูกเสอื 1 ม.3 1
46 นางสาวฐิตยิ า ปกษา 3 ชุมนมุ 1 1 23
4 แนะแนว 1 ม.2/15 1
5 PLC 2 2
1 ว30203 ฟสกิ ส 3 3 ม.5/6,5/7 6
2 ว30213 ฟส ิกส 13 4 ม.5/12 4
3 ว32213 ฟสิกสข้นั สูง 3 4 ม.5/9 4
47 นายอําพล อรอนิ ทร 4 ว30295 โครงงานวทิ ยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2 21
5 ลูกเสือ 1 ม.2 1
6 ชุมนมุ 1 1
7 Homeroom 1 ม.6/16 1
8 PLC 2 2
1 ว30221 เคมี 1 3 ม.4/10 3
2 ว30225 เคมี 5 3 ม.6/13,6/14 6
3 I30201 การศกึ ษาคนควาและสรางองคค วามรู 2 ม.5/14 2
48 นายณรงคศ ักดิ์ บุญพมุ 4 ลูกเสือ 1 ม.2 1 16
5 ชมุ นุม 1 1
6 Homeroom 1 ม.5/14 1
7 PLC 2 2
๓๐
บัญชแี นบทายคําสัง่ โรงเรียนหนองบวั พิทยาคารที่ 217/2565 แตง ตั้งครูปฏบิ ตั หิ นา ทส่ี อน ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2565
ลาํ ดบั รายช่อื ครผู ูสอน ที่ รหสั วิชา ชอ่ื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จาํ นวน รวมท้งั สิ้น
ท่ี
1 ว30223 เคมี 3 3 ม.5/13 3
2 ว30233 เคมี 33 3 ม.5/12 3
3 ว30225 เคมี 5 3 ม.6/11 3
49 นางสาววราภรณ หสั โก 4 ว30295 โครงงานวทิ ยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2 16
5 ลกู เสอื 1 ม.3 1
6 ชมุ นุม 1 1
7 Homeroom 1 ม.5/13 1
8 PLC 2 2
1 ว22101 วทิ ยาศาสตร 3 3 ม.2/10,12,15 9
2 ว20213 วิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ 1 (โครงงาน 1) 2 ม.2/12 2
3 SC20225 English for Science 3 1 ม.2/8 1
50 นางสาววชั รี โพธยิ า 4 SC22101 Science 3 3 ม.2/8 3 20
5 ลูกเสอื 1 ม.2 1
6 ชุมนุม 1 1
7 แนะแนว 1 ม.2/12 1
8 PLC 2 2
1 ว31221 เคมีเขมขน 1 3 ม.4/9 3
2 ว30225 เคมี 5 3 ม.6/10 3
3 ว30235 เคมี 35 3 ม.6/12 3
4 ว30295 โครงงานวิทยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2
51 นางสาวประรชิ าติ สิทธิสาร 5 I20201 การศกึ ษาคน ควา และสรางองคค วามรู 2 ม.2/17 2 18
6 ลกู เสอื 1 ม.2 1
7 ชุมนุม 1 1
8 Homeroom 1 4/4 1
9 PLC 2 2
1 ว30103 วิทยาศาสตรชวี ภาพ 3 ม.5/1,3,4,6,8 15
2 ว30295 โครงงานวทิ ยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2
3 ยวุ กาชาด 1 ม.2
52 นางสาวปฏมิ าพร ศรีบุ 4 ชมุ นมุ 1 1 22
1
5 Homeroom 1 ม.6/6 1
6 PLC 2 2
บญั ชแี นบทา ยคําสง่ั โรงเรียนหนองบวั พทิ ยาคารท่ี 217/2565 แตง ต้งั ครูปฏิบัติหนา ทส่ี อน ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2565 ๓๑
ลําดบั รายชอื่ ครผู ูสอน ที่ รหัสวิชา ชอ่ื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดับช้นั จาํ นวน รวมทัง้ สิ้น
ท่ี
1 ว30205 ฟส กิ ส 5 3 ม.6/11,6/14,6/15 9
2 ว30261 ธรณีวทิ ยา 1 ม.6/7,9,11,13,15,16 6
53 นายวชั ระ ลีแวง 3 ลกู เสอื 1 ม.3 1 20
4 ชมุ นุม 1 1
5 Homeroom 1 ม.4/12 1
6 PLC 2 2
1 ว30245 ชีววทิ ยา 5 3 ม.6/10,11,15,16 12
2 ว30255 ชีววทิ ยา 55 3 ม.6/12 3
3 ว30293 ระเบียบวธิ ีวจิ ัย 2 ม.5/12 2
54 นางสาวพิจติ รา ศรพี ดั ยศ 4 ว30295 โครงงานวทิ ยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2 24
5 ลกู เสือ 1 ม.3 1
6 ชมุ นุม 1 1
7 Homeroom 1 ม.5/12 1
8 PLC 2 2
1 ว30205 ฟสกิ ส 5 3 ม.6/10,6/16 6
2 ว31211 ฟส ิกสเ ขมขน 1 3 ม.4/11 3
3 ว30215 ฟสกิ ส 15 4 ม.6/12 4
55 นายอธิวัฒน ยางคาํ 4 ว30295 โครงงานวทิ ยาศาสตร 2 2 ม.6/12 2 20
5 ลกู เสอื 1 ม.3 1
6 ชมุ นุม 1 1
7 Homeroom 1 ม.5/5 1
8 PLC 2 2
1 ว23101 วิทยาศาสตร 5 3 ม.3/3,9,11,17 12
