The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Thai Composites Magazine No.8
June-December 2020

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaicomposites, 2020-08-21 03:23:12

Thai Composites Magazine No.8

Thai Composites Magazine No.8
June-December 2020

Keywords: Composites

www.fiberglassthai.com นติ ยสารไทยคอมโพสทิ

ThaiComposites
ฉบบั ที่ 8 มถิ ุนายน-ธนั วาคม 2563 Issue 8, June-December, 2020
ภายใต้การก�ำกับดแู ลของ สมาคมไทยคอมโพสิท

สมั ภาษณ์พเิ ศษ

เปิดวสิ ัยทัศน์

นายกสมาคมคนใหม่

รศ.ดร.สนตพิ ีร์ เอมมณี

เรอื พลงั งานแสงอาทติ ย์

(Solar Powered Catamaran)

C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K

Your Local Partner of Composite
Fabrics for Ultimate Strength
and Beauty

STOTRGOETNHGEERR

Carbon . E-Glass . Innegra . Aramid

MNEulWti-!A!!xiCalasr.bUoDn .aWndovGenla.sTsapPere.pWreegavseset

ผูออกแบบและผลิตผา คารบ อนและใยแกวหนงึ่ เดยี วในประเทศไทย
สนิ คาพรอ มสง

: 038-573-635
: www.ASKN.co.th



WWW.FIBERGLASSTHAI.COM 5

EDITOR'S TALK
หลายๆ ท่านได้ผ่านเหตุการณ์วิกฤติเศรษฐกิจในปี 40

EDITOR TALKน้องๆ คงยงั อาจจะไดเ้ พยี งแค่อ่านถงึ มนั ในบทความเกา่ เหมือนหนา้ หนึง่ ในประวัตศิ าสตรใ์ น

ยคุ ท่ปี ระเทศไทยเกือบจะได้เป็นเสือตวั ท่ี 5 แห่งเอเชีย ตาม ฮอ่ งกง ไตห้ วนั สิงค์โปร์ และ

EDITOR TALKเกาหลี ทม่ี ีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงสุดในชว่ งนัน้ มีความตอ้ งการทางการเงนิ เพือ่

ข ขการลงทนุ (และเกง็ กำ�ไร) พุ่งข้นึ สงู รัฐบาลจงึ ไดเ้ ปิดเสรที างการเงนิ หรือวเิ ทศธนกจิ ทำ�ให้มี
การกเู้ งนิ ผา่ นสถาบนั การเงนิ ตา่ งๆ ในรปู ของเงนิ ดอลลารอ์ ยา่ งมาก เนอื่ งจากอตั ราดอกเบยี้
ที่ถูกอกแวส่าดองยค่าวงาไรมกย็ตนิ าดมกีเมบั ่ือคจณุีนเรด่ิมนเปู โชิดตปกิระพเทาศนในชิ ชท่วไ่ี งดนร้ ้ันบั ไทกยเารริ่มผเสลียติ ตลแลาดะวสัส่งดอุคออกมทำ�โพใหส้ดทิ ุลใกหามร่ๆค้าขอทงั้ ใไนทยปตริะดเทลศบหแลลาะยตป่าี ง