2 ว20217 ชีววทิ ยา ม.ตน 2 ม.1/11 2
56 นางสาวรตั นภรณ บาํ รงุ ภักดี 3 ลูกเสือ 1 ม.1 1 19
4 ชุมนมุ 1 1
5 แนะแนว 1 ม.1/11 1
6 PLC 2 2
๓๒
บัญชแี นบทา ยคาํ สัง่ โรงเรยี นหนองบัวพิทยาคารท่ี 217/2565 แตง ต้งั ครูปฏบิ ัตหิ นาท่สี อน ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2565
ลําดบั รายช่ือครผู ูสอน ท่ี รหัสวชิ า ช่อื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดับช้นั จาํ นวน รวมท้งั ส้นิ
ท่ี 3 3/5,3/7,3/13 9
1 ว23101 วทิ ยาศาสตร 5
2 ว20213 วิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ 1 (โครงงาน 1) 2 2/12 2
3 ว20215 เชือ้ เพลงิ เพ่อื การคมนาคม 2 3/12 2
57 นายวศิ รุต ศรลี าวงษ 4 ว20208 ปรชั ญาวทิ ยาศาสตรแ ละวทิ ยาศาสตรเ ทยี ม 1 2/11 1 19
5 ลูกเสือ 1 ม.2 1
6 ชุมนมุ 1 1
7 แนะแนว 1 2/11 1
8 PLC 2 2
1 ว32241 ชวี วิทยาเขมขน 3 3 5/9,5/11 6
2 ว30253 ชีววิทยา 53 3 5/12 3
3 ว30103 วทิ ยาศาสตรช วี ภาพ 3 5/9,5/11 6
58 นายสิทธชิ าติ สทิ ธิ 4 ว30295 โครงงานวิทยาศาสตร 2 2 6/12 2 22
5 ชมุ นุม 1 1
6 ลกู เสอื 1 ม.2 1
7 Homeroom 1 5/11 1
8 PLC 2 2
1 ว30241 ชวี วิทยา 1 3 4/10 3
2 ว30251 ชีววทิ ยา 51 3 4/12 3
3 ว30246 ปฏิบัติการชีววิทยา 2 4/11 2
4 ว31241 ชวี วทิ ยาเขม ขน 1 3 4/9,4/11 6
59 นายเทพสถติ ย ตะรุวรรณ 5 ว30296 การสบื เสาะหาความรู 1 2 4/12 2 23
6 ว30295 โครงงานวิทยาศาสตร 2 2 6/12 2
7 ลกู เสอื 1 ม.3 1
8 ชมุ นุม 1 1
9 Homeroom 1 5/10 1
10 PLC 2 2
1 ว21101 วทิ ยาศาสตร 1 3 1/9,1/10,1/11,1/12 12
2 SC20223 English for Science 1 1 1/8 1
3 SC21101 Science 1 3 1/8 3
60 นางสาวปาริสา ชอบตรง 4 ลูกเสือ 1 ม.2 1 21
5 ชมุ นมุ 1 1
6 Homeroom 1 3/12 1
PLC 2 2
๓๓
บญั ชแี นบทา ยคาํ สงั่ โรงเรยี นหนองบัวพทิ ยาคารที่ 217/2565 แตง ต้ังครปู ฏิบตั ิหนา ท่สี อน ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2565
ลําดับ รายชอ่ื ครูผูส อน ท่ี รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดบั ชน้ั จํานวน รวมท้งั ส้นิ
ที่
1 ว23101 วทิ ยาศาสตร 5 3 3/2,3/10,3/15 9
2 ว20213 วทิ ยาศาสตรโ ลกทงั้ ระบบ 1 (โครงงาน 1) 2 2/12 2
3 ว20220 เคมี ม.ตน 2 2/11 2
4 ว20203 ธรรมชาตวิ ทิ ยาศาสตร 1 1/11 1
61 นายวรี ะศกั ด์ิ กุลแกว 5 ว30295 โครงงานวทิ ยาศาสตร 2 2 6/12 2 21
6 ลกู เสือ 1 ม.2 1
7 ชุมนุม 1 1
8 แนะแนว 1 2/11 1
9 PLC 2 2
1 ว30103 วิทยาศาสตรชีวภาพ 3 5/5,5/7,5/13,5/14,5/1515
2 ว30295 โครงงานวทิ ยาศาสตร 2 2 6/12 2
62 นางสาวอรอนงค ชนะบุญ 3 ลูกเสอื 1 ม.2 1 22
4 ชุมนมุ 1 1
5 แนะแนว 1 2/12 1
6 PLC 2 2
1 ว21101 วิทยาศาสตร 1 3 1/1,1/2,1/3,1/4,1/5 15
2 ว20202 โครงงานวิทยาศาสตร 1 3/4 1
63 นางสาวปารณยี ย าพร ศริ มิ นูญ 3 ลกู เสือ 1 ม.3 1 21
4 ชุมนมุ 1 1
5 แนะแนว 1 1/17 1
6 PLC 2 2
1 ว22101 วิทยาศาสตร 3 3 2/1,2/4,2/6,2/17 12
2 ว20202 โครงงานวทิ ยาศาสตร 1 3/2,3/8,3/9,3/10 4
64 นายไพโรจน สุรยิ ขนั ธ 3 ลกู เสือ 1 ม.3 1 21
4 ชมุ นุม 1 1
5 แนะแนว 1 2/6 1
6 PLC 2 2
๓๔
บญั ชแี นบทา ยคําสัง่ โรงเรยี นหนองบัวพทิ ยาคารที่ 217/2565 แตง ต้งั ครูปฏิบตั ิหนา ที่สอน ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2565
ลาํ ดบั รายชื่อครผู ูสอน ท่ี รหสั วชิ า ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จาํ นวน รวมทัง้ สิ้น
ท่ี 3 4/15 3
1 ว30221 เคมี 1