ไซวึง่ ว้ ทา่าจทปจองนในี่ึรงิตัดจไัฐเคดรตพจใเบาา่ลช้ัวหา่ิมแเางก่วือเ้ดลขลปนิยหกก้ึนำาไ็นบมผนรเจเจปทา่สลำ่วงาท�ล่าายักตกนใตมยี่ นงดาำควัวานตาแรนนัณทพนลหถมใี่เุง่าหภกนะใาดชขก้ทินากง่ ซ้ทตน้ึ ครากนง่ึ ุนาไ่งรรวเปทางพสสฐั่ามำแา่ยป�มรหนเตกรปกราาลไะะอ็นดาะสจคเาใอเลทงรลช้อหยมุดมแูกศร่วสือย้ดๆสสาฯะหอยกม่าคาำูงหดนอ่ผงธรจสาวงม้ีสนไลุงราคุด่ามไฯลูงักตกดกงทวม่จงปดิำาจค้เ่ีาเปไ่าปม5แรนัทมจอณย็นหาะ0น็ใะยาแเหกทนะรททวนิลกคท้พกับง่่ีรศิเาดะรชาอนวภู้จอตมรงกีร่น่าามักาทัวาสะบบัมรยพทจ่ีโเมาะพอกกคะย่สีไกทาเหงาสปคณุสแุงอรรวลกตมดิมคิทมงดสะ็ไ่อาฯโ่ามอเนมคเหปง่มกูามนโ็นินเใปีชเชคานไึ่งงฯทบรสดตีย่มฉดิน่ีมาะใเ้กิวเปหไบเอทจปทาทพช็นม้ขบัตล่าน็ศยาทกยีอานลาวคญนยรี่าหงา่เ้ีารรรอ้จูรชติคนรใวำาโน์จมกั จัว�ี้ะตทจมสทาพโไมไ่่ีาพะกดดา่สีปไูดงตดอ้อขสแร้อปถเีลกาอ้ัตีกบิทั“งรงึะนไง็ร่าตะบมกนัน้าเ่อำ่ทมทเกปเ�ภๆดชไีศคไปราริมายี่โไเวรแดะมคอชวเลผา2ท่หยต่ัตนชมะลศ5นาเรกปอ่ฉอิตญาีันรขบพรน่ืแไะอใมาวลแกนๆาทอลงม่จกะาสทบตะยไศ่าเาวปปยีเ่ทอ่่าลขกสัถลง”หคาอี่ยดงึย่ีไนนวรยบสคุวน้ันึง่ากตทถขอสๆมด็ต้อัวคมาว่ อโบาควโงดนพลมันทา่ายตลมเสสก“ี่เงเขา่ฉ่าบอทิถางินยีรพร่นืใาทบห์มนเนๆภางบามาขะกทาินทถาๆ่้นึราทตเ่ีงึทกำโะร�ดจห้อข่ียณใทดุหนยงอวัง้้ี้์ผขงใ้อนู้ งปทรีเ่ะขเทียศนขแน้ึ
กเตเเสผชพป่งาลลอื่น็ ื่อเรอสิตมตสอข2ปนเเขอรณดรโภก้นกง่ยบ้าออรมิอย3ปย่ีษเัณนสงระงตงา่อกีวตวนพงมรปเกอุตจฑศ2ขัตรวมิผีกาัฒนงราสอ้5์ริกดรกา่า่กาไนษางปู5หผานยนรานนั้ฐหรกผ9ลแไๆลาผรป้ีไกจกบนัับมเอกิตกพรลพจิาอรบไ่ทุตเ็ขาือ่กดติชกบฒัวรยรตอ่ีผสกย้คน่จชิากมฟไู่ า่งนรมา่ารไ่ากเ้นิปกนื้รงหนปเ์ะท่าางทงนถาาๆตรกกมรากินทราบักึงงะัวดาราเเสเกตไผขรนกุพชปบเไวกดใทขราป้รง่ดาลลนะื่อๆ็นาว้ตดนาือ่นอศผเรทททมอสกทติสรมตาทลสว้ตองมป่ีรลคาดรงท็กทง่โภน้อ่ง่อเยยบรงผีรวใิตนิมสศปาอ่ี่อจเัณเงีสดสงะรงกงคมอลาำีรสชฯจ่อเพรมหมอปทนรุตากษรฑ2าลรนมิกถนาฒัชุตยี่อื่ีกักรสฐร5ร์ใา้ฯตกคหกาูงึ่นงวงะสหากงูป5มนรทัวา2ผ้กมตทหแจานาเจิ9แแวาผรมบตล5นกุกบฯบั่อหลกั่วลอจพิธลอ่ืจง่เ5ภรสกบเทรกยะมทุตึงติตพกีแไฒัารา9รง่ยตงา่รเดี่ผอืสวบกิมคชปามดูเะานังรส่านาา่้พทตัรทกบโสน้ิน็นำถครงสหนมสรา�ถบาวูด่ภตไงแๆงงึกกใมมปรง่ิมกลจดุนาหถาทง่ามาราสอาอรกนะาแบิค้งึกางอแร่ชยรกีง่กอตะยตนดาลกแรๆาผททงมิกองักจิกกร่า่ทรลฐัะา้วเรลาจงอหอากทรลรสบเอยโงปวติรสระดะอสนกย่ีรง่ทงสดเกทงร็นวาำพแยค่งททฟว่วรอมกุปนะลบรอดอทบ่ตีนุมม่ิยือฟาออุตีกัเไระยใเรปทอี่าคหรกยสศิกงม่าดาท2งั้็ว้กมกลาางา่นกวขสสี่5นโจว-ลโยรฯับงหสงกึพลดิธอเสอถว5ทสาำะจทกนัรูงสโับเงแียเาสงาม9ยอง่ใี่ยา่าารปตบดชบมหจสเกนทิไงังยีรสอ็นC์บใ้ปุนัคากวะ่คสนสใมใรดผานยแสไถตนแกoนอมถรงสวลทมิลทไึกศูงงึาท่าvมเปราาาอ้ิเกะมะปรชนี่ทภชงแiนย.บชยกีัง้ถมยdาลเน็น่ๆโ้ึน่พีา่งอกิกกังทจิรงึพยะ-า่พตสนดิจแหัก1ตุกาาลสบงาวัลไนรระแสกนรคร9งาดสนนาเจลพผณแะใยคทิว่รรท.นทไ้าา่จกลยะกสัมลกกนุมมมิ่ยอืหธตงใต์ะานรนน่ชตินาัCารุรกดิ่สอตรัดนปแตอกำลoรแตลบ�์จยโล-วโใอนัจจกีิพิงพนโพดครvบสะนิาาำดะนัสกัจุตทคทนฉเญัมiยคมเาา้สอรีปตdยเดุบแกี่รุนนบหา่สพกเิทใยี์น็ทก์-ขเงั้นเุ้ันรูคผกบัจฉง1าใราดผแก็อไจนเมู้ตนอราิวพรอลู้บหา9วทศซจงทกะารอี้เ้อจบะมรมกิรก่นีมาอี่.บงิ้งั้กตมขยราหินนิาโะฤมา่ันอทตรุทกยพยใอ่าจวา่าทสดตนจตุณกุสบงตรรงา่งิะงมนีแ่สคิรภไะสนปนราาา่ไลมฝดเถใีปฯิหทง.รทกปูา่าาจยรพส้ว้อายึงลปงั้กหกตใคตท่ียแะนกนนา่อลนเฯรการบดิวตที่่อทตนปแตคะนโทังี้รนบา่ตลโรเำ่า่อศ์ภคอัจยทงมิพงโ�ารเยะนงาดดนกือจผาุใาตจศนคงหมมหแรีไคยนนมิุบ็มี้แไะลมา่ดสลตกรเใ้ป์ไตเทกนนัลรใีเตฉติาดมาาเ้าขนขถกเกอ่ดบ้มูิกตมพรอหผ์ใก้อ้าสงึรรๆขาจกหนอบมมกลาลงทา้ว่กอิน่รลาะนนิอะเนมาวทรทา่ปกุรนยใงวนาทสนอวัสณนาหกุบรนแ็ยส่ิงขมาำีแู่งงภลาใดไดหทสลมทาิ่งอคถนีปเหกะาพปทลุคต้วคค่วเ่ียงยงึวรกราคาท็กนนกุัวอวัออลรรตาาาาาวตท่ี คานังุตมมนยนา่”า่่อมงงาเยนดนาจคไนนิมี้ะดตไลใตด้เข“นกมบ์ใก้อสรนทลง่วิน่ อว่าบนนวัสนแาขำา
มกีจิกการรปควรรอื ะามอมงกุตาตณาสารหรอ4กาบร-ง5รรกมมเาดตใรหอื อ่ ส้เนขเอรทม้ อืนผมกี่ขไปีิจกา่น้ฟนกรามเมบรระาจาวอรกำามรจยเง์กกดางิ่ตกลาือขารชาึ้นนรอสว่ ใาไงบสนวงำเร�ปร้อกหมม่ิีายรใตรห่าบั2สน้เ้งบข5อขหม้ร6อนลขร0งป้นาทกรกมกุ าะโหานดรจกลักรำายยะเทาดไบง่ิดยอ่ ือขา้งด้ึนนเจใไทน(วนคย่ี ป้ออถวณุ ียกงึ ข่า2จโป้าบง5าจมั หท๊ ก6จเกล)น0บุ าาน้ันัะกหตอโหดนุ้ท่าตุ ลงยสาสาๆงไว่ หดยสนรก้ มะผรยาน(รู้จะคคอมถัดณุมกคัดกฯจอโมาบามราย๊ทกเโลงั)พนก็ไหสั้นดหนจทิ ้ นุ้ทอ้ กทคสายโี่.ดง่วณุเรสนนน่ิมมรผผาเาฐั ห้จูลวคนัด็นกามนัเกกรลฯทะาาียทรร์ยนบอลังหคดนิไหดนอลทจ้กัมงรกทคขโน.พส่ีุณอวิ ดุนงสาราิทสฐั วนานัเลทยี ์ นอคนิ อทมร
อาทิเกชาน่ รผลคติ อแลระ์สซออ่ บมรถมงั กเคอามารีทผจเิ ชาลก่นิตกปารคะลตอดูไรกฟำส์ �เอลบบงัอกรรมา์กรกลผาารลสผติ ลขิตอปชงโริ้นระงตงไู ฟเาจนเา้ บตขอา่อรงงก์ๆรลแาาลงสวะจัลำ�ผนชลว้นิ งนาโรนเงจยง้าอาขดนอใเงยหรม่ียาห่มงวรลัอื ผขจลยางากยางนโารยนงองดานเยSเ่ยีกoมา่liทdลี่Wดจoลาrกงkงsาน SolidW
ตสว่่างนๆปอจราาคกะอดานุปรบั ี้ไสกปยงูรเนรอณตานื่ จ์จ์จๆะาัดเกทหส่มีค็นวีแาแนนรนวสตบ์วโว่่าอโรนงนนว้มๆ้ปมไมลฟรขไดะปอเอดบลถุปงับงอึงกคดยรนรวนว้์ ำ้าณาตยตเมฟจ์เจ์ ชกตาดัอน่เก้อทสรกคงยีว์นันากนมิเรจาอ์บอรนัอรขรซนวอ์รบัไมปูงฟซไแถปเบอ้บังถอนบนึงรน้�ำ์ แ้าำ TTตลเฟhhกะถอaaเทรัiiงียน์UบSำมิเ�sจoอบeอcนััดrรiซeท์รCับtูป่ีจyoซแะบอ้nลมfนบดeาลrเขeงTTยีnจhhcนาaaeบกii ทงU2Sาคs0oนeวc0กrาi6e่มอCtyแสoโบดnรง่ยมf้าeปาสงrเันคขeถคยีnอาcนวบนeบาันโมดท2Sรคม0o้ใูวิเ0นนlาi6เdียมรWแอ่ืมโบดงแo่งยกลปrสาะkนั ถรsคาวบาันมSรoูใ้ นliเdรWอ่ื
ดทมคทวขแวอา่า้ัม้วงาดนรนกงยฯวสสวี้เทรใคขลผททใมพนหำำงมัาสะอ�ม่ีา�่าลาคยง้สบปงื่นรอาดคีงยติา่ภะอสาชรถฉสผสยุณทุคภใกามกึมกินือบ่งั้นตี่จลวัณอนษโาภเเหัแบ่อพะะิตสอคไ้ีมาเใาปลฑลชชกนทภรมาพสโดะ์เน่เพเ้าาา่้ีัณกิแมฯรอปปิทว้รนลนรกะ็งเกส็นน็ใยไยปผวฑะที้นเดหแิเโอทหากะปม็นป้อูา์คลป้รลยรงนนทงัไ็นรกสะับอรปาาพมทกงึ่่ีสะกวาใ่กะวมยถกีผหใมีรเสัฒานทาานโงึออม้ะบูทมรคทขดวแ้เพมใรรบสชศวนกหบกีุวนตอราา่ั้มส้วงาชาสี่ยวื่อดไากกนรนามรนกงยฯทนารส่วิทนวรหวาณาสสวถึ่ี้แเงมับยถยชาพทรพชรกงลลมัาสขึงาส่วหไปพคไน่ีผาาาฒัื่รอักแปะาดดอยญธนยรนกออรำัฒาชลฉสใยเ้ทุคใงผกินุรปนนวไมะกิอรนิตบ่งดังจ่ีปชกอักานนใ็โาลกโรเกหนนัใเบพะ้ารคสาสหิมษจนอาิตใานมม้ดลขแสชนณุธรสลราโกปยรบวพอเ้าภา้แ้ีัมสกิแุมรปิท้่าาใา่รรนลกภิชกบหเาภกพ็งเกสสกงน็ใปะประพตานา่หผผข้ดเาิจสิเทมหาาน็กพทนัป็นม่าปวพ้อลู้รเีรสลขนรทากงาพ็นศสธสะรหำพาจมพอรชิตนึ่งแี่รๆส�กนิไอ่ื่ะถ์วยลนทใวลูลิกงเัฒัคฒาใภนทาคในงึแตอจักข์ดยหทงัขมแร์สชศา้ัณศลหนลุ่อนตอใทา่พ้ล่าจชอขาจื่อ้ิไนะักานนวะทไางรสั่อ้่ววะอวยผฑหปใผงเึ่แยงเสหกยถยากมปา่ไอง์ใู้ลทลาู้สขปทงภาหก้หลไปนเใส็นงักป่ีะมนรอนรต้งับั่มุอ้กอกราำาแมผใยาีปไกงกใใอ่นพไะผอีอลรบกัดนบจังปาชกรลาาเกตุระกรปู้นเ้ระราสิหิตจพาสรมสรแสอื่ทอลรกภรำบัฒลบะตอทอไสผผาแัมง�อ้่าาทใกรัณหกเบุงหกนอยส่ีพจูล้้อสปงกนทอยรร่าผผข้าส่งดัใกา่มติา้งแฑนังนั้ามบจครร้อหบู้สลงเราสแทสภดธ์คมณหไกอมนมบบชิตนกรด่วรำาา้์ถณัอทลาลูมิกา้มีบคนาใภหน้ใ์ตมิรงึย่ีดจมักชรขหแโาเก์ฑชัเนณศอขรรพลทททา่ทกีโ้เขใริ้าปนพอ์งอักหังตุือวะคา่ั้ิงจ็วอสรสฑอืผใ็นสงงน่ืยงท้สสสสโหนอไะง์นิทในนาู้สธอืปอแดภาทหิาา่าำรสกอนบันมนโำารหรุนหอุ้ตึงกาีค่ลือมากไไสวากใใกพขดีปไรกรัดสนยบุจณลกาแอดทนจิำรอผดูับใาี้บา้�ยช้อขราุนหภกจยคคลบงเ้มอา่า่ไตอผทใสผอกปาัดลวคิตนทหใงนพกคงนยอ่สีจูล้อ้รน็นขา่าตชลมทยตพอรอมร่งัดใสกา่ติงวผยแิ้นจ่ฉึงคดิ่ัว่อะงเยนวมมสูแงทคสภะบกลไงบอไนบตเทดก่าโโวนนปราำาำัณวาิตพดนับัม้ีมบงา่ีถหเเ้ใทิมวในื่อนรปชหจหยโไเสมาตเฑนกูรรพดา่าคางก้เ็ในรนจรทิปอ์อ่หทังืออืงตใอ้สสาอืมวา้หาท็นสน่ืใ“้ทเกสุรใ้อแเนมนนกิทครนหิมขทต้กอืลกุแท่าผำาคงับนโม่ือหรกาาำอ้เในา้หรทะบัพี่คปนลหไจับสวตานงยาผขบตปไรา่ลทสป็นติอด้ผะแทนรว่นอชินบัคใล่อย้านา่ิทรยไช้อาุนพ่ยกอกมยปค้ีทนุณสะงัน่แนง้เ่าา่ปงสลาดกคนตฒัไ่ีคท่ิใสงงนผอสรดนาน็”บา่ตลทตาแางบมอนเถมนวค้ผนแผลรงึดินวมว่ัจ่อทยนาสราคใอืกลาอืจลไดตนเดัหชนุกฐั่าวนปาำแาำกภิตนัดักสงาลฐลิกหหกลทฯวด่ือำาไเมตใ�ทร้าอักแด่าะาาารชง้าพรแเขล่อนรืองราำเนใว้แม้บักนลอลหอใล“ว้วณเจ็ใะแเทตันนททราะหอื้ขทอกัตก้ลใพะาทเี่จถอ่ืรหกา้ังอสุก้เท้า์หยะษบักรัวปงั้จตะงดทุบยตท้าบรทา่าาทณสแแใ็นใะแริชหบนนิกุ่ีกถมิกับทนวคดยน่าา่าไพมป้ี้์นณุูกบนนันทงัรน่ๆี กตัฒคสผี่อ”าางมมนนรมจาสใาจนดัหชาำกดั ฐลิกหหาทาักแารรลนาำเแับกนอลว้วะทาื้ออตพะา
รวมถงึ แนวโนม้ การพัฒนา ทง้ั การออกแบบ เทคโนโลยี ใหม่ฉบับหน้าครับ