2 ว20202 โครงงานวิทยาศาสตร 1 3/5,3/6,3/7,3/11,3/13,36/14
3 I20201 การศึกษาคนควาและสรา งองคค วามรู 2 2/4,2/16 4
65 นางสาวศริ ิพร คําดีราช 4 ลูกเสือ 1 ม.3 1 18
5 ชุมนมุ 1 1
6 แนะแนว 1 2/14 1
7 PLC 2 2
1 ว30101 วิทยาศาสตรก ายภาพ (ฟส กิ ส) 3 4/2,4/4,4/6,4/10,4/15 15
2 ว30201 ฟส กิ ส 1 3 4/16 3
66 นางสาวนนั ทน ภัส พรมโสภา 3 ลูกเสอื 1 ม.3 1 23
4 ชมุ นมุ 1 1
5 Homeroom 1 6/14 1
6 PLC 2 2
1 ว30223 เคมี 3 3 5/7,5/15 6
2 ว30225 เคมี 5 3 6/9 3
3 ว32221 เคมเี ขมขน 3 3 5/9 3
67 นายทนงศกั ดิ์ นันทกร 4 I30201 การศึกษาคนควา และสรา งองคค วามรู 2 5/5 2 19
1
5 ลูกเสอื 1 ม.3
6 ชมุ นมุ 1 1
7 Homeroom 1 3/3 1
8 PLC 2 2
1 ว30225 เคมี 5 3 6/7,6/15 6
2 ว30223 เคมี 3 3 5/6 3
3 I30201 การศึกษาคน ควาและสรา งองคค วามรู 2 5/5,5/14 4
68 นางสาวกนกวรรณ ปองกัน 4 ลูกเสือ 1 ม.2 1 18
5 ชมุ นมุ 1 1
6 Homeroom 1 4/11 1
7 PLC 2 2
๓๕
บัญชแี นบทายคําสงั่ โรงเรยี นหนองบัวพิทยาคารที่ 217/2565 แตง ต้ังครปู ฏบิ ตั ิหนา ท่สี อน ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2565
ลําดบั รายช่ือครผู สู อน ที่ รหัสวิชา ชอ่ื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดับช้นั จํานวน รวมท้ังส้ิน
ท่ี
1 ว30205 ฟสกิ ส 5 3 6/7,6/8,6/9,6/13 12
2 ว30261 ธรณวี ทิ ยา 1 6/8,6/10,6/14 3
3 ว30104 วิทยาศาสตร โลก ดาราศาสตร และอวกาศ 3 6/12 3
69 นายภทั ราวฒุ ิ ฉววี งค 4 ลูกเสอื 1 ม.2 1 23
5 ชุมนุม 1 1
6 Homeroom 1 4/11 1
7 PLC 2 2
1 ว22101 วิทยาศาสตร 3 3 2/2,2/3,2/5,2/7,2/16 15
2 ลกู เสือ 1 ม.3 1
70 นางสาวพริ มพร วงสมศรี 3 ชมุ นมุ 1 1 20
4 Homeroom 1 3/14 1
5 PLC 2 2
1 ว22103 การออกแบบเทคโนโลยี 2 1 2/1-17 17
2 ว21103 การออกแบบเทคโนโลยี 1 1 1/1-3 3
71 นายสมโพธิ นามบัณฑิต 3 ชมุ นุม 1 1 25
4 ลูกเสอื 1 ม.1 1
5 Homeroom 1 ม.3/2 1
6 PLC 2
1 ว30293 ระเบียบวธิ ีวิจยั 2 5/12 2
2 ว31102 วทิ ยาการคํานวณ 1 4/1-8,12-16 13
3 ว20283 IPST-MicroBox 1 1 2/12 1
72 นางสาวสุกัญญา จักรโนวนั 4 ชมุ นมุ 1 1 21
5 ลูกเสือ 1 ม.1 1
6 Homeroom 1 ม.5/14 1
7 PLC 2
1 ว30288 การโปรแกรมเบ้อื งตน 2 6/9,11,13-16 12
2 ว20286 แนวคดิ เชงิ คํานวณและการแกปญ1หา 1/9 1
3 ว20288 การคดิ เชิงตรรกะ 1 2/9 1
73 นายพุทธพงษ เสวะนา 4 ว30295 โครงงาน 2 6/12 2 21
5 ชุมนมุ 1 1
6 ลูกเสอื 1 ม.1 1
7 แนะแนว 1 ม.2/10 1
8 PLC 2
๓๖
บญั ชแี นบทายคาํ สัง่ โรงเรยี นหนองบวั พทิ ยาคารที่ 217/2565 แตง ต้ังครปู ฏบิ ัตหิ นา ท่ีสอน ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2565
ลาํ ดบั รายชอ่ื ครูผสู อน ที่ รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดับช้นั จาํ นวน รวมทั้งสนิ้
ที่ 2
1 ว20285 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 3/12
2 ว31102 วิทยาการคาํ นวณ 1 4/9-11 3
3 ว30288 การโปรแกรมเบ้อื งตน 2 6/7-8,10 6
4 ว30288 การโปรแกรมเบอ้ื งตน 2 4/12 2
74 นายนฤดล พนมคาํ 5 ว30295 โครงงาน 2 6/12 2 20
6 ชมุ นมุ 1 1
7 ลกู เสอื 1 ม.1 1
8 แนะแนว 1 ม.2/10 1
9 PLC 2
1 ว32102 วทิ ยาการคาํ นวณ 2 1 5/1-15 15
2 ชมุ นุม 1 1
75 นายมานะ โดดชัย 3 ลูกเสือ 1 ม.1 1 24
4 แนะแนว 1 ม.1/10 1
5 ประชุม 4 4
6 PLC 2
1 ว23104 วิทยาการคํานวณ 3 1 3/1-17 17
2 ชุมนมุ 1 1
76 นายไอยรา เตอื นสกลุ พันธ 3 ลูกเสือ 1 ม.1 1 22
4 Homeroom 1 ม.6/10 1