สมาคมไทยคอมโพสทิ จุติ เพยี รลำา้ เลศิ

อาคารปฏิบัตกิ ารไฟเบอรก์ ลาส ซอยตรีมิตร กล้วยนำ้� ไท ถนนพระราม 4 จุติ เพียรลำ้าเลิศ อปุ นายกสมาคม
แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110
โทรศพั ท.์ 0-2713-5033 โทรสาร. 0-2713-5032 อปุ นายกสมาคม
E-mail : [email protected] www.fiberglassthai.com
facebook: www.facebook.com/thaicomposites2538

TCA - ThaiComposite Magazine #5.indd 5

TCA - ThaiComposite Magazine #5.indd 5 13/5/2560 16:13:33

CONTENTS

บทความในวารสารเลม่ นีแ้ ปลและเรยี บเรยี งจาก JEC COMPOSITES MAGAZINE

Editor’s Talk 5

7คณะกรรมการบริหาร ปี 2562-2563 Board of Committee

8Special interview สัมภาษณพ์ ิเศษ เปิดวิสัยทัศน์
นายกสมาคมคนใหม่ รศ.ดร.สนตพิ รี ์ เอมมณี

ความสวยงามของไม้ 10
ด้วยประสิทธภิ าพของวัสดคุ อมโพสทิ

12 เทคโนโลยีการผลิตแบบเพิ่มเน้อื วัสดุ
16 (additive manufacturing) ในสเกลใหญ่
ของเทอรโ์ มพลาสติกคอมโพสทิ

วธิ กี ารผลติ ชนิ้ งานคอมโพสทิ ด้วยระบบแว็คคมั่
แบบใหม่ รวดเร็ว ราคาถูก และใชซ้ ้�ำ ได้

20 การจำ�ลองทางวศิ วกรรมการร่อนทไี่ ปได้ไกลกวา่
และเร็วกว่า

เสน้ ใย Diss grass: วัสดุเสรมิ แรงแบบใหม่สำ�หรบั 24
วสั ดคุ อมโพสิทชวี ภาพ (bio-composite)

Solar Powered Catamaran 28 เรือพลังงานแสงอาทิตย์ล�ำ แรก
ของประเทศไทยท่ีผลิตในเชิงพานิชย์

สมาคมไทยคอมโพสิท
อาคารปฏิบตั ิการไฟเบอรก์ ลาส กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม ซอยตรีมติ ร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110
Thai Composites Association
Fiberglass Lab Center, Department of Industrial Promotion. Soi Trimitr Rama 4 Rd., Klong Toey, Bangkok 10110 Thailand.
Tel+662 713 5033 Fax.+662 713 5032
Email. [email protected] Website. www.fiberglassthai.com
facebook: www.facebook.com/thaicomposites2538

WWW.FIBERGLASSTHAI.COM 7

BOARD OF COMMITTEE

คณะกรรมการบริหาร ปี 2562-2563

ธนชัย อำ�นวยสวสั ด์ิ ผศ.ดร.สนตพิ รี ์ เอมมณี
นายกสมาคมฯ
อปุ นายก
จตุ ิ เพยี รล�้ำ เลศิ

อุปนายก

ณัฐวฒุ ิ ชัยญาคุณาพฤกษ์ ณัฐไชย นะวิโรจน์ อทุ ัย จารปุ ราโมทย์ วรางค์ศริ ิ ศศทิ ววี ฒั น์ สภุ าวดี คุณรัตนาภรณ์

อุปนายก อปุ นายก เลขาธิการ เหรญั ญกิ ปฏคิ ม

อรอนงค์ ใจเยน็ รัฐนนั ท์ อนิ ทรนวิ าส ธวัชชัย จารกุ จิ จรูญ ชัยพล เขมปญั ญานุรักษ์ อธษิ ฐ์ จริ พงศานานรุ ักษ์

ประชาสมั พนั ธ์ นายทะเบยี น กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ประพิณ เพ่มิ อารยวงศ์ สายพณิ พันธเ์ พง็ ธนวตั ติสนั โต ดนนท์ โชตกิ พนชิ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

8 THAI COMPOSITES MAGAZINE

ความรูก้ ัน บทบาทกจ็ ะเปน็ อยา่ งน้นั มาตลอด ใน 2 สมัยท่ีผ่าน
มา คุณดนู โชติกพนชิ นายกสมาคมทา่ นเดิมกเ็ ปน็ คนทแ่ี อคทฟี
มากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการติดต่อกับหน่วยงาน
ตา่ งประเทศ ทำ�ใหส้ มาคมมมี ติ ใิ หมข่ นึ้ มา มกี ารดงึ องคก์ รและบรษิ ทั
ตา่ งๆ จากนานาชาติ มาใหค้ วามรดู้ า้ นคอมโพสทิ และทำ�ใหท้ ว่ั โลก
มองเห็นวา่ ประเทศไทยมีศกั ยภาพด้านนอี้ ยพู่ อสมควร