5 PLC 2
1 ว20281 การใชคอมพิวเตอรเ บอื้ งตน 1 1/2-7,10,12-18 14
2 ว21103 การออกแบบเทคโนโลยี 1 1 1/4-8 5
77 นางสมคิด ชินนะ 3 ชุมนมุ 1 1 24
4 ลูกเสอื 1 ม.1 1
5 แนะแนว 1 ม.1/10 1
6 PLC 2
1 ง30101 การดาํ รงชวี ิต 1 ม.6/9-16 8
2 I20201 การศึกษาและการสรา งองคค วาม2รู 2/14-15 4
3 ลูกเสือ ม.1 1 ม.1 1
78 นางกนั ยพชั ญ ทองโคตร 4 ชุมนมุ 1 1 21
5 Homeroom 1 ม.5/10 1
6 ประชุมคณะกรรมการบริหารฯ 1 4
7 PLC 2 2
๓๗
บัญชแี นบทา ยคําสงั่ โรงเรยี นหนองบวั พทิ ยาคารท่ี 217/2565 แตง ตง้ั ครปู ฏบิ ตั ิหนาท่ีสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2565
ลาํ ดบั รายชื่อครผู ูสอน ท่ี รหสั วิชา ชอ่ื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จํานวน รวมทั้งสนิ้
ที่ 1 ม.2/14-17 4
1 ง22101 การดํารงชวี ิต 2
2 ง30101 การดาํ รงชีวติ 1 ม.6/1-8 8
79 นางกัญญา ภมู ิพานิชย 3 ลกู เสอื ม.1 1 ม.1 1 17
4 ชมุ นุม 1 1
5 Homeroom 1 ม.3/6 1
6 PLC 2 2
1 ง22101 การดาํ รงชีวติ 2 1 ม.2/1-13 13
3 ลกู เสอื ม.1 1 ม.1 1
80 นางกรรณิการ พาบุ 4 ชุมนมุ 1 1 18
5 Homeroom 1 ม.4/14 1
6 PLC 2 2
1 ง21101 การดํารงชีวิต 1 1 ม.1/1-18 18
2 ลูกเสอื ม.1 1 ม.1 1
81 นางสาวมัชญา ดว งคาํ จันทร 3 ชมุ นุม 1 1 23
4 Homeroom 1 ม.3/10 1
5 PLC 2 2
1 ง23101 การดํารงชีวิต 3 1 ม.3/1-15 15
2 ลกู เสือ ม.1 1 ม.1 1
82 นางพิศมยั ภวู นั นา 3 ชมุ นุม 1 1 20
4 Homeroom 1 ม.3/8 1
5 PLC 2 2
1 ง23101 การดาํ รงชวี ิต 3 1 ม.3/16-17 2
2 ง30213 มารยาทและการสมาคม 2 ม.6/1-6 12
83 นางสาวนุชจรนิ ทร พิกุลทอง 3 ลกู เสอื ม.1 1 ม.1 1 19
4 ชมุ นมุ 1 1
5 Homeroom 1 ม.3/13 1
6 PLC 2 2
๓๘
บญั ชแี นบทา ยคาํ ส่งั โรงเรียนหนองบวั พทิ ยาคารที่ 217/2565 แตง ต้ังครปู ฏิบัติหนา ทีส่ อน ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565
ลําดบั รายช่อื ครูผูส อน ที่ รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดบั ช้นั จํานวน รวมท้งั สน้ิ
ที่ 2 ม.2/1 2
1 ง20273 ชา งเทคนคิ พ้นื ฐาน 1
2 ง30273 ชางเทคนิคกอสรา ง 1 2 ม.5/1-2 4
3 ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 ม.1/9-18 10
84 นายพงศธร กลางหลา 4 I20201 การศกึ ษาและการสรา งองคค วาม2รู 2/13 2 23
1
5 ลกู เสอื ม.1 1 ม.1
6 ชุมนุม 1 1
7 Homeroom 1 ม.1/5 1
8 PLC 2 2
1 อ21101 ภาษาองั กฤษ 1 3 ม.1/4,7,14,17,18 15
2 แนะแนว 1 ม.1/4 1
85 นางสาวอรุณี คันธิยงค 3 ชมุ นมุ 1 1 20
4 ลกู เสือ 1 ม. 1 1
5 PLC 2 2
1 อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 3 ม.1/2,3,5,12,15 15
3 แนะแนว 1 ม.2/14 1
86 นางงามผกา อนิ ทปญ ญา 4 ชมุ นมุ 1 1 20
5 ลูกเสือ 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
1 อ21101 ภาษาองั กฤษ 1 3 ม.1/6,9,13,16 12
2 I20201 การศกึ ษาคนควาและการสรางอ2งคควมาม.2ร/ู 6 2
87 นางบวรจติ ภูมิพานชิ ย 2 Home room 1 ม.3/11 1 19
3 ชมุ นมุ 1 1
4 ลกู เสือ 1 ม. 1 1
5 PLC 2 2
1 อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 3 ม.2/4,7,13,16 12
2 อ20251 ภาษาองั กฤษเพ่ือการอา น-เขยี น2 ม.1/12 2
88 นางอรพณิ ศรสี วุ รรณ 3 แนะแนว 1 ม.2/13 1 19
4 ชุมนมุ 1 1
5 ลูกเสอื 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
๓๙
บญั ชแี นบทา ยคาํ ส่งั โรงเรยี นหนองบัวพิทยาคารท่ี 217/2565 แตง ต้ังครูปฏบิ ัติหนาทส่ี อน ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2565
ลาํ ดับ รายชือ่ ครูผสู อน ที่ รหสั วชิ า ชอ่ื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จํานวน รวมท้งั สิ้น
ที่ 9
1 อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 3 ม.2/14,15,17 6
2 อ30225 ภาษาองั กฤษเพ่อื การอา น-เขยี น2 ม.6/1,2,3
89 นางกมลกานต บวั พา 3 แนะแนว 1 1 20
4 ชมุ นมุ 1 1
5 ลูกเสอื 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
1 อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 3 ม.2/2,3,6,9 12
2 อ20207 การอา นเพอื่ ความเขาใจ 1 1 ม.3/2,3 2
90 นายชาคริต ผลธรุ ะ 3 แนะแนว 1 1 19
4 ชุมนมุ 1 1
5 ลูกเสือ 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
1 อ23101 ภาษาองั กฤษ 5 3 ม.3/1,2,3,4,5 15
2 อ30223 ภาษาองั กฤษเพื่อการอาน-เขียน2 ม.5/2 2
91 นางสาวภคพร วงศใ หญ 3 แนะแนว 1 1 22
4 ชุมนมุ 1 1
5 ลูกเสอื 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
1 อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 3 3/6,7,8,9 12
2 **EN20231Grammartical Usage 1 2 1/8 (NPIE) 2
92 นางสาวชลดิ า สมชารี 3 แนะแนว 1 2/8 1 19
4 ชุมนุม 1 1
5 ลกู เสอื 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
1 อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 3 ม.3/13,14,15,16 12
2 อ20253 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สารพูด 2 ม.2/12 2
93 นางจรภี รณ โพธอิ์ อ ง 3 Homeroom 1 ม.3/13 1 19
4 ชุมนมุ 1 1
5 ยวุ กาชาด 1 ม.1 1
6 PLC 2 2
๔๐
บัญชแี นบทายคําส่ังโรงเรยี นหนองบวั พทิ ยาคารท่ี 217/2565 แตง ตง้ั ครปู ฏิบตั หิ นาทส่ี อน ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2565
ลําดบั รายชอื่ ครูผูสอน ท่ี รหัสวชิ า ช่อื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดับชน้ั จาํ นวน รวมท้งั สิ้น
ที่ 3 3/12,17 6
1 อ23101 ภาษาองั กฤษ 5
2 อ31101 ภาษาอังกฤษ 1 2 4/1,6,9,12,15 10
94 นางสาวยุรดา ฝา ยพรหม 4 แนะแนว 1 ม.2/8 1 21
5 ชุมนมุ 1 1
6 ยุวกาชาด 1 ม.2 1
7 PLC 2 2
1 อ23101 ภาษาองั กฤษ 5 3 ม.3/10,11 6
2 อ21101 ภาษาองั กฤษ 1 3 ม.1/10,11 6
3 อ30245 การอานเชิงวิเคราะห 5 2 ม.6/12 2
95 นางสาวรจุ ิตรา ทองสา 4 อ30207 การอานเพอ่ื ความเขา ใจ 2 ม.6/16 2 21
5 Homeroom 1 ม.3/10 1
6 ชมุ นมุ 1 1
7 ยุวกาชาด 1 ม.2 1
8 PLC 2 2
1 อ31101 ภาษาอังกฤษ 1 2 ม.4/2,4,8,10,14,16 12
2 อ30243 การอา นเชงิ วเิ คราะห 3 3 ม.5/12 3
96 นางเพญ็ ศรี สุปญญา 3 Homeroom 1 ม.6/6 1 20
4 ชุมนุม 1 1
5 ลกู เสือ 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
1 อ31101 ภาษาองั กฤษ 1 2 ม.4/3,5,7,11,13 10
2 อ30219 ภาษาอังกฤษฟง -พูด 3 2 ม.5/2 2
3 En20233 Grammatical Usage3 2 ม.2/8 (NPIE) 2
97 นางสาวเพญ็ นภา ประธิปคุณ 3 แนะแนว 1 ม.1/8 1 19
4 ชมุ นุม 1 1
5 ยุวกาชาด 1 1
6 PLC 2 2
1 อ32101 ภาษาอังกฤษ 3 2 ม.5/1,4,6,7,9,12,13,15 16
2 Homeroom 1 ม.4/3 1
98 นางนภทั ร พิบูลย 3 ชมุ นุม 1 1 21
4 ลกู เสอื 1 ม. 1 1
5 PLC 2 2
๔๑
บัญชแี นบทายคําสงั่ โรงเรียนหนองบวั พทิ ยาคารที่ 217/2565 แตง ตง้ั ครปู ฏิบัตหิ นา ทีส่ อน ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา 2565
ลาํ ดับ รายช่อื ครผู ูสอน ที่ รหัสวชิ า ชอ่ื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดบั ช้นั จํานวน รวมท้งั สิ้น
ที่ 2 ม.5/2,3,5,11,14 10