SPECIAสLัมภINาTษEณRV์พIิเEศWษ รเิ รม่ิ งานใหม่ และสานงานตอ่
ความตง้ั ใจแรกทผ่ี มอยากทำ�คอื อยากจะทำ�ใหม้ จี ำ�นวนสมาชกิ
เปดิ วสิ ยั ทศั น์ ที่มากขึ้น อยากทำ�ให้สมาคมมีกิจกรรมและช่วยเหลือ
อตุ สาหกรรมคอมโพสทิ ในประเทศใหม้ ศี กั ยภาพสงู ขน้ึ แผนขน้ั ตน้
นายกสมาคมคนใหม่ ที่เร่ิมได้คุยกันไว้กับคณะกรรมการคือการผลักดันให้มี
รศ.ดร.สนตพิ ีร์ เอมมณี สถาบันคอมโพสิทแห่งประเทศไทยข้ึนมา เหมือนกับสถาบัน
พลาสติก สถาบันเหล็ก สถาบันยานยนต์ ซ่ึงสถาบันเหล่าน้ี
ารสารไทยคอมโพสิท ฉบับน้ี มีโอกาสได้พูดคุยแบบ ทำ�งานอยู่ภายใต้กระทรวงอุตสาหกรรมโดยตรง อันน้ีเป็น
New Normal กบั นายกสมาคมไทยคอมโพสทิ คนใหม่ เปา้ หมายทคี่ อ่ นขา้ งเปน็ ระยะยาวมาก คดิ วา่ ถา้ รเิ รมิ่ แนวคดิ การตงั้
รศ.ดร.สนติพีร์ เอมมณี อาจารย์ประจำ�ภาควิชา สถาบันได้ คนในอุตสาหกรรมจะได้ผลประโยชน์ค่อนข้างมาก
วิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เนื่องจากรัฐบาลจะได้เห็นความสำ�คัญของอุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ภายหลงั จากไดร้ บั ตำ�แหนง่ ทา่ น ธุรกิจด้านวัสดุคอมโพสิทที่สอดคล้องกับนโยบาย S-curve
ก็พร้อมที่จะเดินหน้าสานต่อกิจกรรมเดิมของสมาคมอย่าง อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ทำ�ให้เกิดโอกาสใหมๆ่ หรอื มีการเติบโตของ
เขม้ แขง็ และผลกั ดนั นโยบายใหมๆ่ อยา่ งเขม้ ขน้ รวมถงึ ความรสู้ กึ ที่ ภาคการผลติ แบบเดมิ ไดเ้ ตม็ ท่ี ซง่ึ ในระดบั มหภาคจะสง่ ผลกระทบ
ได้รับความไว้วางใจจากคณะกรรมการและสมาชกิ ในแง่บวกกับสมาชิกของสมาคมและผู้เกี่ยวข้องภายนอกที่
รศ.ดร.สนติพีร์ กล่าวถึงความรู้สึกต่อตำ�แหน่งนายกสมาคม ยังไม่ได้เป็นสมาชิกในปัจจุบันอย่างแน่นอน กลไกในการ
คนใหม่ ครง้ั นว้ี า่ “ตอนไดร้ บั เลอื กจากการลงคะแนนเสยี ง กร็ สู้ กึ ขยายตัวของธุรกิจทางด้านนี้ก็จะใหญ่ข้ึน และทำ�ให้ภาพของ
ดีใจและเปน็ เกียรติอย่างยิง่ ที่ เพอื่ นๆ พ่ีๆ นอ้ งๆ สมาชกิ ท่อี ยู่ คอมโพสทิ มีความสำ�คญั และเป็นท่ีรจู้ กั มากขึ้นตามไปดว้ ย
ในวงการวิชาชีพเดียวกันให้ความไว้วางใจ ให้มาช่วยงานใน นอกจากน้ียังมี อีก 5 เร่ืองที่ผมอยากทำ� อันดับท่ีหนึ่งคือ
สมาคม อันที่จรงิ ผมก็ชว่ ยงานสมาคมมานานกวา่ 10 ปีแลว้ เรอ่ื งของมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมทใ่ี ชว้ สั ดคุ อมโพสทิ
แตด่ ว้ ยทเี่ ปน็ อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั บทบาทกจ็ ะไมเ่ หมอื นบทบาท เป็นวัตถุดิบ เน่ืองจากสมาคมไทยคอมโพสิทมีสมาชิกที่มี
ของผู้ประกอบการ ปกติเป้าหมายสมาคมคือการช่วยเหลือ ผผู้ ลติ ผขู้ าย หรอื องคก์ รตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั วสั ดคุ อมโพสทิ
สมาชิกท่ที ำ�ธรุ กิจหรือทำ�อุตสาหกรรมดา้ นนี้ โดยเปิดโอกาสให้ เป็นสมาชิกอยู่หลากหลาย ผมมองว่าการมีมาตรฐานจะทำ�ให้
เกิดการแลกเปล่ียนความรู้ ติดต่อค้าขายสินค้า หรือแบ่งปัน คนที่เป็นสมาชิกและประชาชนท่ัวไปได้รับประโยชน์ในเชิง
ประสบการณซ์ ึง่ กนั และกนั ซงึ่ ในชว่ ง10 ปีท่ีผ่านมาผมกเ็ ขา้ มา คุณภาพ ยกตัวอย่างเช่น มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
มสี ว่ นรว่ มในมติ ขิ องใหค้ ำ�ปรกึ ษาในเชงิ วชิ าการ สมาชกิ ทา่ นไหน ท่ีมี สมอ. เป็นสถาบันในการยกร่างและช่วยกำ�หนดมาตรฐาน
มคี ำ�ถามตอ้ งการคำ�ปรกึ ษาหรอื มอี ะไรใหช้ ว่ ยเหลอื เปน็ พเิ ศษใน ผลิตภัณฑ์ที่ใช้กันในประเทศ ซ่ึงแน่นอนว่าผู้ผลิตจะมีแนวทาง
เชงิ เทคนคิ ผมกม็ โี อกาสแบง่ ปนั ใหค้ วามคดิ เหน็ หรอื แลกเปลยี่ น ในการปรับปรุงอย่างไรก็ได้แต่ต้องให้มีผลิตภัณฑ์ที่ดีตาม
มาตรฐานที่ถูกกำ�หนดขึ้น สิ่งน้ีจะทำ�ให้ทุกคนอยู่บนกติกา
เดียวกันแม้ว่าจะลดต้นทุนการผลิตลงแล้วก็ตาม สุดท้าย
ทุกคนก็แข่งกันทำ�ให้ดีขึ้นแทนท่ีจะแข่งกันทำ�ให้แย่ลงจากการ
ตัดราคากันแต่เพียงอย่างเดียว
อันดับท่ีสองเป็นเร่ืองท่ีสมาคมทำ�มาตลอดคือ การให้ความรู้
กับสมาชิก เช่น การทำ�เวิร์คช็อป การจัดสัมมนา ต่างๆ ซ่ึงผม
เองก็ส่งเสริมให้สมาคมทำ�กิจกรรมต่างๆ เหล่าน้ี ผมอยากจะ
ทำ�คอร์สให้หลากหลายมากขึ้นและทำ�ให้เกิดรายได้เข้าสมาคม
ได้ด้วย เช่น เทคนิคท่ีทันสมัยมากขึ้น กระบวนการผลิตวัสดุ
คอมโพสทิ ขน้ั สงู ขนึ้ วธิ กี ารจดั การโรงงานหรอื การขอไอเอสโอ
เป็นต้น ซึ่งผมว่าสิ่งเหล่าน้ีเป็นเรื่องที่มีประโยชน์กับสมาชิก
และเป็นสิ่งท่ีสมาชิกของเราอยากรู้ เพราะส่งเสริมต่อการ
พัฒนากิจการได้ ปัจจุบันน้ีมีสมาชิกประมาณ 90 กว่าบริษัท
และมีเป้าหมายท่ีอยากจะมีจำ�นวนสมาชิกท่ีเพ่ิมมากข้ึน แต่การ
ท่ีจะเพ่ิมจำ�นวนได้ ก็ต้องมีอะไรเพ่ิมเติมในเร่ืองของคอร์ส
อบรมสัมมนาด้วย