1 อ32101 ภาษาองั กฤษ 3
2 อ30227 ภาษาอังกฤษฟง -พดู 5 2 ม.6/1,2,3 6
99 นายเดน ชัย วงษห าจักร 3 Homeroom 1 ม.6/11 1 21
4 ชมุ นมุ 1 1
5 ลกู เสือ 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
1 อ32101 ภาษาองั กฤษ 3 2 ม.5/8,5/10 4
2 อ33101 ภาษาองั กฤษ 5 2 ม.6/8,9,12,14,15,16 12
3 อ30219 Listening and speaking 2 ม.5/8 2
100 นางสาวเบญจมาศ ภาเชยี งคณู 4 แนะแนว 1 ม.1/8 1 23
5 ชุมนมุ 1 1
6 ยุวกาชาด 1 ม.1 1
7 PLC 2 2
1 อ33101 ภาษาอังกฤษ 5 2 ม.6/1,2,3,4,5,6,7 14
2 ชมุ นุม 1 1
101 นายสวรรค วบิ ลู ยก ุล 3 ลกู เสือ 1 ม. 1 1 19
4 Homeroom 1 1
5 PLC 2 2
1 อ33101 ภาษาอังกฤษ 5 2 ม.6/10,11,13 6
2 อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 3 ม.2/10,11,12 9
102 นางสาวกมลวรรณ ทองลน 3 ประชุม 4 4 23
4 ชุมนมุ 1 1
5 ลูกเสือ 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
1 อ20207 การอานเพอื่ ความเขา ใจ 1 1 ม.3/4-11,13-17 13
2 อ30241 การอานเชงิ วิเคราะห 1 3 ม.4/12 3
103 นางสาวจิรัชยา ศิรวิ รรณา 3 Homeroom 1 1 21
4 ชุมนุม 1 1
5 ลูกเสอื 1 ม. 1 1
6 PLC 2 2
๔๒
บัญชแี นบทา ยคาํ สัง่ โรงเรยี นหนองบวั พิทยาคารท่ี 217/2565 แตง ต้งั ครูปฏบิ ตั หิ นา ทสี่ อน ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2565
ลําดบั รายชือ่ ครูผูส อน ที่ รหัสวิชา ชอ่ื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดับช้นั จาํ นวน รวมทง้ั สน้ิ
ท่ี
1 อ30207 การอานภาษาองั กฤษเพ่อื ความเ1ขาใจ ม.6/1,2,3,4,5,6 6
2 อ30217 Listening and speaking 1 ม.4/7-8 2
104 นางออยอจั ฉรา สายนื 3 Homeroom 1 1 13
4 ชมุ นุม 1 1
5 ยวุ กาชาด 1 ม.2 1
6 PLC 2 2
1 อ30217 ภาษาองั กฤษฟง -พูด 1 2 ม.4/3,4,5,6 8
2 อ30221 ภาษาองั กฤษอาน-เขียน 1 2 ม.4/3,4,5,6 8
105 นางดลนภา พนั อะนันท 3 Homeroom 1 1 21
4 ชมุ นมุ 1 1
5 ยุวกาชาด 1 ม.2 1
6 PLC 2 2
1 อ21101 ภาษาองั กฤษ 1 3 ม.1/1 6
2 อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 3 ม.2/1,5,8 6
3 อ30231 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การทองเท่ยี ว 1 ม.5/2 1
106 นางสาวนพิ าพรรณ ขวัญแกว 4 I30201 การศกึ ษาคน ควาและการสรางอ2งคควมาม.5ร/ู 3,10 4 22
5 1
แนะแนว 1 ม.1
6 ชุมนุม 1 1
7 ยวุ กาชาด 1 ม.2 1
8 PLC 2 2
1 อ20211 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสือ่ สาร 1 ม.1/1-7,9-11,13-18 16
107 Miss Anna Bogdan 2 EN20211 English for communication 1 ม.1/8 1 22
3 อ20251 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 1 ม.1/12 1
4 อ30213 ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร 1 ม.5/1-4 4
1 อ20213 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 1 ม.2/1-7,9-11,13-17 15
2 EN20213 English for communication 13 ม.2/8 1
108 Miss Sarah Bogdan 3 อ20253 ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่ือสาร 1 ม.2/12 1 21
4 อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 3 ม.2/8 3
5 อ30213 ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สาร 1 ม.5/5 1
๔๓
บญั ชแี นบทายคําสัง่ โรงเรยี นหนองบัวพทิ ยาคารท่ี 217/2565 แตง ต้ังครปู ฏบิ ัติหนา ที่สอน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565
ลําดับ รายช่อื ครูผสู อน ที่ รหสั วชิ า ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดบั ชน้ั จาํ นวน รวมทง้ั สน้ิ
ท่ี 16
1 อ20215 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 1 ม.3/1-11,13-17
109 Miss Mariaan Freislich 2 อ23101 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 1 ม.3/12 1 22
Lombard 3 En30219 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 1 ม.5/8 1
4 อ30213 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 1 ม.5/6,7,9,10 4
1 อ30211 ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร 1 ม.4/1-6,9-11,13-16 13
2 En30217 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สาร 1 ม.4/7-8 2
110 Mr. Jeremy Cana 3 อ30241 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 1 ม.4/12 1 21
4 อ30243 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสือ่ สาร 1 ม.5/12 1
5 อ30213 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 1 ม.5/11,13,14,15 4
1 อ30213 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 1 ม.6/1-11,13-16 14
2 อ30245 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สาร 1 ม.6/12 1
111 Miss Pam Michat 3 อ21101 ภาษาองั กฤษ 1 3 ม.1/8 3 20
4 En20231 Grammartical Usage 1 1 ม.1/8 1
5 En20233 Grammartical Usage 3 1 ม.2/8 1
1 ต20211 ภาษาเวียดนามเพือ่ การส่อื สาร 1 ม.1/1-7,10,13-18 14
2 ต30211 ภาษาเวียดนามเพอ่ื การส่อื สาร 1 ม.6/13,14,15 3
112 นายฤทธิพร นามรัตสี 3 ยวุ กาชาด 1 1 22
4 Homeroom 1 ม.4/6 1
5 ชมุ นุม 1 1
PLC 2 2
1 จ30203 ภาษาจีน 3 2 ม.5/5 2
2 จ30205 ภาษาจีน 5 2 ม.6/6 2
3 จ30241 ทกั ษะการสือ่ สารภาษาจนี 1 4 ม.4/8 ( IJCK ) 4
4 จ30233 ภาษาจีนเขนขน 3 4 ม.5/8 ( IJCK ) 4
113 นางสาวรวสิ รารัศม์ิ เลิศ 5 จ30253 สอบวดั ระดับภาษาจีนHSK 3 2 ม.5/8 ( IJCK ) 2 23
กุศลธรรม 6 จ30211 ภาษาจีนเพื่อการสือ่ สาร 1 1 ม.6/9,6/10,6/11 3
7 จ30211 ภาษาจีนเพ่อื การส่ือสาร 1 1 ม.4/4 1
8 ชุมนมุ 1 1
9 ลกู เสือ 1 ม.1 1
10 Homeroom 1 ม.5/8 ( IJCK ) 1
11 PLC 2 2
๔๔
บัญชแี นบทายคาํ สั่งโรงเรยี นหนองบวั พทิ ยาคารท่ี 217/2565 แตง ตั้งครูปฏิบัติหนา ทส่ี อน ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2565
ลาํ ดบั รายชื่อครผู ูสอน ท่ี รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดบั ชน้ั จํานวน รวมท้งั สิ้น
ที่ 2 ม.5/5 2
1 จ30213 ภาษาจีนการฟง -พดู 1
2 จ30223 ภาษาจีนการอา น-เขยี น 3 2 ม.5/5 2
3 จ30215 ภาษาจีนการฟง-พูด 3 2 ม.6/6 2
4 จ30225 ภาษาจีนการอาน-เขยี น 5 2 ม.6/6 2
นางสาวปย าภรณ จรัส 5 จ30231 ภาษาจีนเขม ขน 1 4 ม.4/8 ( IJCK ) 4
สมบรู ณ 2 23
114 6 จ30251 สอบวดั ระดับภาษาจีนHSK 1 2 ม.4/8 ( IJCK ) 4
7 จ30243 ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาจีน 3 4 ม.5/8 ( IJCK )
8 Homeroom 1 ม.4/8 ( IJCK ) 1
9 ชมุ นมุ 1 1
10 ยุวกาชาด 1 ม.2 1
11 PLC 2 2
1 ก30251 สอบวดั ระดับภาษาเกาหลี Topik2 ม.4/7 ( IJCK ) 2
2 ก30231 ภาษาเกาหลเี ขมขน 1 4 ม.4/7 ( IJCK ) 4
3 ก30203 ภาษาเกาหลี 3 2 ม.5/3 2
4 ก30213 ภาษาเกาหลีการฟง-พูด 1 2 ม.5/3 2
5 ก30205 ภาษาเกาหลี 6 2 ม.6/4 2
6 ก30215 ภาษาเกาหลกี ารฟง -พดู 3 2 ม.6/4 2
115 นางสาวทรรศิกา ฤทธวิ งค 7 ก30225 ภาษาเกาหลกี ารอาน-เขียน 2 ม.6/4 2 24
8 ก30211 ภาษาเกาหลีเพ่ือการสอ่ื สาร 1 ม.6/5,6/6 2