WWW.FIBERGLASSTHAI.COM 9

อันดับที่สาม คือเรื่องการสร้างกลไกระหว่างสมาชิกด้วยกัน อวัยวะเทียม หรือยานพาหนะไฟฟ้า ในประเทศไทยเราเป็นผู้รับ
เช่น การจัดกิจกรรมแลกเปลยี่ นในกลมุ่ สมาชิก ผู้ขาย ผู้ผลติ เทคโนโลยีมาจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งผู้ผลิตหรือ
ให้ทำ�งานร่วมกันเป็นเพื่อนกันในเชิงธุรกิจ หรือผู้ผลิตเอง บุคลากรในอตุ สาหกรรมน้ีกต็ อ้ งพยายามปรบั ตัวเอง ใหพ้ รอ้ ม
สามารถส่งต่องานกันได้ หรือร่วมกันผลิตผลิตภัณฑ์หรือ กบั การรบั สงิ่ ใหมๆ่ ทเ่ี ปลย่ี นไป ซง่ึ ตรงนสี้ มาคมกอ็ ยากชว่ ยเปน็
ทำ�งานสเกลใหญข่ น้ึ ชว่ ยกนั หาตลาดทใ่ี นประเทศทย่ี งั มชี อ่ งวา่ ง กลไกใหผ้ ปู้ ระกอบการไทยไดร้ บั ขอ้ มลู ขา่ วสาร และความรใู้ หมๆ่
และชว่ ยกนั เปดิ โอกาสตลาดใหมๆ่ ในตา่ งประเทศ อย่างตอ่ เนอ่ื งดว้ ย” รศ.ดร.สนตพิ ีร์ กลา่ ว
อนั ดบั ทส่ี ่ี คอื เรอื่ งการทำ�สอื่ ซงึ่ ปจั จบุ นั สมาคม กม็ สี อื่ ทที่ ำ�อยู่ ปิดท้ายนี้ รศ.ดร.สนติพีร์ ได้กล่าวเชิญชวนผู้ทำ�ธุรกิจ
แล้ว เช่น วารสาร เฟสบุ๊ก เว็บไซต์ ผมอยากจะพัฒนาตรงน้ใี ห้ อุตสาหกรรมด้านวัสดุคอมโพสิทรายเล็กและรายใหญ่ มาร่วม
ทนั สมยั ขน้ึ แมแ้ ตใ่ น เฟสบกุ๊ หรอื เพจของสมาคมไทยคอมโพสทิ เปน็ สมาชกิ กนั มากขน้ึ เพราะการมสี มาชกิ ทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งการ
เราก็สามารถยิงสปอตให้คนเห็นกิจกรรมสมาคมมากขึ้น หรือ เตบิ โตของสมาคมแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว แตใ่ นทางกลบั กนั จะทำ�ให้
ทำ�เวบ็ ไซตใ์ หด้ สู วย มคี ลงั ขอ้ มลู ความรมู้ ากขน้ึ ผมมองวา่ เรอื่ ง เกิดการแลกเปลี่ยนที่มากข้ึน สมาชิกบางท่านอาจจะมี
น้ีก็เป็นอีกเรื่องที่สำ�คัญ เพราะเป็นช่องทางสื่อสารให้ผู้สนใจ ขอ้ เสนอแนะ ความคดิ เหน็ ทเ่ี ปน็ ประโยชนก์ บั สมาชกิ อกี หลายๆ ทา่ น ซงึ่
สามารถมาหาข้อมลู กบั เราได้ทนั ที รศ.ดร.สนติพีร์ เห็นว่าการรวมกันทำ�งานจะทำ�ให้เกิดความ
เร่ืองสุดท้ายท่ีผมอยากพยายามผลักดัน คือเร่ืองของการ เขม้ แขง็ ของภาคอตุ สาหกรรม และกลา่ วเชญิ ชวนสมาชกิ เดมิ ทอ่ี ยู่
ศึกษา การขยายความรู้ด้านคอมโพสิทออกไปยังระดับอาชีวะ กันมานาน อยากให้ช่วยเหลือส่งเสริมสมาคมกันต่อไป เพราะ
หรอื ชา่ งฝมี อื ดว้ ย สมาคมนา่ จะเปน็ ผรู้ ว่ มผลกั ดนั กบั หนว่ ยงาน ทกุ ทา่ นมคี ณุ คา่ ตอ่ สมาคมอยา่ งยงิ่ แมแ้ ตค่ วามคดิ เหน็ ทอ่ี ยากใหม้ ี
ในกระทรวงศึกษาธิการให้เกิดการสอนวิชาชีพใหม่ๆ ด้านวัสดุ การปรับปรุงในเร่ืองเล็กน้อยใดๆ ก็ส่งผลต่อการพัฒนาไป
คอมโพสทิ ได้ เชน่ การบรรจวุ ขิ าในหลกั สตู รทเ่ี กย่ี วกบั การผลติ ขา้ งหนา้ แลว้ เพราะทำ�ใหร้ วู้ า่ สมาชกิ ตอ้ งการอะไร ทำ�ใหเ้ ราตระหนกั
วสั ดุคอมโพสทิ หรือการเปดิ หลกั สตู รใหม่ขึ้นเลย เพื่อใหช้ ่างใน ว่าต่อไปในอนาคตเราต้องคำ�นึงถึงอะไรในการบริหารจัดการ
โรงงานมคี วามรคู้ วามสามารถในเชงิ เทคนคิ ในการผลติ ชน้ิ สว่ น สมาคม เราต้องการความรว่ มมอื จากทกุ คน นายกสมาคมเอง
วัสดุคอมโพสิทท่ีมีมาตรฐานสูง เพราะตอนนี้ในอุตสาหกรรม ก็อยู่ได้หนึ่งถึงสองวาระก็ต้องหยุด และจะมีสมาชิกท่านใหม่ๆ
สว่ นใหญเ่ ปน็ การเรยี นพกั ลกั จำ� รนุ่ พสี่ อนรนุ่ นอ้ งสอนตอ่ ๆ กนั เขา้ มาเปน็ นายกสมาคมสานการทำ�งานตอ่ ฉะนน้ั สมาคมไมใ่ ชข่ อง
มา แต่ถ้ามหี ลกั สูตรโดยตรงในการสรา้ งชา่ งฝมี อื แรงงานดา้ น คนใดคนหนงึ่ แตเ่ ปน็ ของทกุ คนทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั ภาคธรุ กจิ
น้ี ก็จะทำ�ให้การพัฒนาอุตสาหกรรมคอมโพสิทไปได้ไกล และ และอุตสาหกรรมน้ี เราทุกคนจงึ เป็นสว่ นสำ�คัญในการผลักดัน
ทำ�ใหภ้ าคธรุ กจิ สามารถปรบั ตวั และประยกุ ตค์ วามรนู้ ำ�มาใชก้ บั ใหก้ ารเกดิ ความยง่ั ยนื ในการใชว้ สั ดคุ อมโพสทิ ในประเทศไทยตอ่
ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ สู้กบั สนิ ค้าจากตา่ งประเทศได้ ไปในอนาคต