9 ก30211 ภาษาเกาหลเี พ่ือการสอ่ื สาร 1 ม.4/3 1
10 Homeroom 1 ม.4/7 ( IJCK ) 1
11 ชุมนมุ 1 1
12 ยุวกาชาด 1 1
13 PLC 2 2
1 ท21101 ภาษาไทย 1 3 ม.1/1,5,9,14,17 15
116 นางสาวณฐั กานต เหลา 3 ชุมนุม 1 1
ประเสริฐ 4 ลูกเสอื 1 ม.3 1 20
5 Homeroom 1 ม.4/5 1
6 PLC 2 2
๔๕
บญั ชแี นบทา ยคําสงั่ โรงเรยี นหนองบวั พิทยาคารท่ี 217/2565 แตง ต้งั ครปู ฏบิ ตั หิ นา ที่สอน ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2565
ลําดับ รายชอ่ื ครผู ูสอน ท่ี รหัสวชิ า ช่อื รายวชิ า ชม./ส/ภ ระดบั ช้นั จํานวน รวมท้งั สิ้น
ท่ี 2
1 ก30211 ภาษาเกาหลเี พ่อื การส่ือสาร 1 ม.6/7,6/8
2 ก30222 ภาษาเกาหลีการอา น-เขียน 2 ม.5/3 2
3 ก30233 ภาษาเกาหลเี ขม ขน 3 4 ม.5/8 ( IJCK ) 4
4 ก30253 สอบวดั ระดบั ภาษาเกาหลี Topik2 ม.5/8 ( IJCK ) 2
117 นางสาวบุญญานิตต์ิ เสียมภู 5 ก30241 ทักษะการสือ่ สารภาษาเกาหลี 4 ม.4/7 (IJCK) 4
เขยี ว 6 ก30243 ทกั ษะการสื่อสารภาษาเกาหลี 4 ม.5/8 ( IJCK ) 4 24
7 ก30211 ภาษาเกาหลเี พอ่ื การส่อื สาร 1 ม.4/1 1
8 Homeroom 1 ม.5/8 ( IJCK ) 1
9 ชมุ นมุ 1 1
10 ยวุ กาชาด 1 1
11 PLC 2 2
1 ญ30233 ภาษาญป่ี นุ เขม ขน 3 4 ม.5/8 ( IJCK ) 4
2 ญ30243 ทักษะการสอ่ื สารภาษาญ่ีปนุ 4 ม.5/8 ( IJCK ) 4
3 ญ30253 สอบวัดระดบั ภาษาญีป่ นุ JLPT 2 ม.5/8 ( IJCK ) 2
4 ญ30231 ภาษาญี่ปุนเขมขน 1 4 ม.4/8 ( IJCK ) 4
5 ญ30215 ภาษาญปี่ นุ การฟง -พดู 3 2 ม.6/5 2
118 นางคงหทัย แสวงสขุ 6 ญ30205 ภาษาญ่ีปุน 5 2 ม.6/5 2 24
7 ญ30211 ภาษาญป่ี ุนเพื่อการสอ่ื สาร 1 1 ม.4/5 1
8 Homeroom 1 1
9 ชมุ นมุ 1 1
10 ยวุ กาชาด 1 1
11 PLC 2 2
1 ท21101 ภาษาไทย 1 3 ม.1/2,6,10,12,18 15
2 ชมุ นุม 1 1
119 นางสกาว แหมงปง 3 ลกู เสือ 1 ม.3 1 20
4 แนะแนว 1 ม.2/5 1
5 PLC 2 2
1 ท22101 ภาษาไทย 3 3 ม.2/1,5,7,11,13 15
2 ชมุ นุม 1 1
120 นางสาวโนรี ในจติ ร 3 ลกู เสอื 1 ม.3 1 20
4 Homeroom 1 ม.3/11 1
5 PLC 2 2
๔๖
บัญชแี นบทา ยคาํ สง่ั โรงเรยี นหนองบัวพิทยาคารที่ 217/2565 แตง ตัง้ ครปู ฏบิ ตั หิ นา ท่ีสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา 2565
ลาํ ดับ รายชื่อครูผูสอน ท่ี รหัสวิชา ช่อื รายวิชา ชม./ส/ภ ระดบั ช้นั จํานวน รวมทั้งสนิ้
ที่
1 ญ30223 ภาษาญีป่ นุ การอา น-เขียน 3 2 ม.5/4 2
2 ญ30213 ภาษาญป่ี นุ การฟง-พดู 1 2 ม.5/4 2
3 ญ30203 ภาษาญป่ี ุน 3 2 ม.5/4 2
4 ญ30251 สอบวดั ระดบั ภาษาญปี่ ุน JLPT 2 ม.4/8 ( IJCK ) 2
5 ญ30225 ภาษาญ่ปี นุ การอา น-เขยี น 5 2 ม.6/5 2
121 นางสาวศวิ าการ หาวหาญ 6 ญ30241 ทกั ษะการสือ่ สารภาษาญ่ีปุน 4 ม.4/8 ( IJCK ) 4 24
7 ญ30211 ภาษาญป่ี ุนเพ่อื การสอื่ สาร 1 1 ม.6/1,6/2,6/3,6/4 4
8 ญ30211 ภาษาญี่ปุนเพือ่ การสอ่ื สาร 1 1 ม.4/6 1
9 Homeroom 1 ม.3/9 1
10 ชมุ นมุ 1 1
11 ยวุ กาชาด 1 1
12 PLC 2 2
1 ท21101 ภาษาไทย 1 3 ม.1/3,7,11,15 12
2 I20201 การศึกษาและสรา งองคค วามรู 2 ม.2/2 2
122 นางอรุณวดี วงษพ มิ ล 3 ชมุ นมุ 1 1 19
4 ยวุ กาชาด 1 ม.3 1
5 แนะแนว 1 ม.2/4 1
6 PLC 2 2
1 ท21101 ภาษาไทย 1 3 ม.1/4,8,13,16 12
3 ท32101 ภาษาไทย 3 2 ม.5/5,14 4
123 นางสาวรจนา เนอื่ งมจั ฉา 4 ชุมนุม 1 1 21
5 ยุวกาชาด 1 ม.1 1
6 Homeroom 1 ม.6/13 1
7 PLC 2 2
1 ท22101 ภาษาไทย 3 3 ม.2/2,9,12,14 12
2 I20201 การศกึ ษาและสรางองคค วามรู 2 ม.2/2 2
124 นางสิรยิ ากร ชยั บุดดี 3 ชมุ นุม 1 1 19
4 ลูกเสอื 1 ม.3 1
5 แนะแนว 1 ม.1/4 1
6 PLC 2 2