อตุ สาหกรรมคอมโพสทิ ไทย กบั ผลกระทบโควดิ 19
จากสถานการณ์โควิด 19 ท่ีผ่านมากับความสัมพันธ์ด้าน
เศรษฐกิจ รศ.ดร.สนติพีร์ มองว่า “ภาวะเศรษฐกิจในช่วงน้ี
แมว้ า่ ดเู หมอื นกระทบกบั ทกุ คนหมด แตใ่ นวกิ ฤตกม็ โี อกาสเสมอ
ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมที่ผลิตตู้รถพยาบาลจากวัสดุ
คอมโพสทิ อตุ สาหกรรมเกยี่ วกบั เครอ่ื งมอื แพทย์ หรอื งานพฒั นา
วัสดุให้เข้ากับผลิตภัณฑ์ใหม่ในห้องปฏิบัติการ จะได้รับโอกาส
มากข้นึ นอกจากน้ี งานทรี่ อไมไ่ ดเ้ นื่องจากอาจก่อให้เกดิ ความ
เสียหายท่รี ุนแรงตอ่ ชีวิตและทรพั ย์สิน เชน่ งานซอ่ มบำ�รงุ กย็ งั
สามารถดำ�เนินการต่อได้ เพราะเนื่องจากข้อดีของวัสดุ
คอมโพสิทท่ีสามารถใช้ซ่อมแซมได้ผลิตภัณฑ์และโครงสร้าง
ทางวศิ วกรรมไดอ้ ย่างหลากหลายและมปี ระสิทธิภาพ
สำ�หรับภาพรวมของอตุ สาหกรรมคอมโพสทิ ในไทย “ในฐานะที่
ทำ�งานดา้ นนม้ี านานระดบั หนงึ่ ผมวา่ ดขี น้ึ มาก หมายถงึ จำ�นวน
หรือระดับการผลิต การใช้งาน หรือการใช้วัตถุดิบ แม้จะ
ไมห่ วอื หวาแตเ่ ตบิ โตเพม่ิ ขนึ้ ทกุ ปี เรอื่ งเทคโนโลยวี สั ดคุ อมโพสทิ นม้ี มี า
นานกว่า 50 ปีท่ีแล้ว แต่เกิดข้ึนในประเทศฝั่งตะวันตก วัสดุ
คอมโพสิทเริ่มต้นในวงการอวกาศและอากาศยานมาก่อน
เนอ่ื งจากการผลติ จรวด ตอ้ งมนี ำ้� หนกั เบาและแขง็ แรงสงู วสั ดุ
คอมโพสิทจึงเป็นตัวเลือกเดียวท่ีจะทำ�ได้ หลังจากนั้นมาคนก็
เร่ิมเอาแนวคิดนี้มาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่อยู่บนดิน
มากข้ึน จึงส่งผลให้วัสดุคอมโพสิทเติบโตอย่างมากในโลก
เนอื่ งจากคนกเ็ รม่ิ เหน็ ชอ่ งวา่ งทจ่ี ะเอามาผลติ ชนิ้ สว่ นตา่ งๆ เชน่

10 THAI COMPOSITES MAGAZINE

ความสวยงามของไม้
ด้วยประสทิ ธภิ าพของวสั ดุคอมโพสทิ

บทสัมภาษณ์ ลนิ โกรฟว เปน็ บรษิ ทั ผลติ วสั ดแุ ละออกแบบทเ่ี นน้ ไฟเบอรแ์ ละเรซนิ ทที่ ำ�จาก

โจ ลตุ ว์ ัก (Joe Luttwak) พชื เป็นหลัก วสั ดุคอมโพสิททเี่ ป็นเอกลักษณข์ องพวกเขาตอบโจทยก์ ารใชง้ าน
ตามความตอ้ งการตา่ งๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดที งั้ ในแงข่ องความสวยงามและความเปน็
ผูร้ ่วมก่อตง้ั และประธานกรรมการบรหิ าร มิตรต่อโลก แนวทางการออกแบบทผี่ สมผสานกันของบริษัทเร่ิมต้นดว้ ยวัสดุ
บรษิ ัทลินโกรฟว (Lingrove) ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดซ่ึงเป็นพื้นฐานของการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้าง
แบรนด์ ทีมงานจะตรวจสอบทุกขั้นตอนของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในช่วง
เรม่ิ ตน้ กระบวนการเพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธท์ ส่ี รา้ งแรงบลั ดาลใจพรอ้ มดว้ ยเครอื ขา่ ยการ
ผลติ ทแี่ ขง็ แกรง่ บรษิ ทั ลนิ โกรฟวเปน็ หนง่ึ ในสบิ ทมี สดุ ทา้ ยของโครงการสตารท์
อัพบูสเตอรท์ ีง่ านเจอซี ี เวิรล์ 2019

นติ ยสารเจอซี คี อมโพสทิ : คณุ ชว่ ย วสั ดยุ ง่ั ยนื รนุ่ ตอ่ ไป ในขณะทป่ี ญั หาภาวะ ผลติ ภณั ฑห์ ลกั ของคณุ คอื อะไร
เลา่ ใหฟ้ งั หนอ่ ยไดไ้ หมวา่ คณุ ไดไ้ อเดยี โลกร้อนกำ�ลังรุนแรงขึ้นอย่างต่อเน่ือง โจ ลุต์วัก : ผลิตภัณฑ์หลักของเราคือ
เก่ียวกับบริษัทลินโกรฟวมาจากไหน ความต้องการในการพฒั นานวัตกรรมที่ วัสดุคอมโพสิทที่มีส่วนผสมของเส้นใย
และมคี วามเกยี่ วขอ้ งอยา่ งไรกบั วสั ดุ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ วั ส ดุ ท่ี ไ ม ่ ป ล ่ อ ย แ ก ๊ ส ลนิ นิ ทเี่ รยี กวา่ Ekoa ซง่ึ เกดิ จากการผสม
คอมโพสทิ คาร์บอนไดออกไซด์จึงยังคงเติบโตข้ึน ผสานกนั ของเส้นใยธรรมชาตแิ ละเรซนิ ท่ี
โจ ลตุ ว์ กั : บรษิ ทั ลนิ โกรฟว เกดิ มาจาก อย่างต่อเนื่องเช่นกัน เราต้องทบทวน เปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม มนั มนี ำ�้ หนกั เบา
ความปรารถนาทจ่ี ะสรา้ งวสั ดคุ อมโพสทิ ท่ี แนวทางการปฏิบัติและผลิตภัณฑ์ท่ีมีอยู่ กวา่ คารบ์ อนไฟเบอร์ มคี วามแขง็ แรงกวา่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืนซ่ึงมี ของเรา หากเราตอ้ งการทจี่ ะตอบโจทยใ์ น พลาสตกิ และมคี วามสวยงามของไม้ ซงึ่
สว่ นประกอบเปน็ เสน้ ใยคารบ์ อนทมี่ คี วาม เรื่องของสภาพภูมิอากาศและรักษาส่ิง แข็งแกร่งกว่าและไม่เป็นอันตราย วัสดุ
แขง็ แรงและคา่ ความแขง็ แรงตอ่ นำ�้ หนกั สงู แวดล้อมไว้สำ�หรับคนรุ่นหลัง พวกเรา ของเราปลอดสารพิษและปลอดภัยต่อ
แต่ในขณะเดียวกันก็ยังคงรักษาความ รสู้ กึ ตน่ื เตน้ มากทไ่ี ดเ้ ปน็ แนวหนา้ ของการ ผใู้ชง้ านและสงิ่ แวดลอ้ ม นอกจากนี้ สงิ่ ทท่ี ำ�ให้
สวยงามและสมบัติการลดแรงกระแทก เคล่ือนไหวนี้และเป็นผู้นำ�ในอุตสาหกรรม Ekoa แตกต่างจากวัสดุคอมโพสิท
ของไมไ้ วไ้ ด้ อนั ดบั แรกทส่ี ำ�คญั ทส่ี ดุ กค็ อื วสั ดคุ อมโพสทิ ชวี ภาพ ประเภทอ่ืน ๆ ก็คือมันไม่แตกหักง่ายซึ่ง
วัสดุของเราจะต้องมีความแข็งแรงสูง
น้�ำหนักเบา สวยงาม และสอดคล้องกับ กตี ารจ์ ากวสั ดคุ อมโพสทิ เสน้ ใยธรรมชาติ Ekoa
กระบวนการผลติ ทม่ี อี ยใู่ นปจั จบุ นั เราใช้
เส้นใยธรรมชาติจากลินินที่ไม่ก่อให้เกิด
คาร์บอนไดออกไซด์ในระหว่าง
กระบวนการผลติ และใชเ้ ทอรโ์ มพลาสตกิ
ท่ีทำ�จากพืช เพื่อให้เกิดวัสดุคอมโพสิท
ชวี ภาพ (biocomposite) ทสี่ ามารถรไี ซเคลิ
ได้ นอกจากนี้ บรษิ ทั ลนิ โกรฟวกำ�ลงั มอง
หาแนวทางที่จะนำ�ของเสียจำ�นวนมากที่
เกดิ จากการผลติ ของเมลด็ ตน้ แฟลกซแ์ ละ
นำ�้ มนั ลนิ ซดี มาใชต้ อ่ โดยมงุ่ ใหเ้ กดิ การใช้
วสั ดแุ ละพลงั งานอยา่ งเปน็ วงจร และเพอ่ื
ทจี่ ะพฒั นาใหเ้ กดิ วสั ดทุ ม่ี มี ลู คา่ สงู สำ�หรบั

11WWW.FIBERGLASSTHAI.COM

ทำ�ใหช้ น้ิ สว่ นของมนั สามารถขดั เจาะ และ แล้วผลิตภัณฑ์ของเราสามารถนำ�ไปใช้ ผนงั Ekoa
กลึงได้ ผลิตภัณฑ์ของเรามีน้�ำหนักเบา งานได้มากมายหลากหลายประเภท คุณคิดว่าคุณได้ประโยขน์อะไรจาก
กว่าคาร์บอนไฟเบอร์ 20% แข็งแรง ลนิ โกรฟวเปน็ บรษิ ทั ทข่ี บั เคลอ่ื นดว้ ยฟงั กช์ น่ั โปรแกรมสตาร์ทอัพบูสเตอร์หรือไม่
เทยี บเทา่ ไฟเบอรก์ ลาสเกรดอากาศยาน และ การใชง้ านซง่ึ นห่ี มายถงึ ทกุ ๆ ผลติ ภณั ฑ์ และคณุ จะชกั ชวนสตารท์ อพั รายอนื่ ๆ
สวยงามมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สำ�หรับ ทเี่ ราผลติ นนั้ จะถกู ปรบั เปลย่ี นใหเ้ หมาะกบั ใหเ้ ขา้ รว่ มหรอื ไม่
ระบบการผลิตเส้นใยและเรซินของเรา การใชง้ านของลกู คา้ นอกจากนเี้ รายงั ให้ โจ ลตุ ว์ กั : แนน่ อนสคิ รบั บรษิ ทั ลนิ โกรฟว
ผลิตขึ้นจากเรซินชีวภาพและสามารถอบ บรกิ ารการสรา้ งตน้ แบบและใหค้ ำ�แนะนำ�กบั ได้รับประโยชน์มากมายจากโปรแกรม
ไดท้ งั้ ในระบบทอ่ี ณุ หภมู สิ งู และอณุ หภมู ติ ำ�่ ลกู คา้ ของเรา ซง่ึ ในทสี่ ดุ แลว้ มนั จะพฒั นา สตาร์ทอัพบูสเตอร์น้ี อีกทั้งยังได้รู้จักที่
เรซน่ิ เหลา่ นมี้ สี มบตั เิ ชงิ กลทดี่ เี ยย่ี มและทน ไปสกู่ ารซอื้ สนิ คา้ ในปรมิ าณทม่ี ากขนึ้ เรามี ปรกึ ษาดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ ทปี่ รกึ ษาดา้ นธรุ กจิ
ตอ่ แรงกระแทกไดด้ กี วา่ ระบบอพี อกซพี รี ประสบการณใ์ นการออกแบบกระบวนการ วสั ดแุ ละกระบวนการผลติ มคี ำ�แนะนำ�ทสี่ ดุ
เพรก (epoxy prepreg) แบบเดมิ Ekoa ข้ึนรูปตามแบบแม่พิมพ์ท่ีเหมาะสมและ ยอดมากมายใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มโปรแกรมน้ี
สามารถนำ�ไปข้ึนรูปเป็นช้ินส่วนท่ีซับซ้อน กระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจาก เปา้ หมายระยะกลางของคณุ คอื อะไร
ไดแ้ ละในขณะเดยี วกนั กย็ งั คงรกั ษาความ เส้นใยธรรมชาติ ดังน้ันเราจึงมีความ และคณุ วางแผนทจ่ี ะบรรลเุ ปา้ หมาย
สวยงามและตอบโจทย์การใชง้ านไดด้ ีอยู่ เชย่ี วชาญเปน็ อยา่ งมากในการทำ�เครอื่ งมอื เหลา่ นน้ั อยา่ งไร
เช่นเดิม ข้อดีอีกอย่างก็คือวัสดุจะมีสีท่ี แ ล ะ เ ค รื่ อ ง จั ก ร สำ�ห รั บ ผ ลิ ต วั ส ดุ โจ ลุต์วัก : สำ�หรับเป้าหมายระยะกลาง
หลากหลายกว่าด้วยเส้นใยท่ีเบากว่า คอมโพสทิ การออกแบบกระบวนการผลติ การ ตอนนบี้ รษิ ทั ลนิ โกรฟวกำ�ลงั หาทางเจรจา
คาร์บอนไฟเบอร์ซ่ึงมีความแข็งแรงและ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ของกระบวนการ ข ้ อ ต ก ล ง กั บ ผู ้ เ ล ่ น ร า ย ใ ห ญ ่ ท่ี สุ ด ใ น
สมบัติการลดแรงกระแทกที่ยอดเยี่ยม ผลติ ตลอดจนและการใหค้ ำ�แนะนำ�ตา่ ง ๆ อตุ สาหกรรมการคา้ เฟอรน์ เิ จอรแ์ ละแผน่
โดยทวั่ ไปเสน้ ใย Ekoa จะเปน็ สแี ทนหรอื ในการออกแบบการผลติ ปิดผนังให้สำ�เร็จก่อนท่ีงานแสดงสินค้า
สนี ำ้� ตาลตามธรรมชาตขิ องมนั แตส่ ยี อ้ ม อะไรทำ�ใหค้ ณุ อยากเขา้ รว่ มโปรแกรม อุตสาหกรรมจะจัดข้ึนในเดือนมิถุนายน
ท่ีปลอดภัยสามารถปรับเปล่ียนสีของ สตารท์ อพั บสู เตอรข์ องเจอซี ี พรอ้ มกบั สงิ่ นี้ เราหวงั วา่ จะปดิ การระดม
เสน้ ใยได้ นอกจากนโี้ ทนสใี นเรซนิ ยงั ปรบั โจ ลุต์วัก : บริษัทลินโกรฟวเข้าร่วมใน ทุนรอบแรกและเร่ิมการผลิต Ekoa
ใหจ้ างลงหรอื เขม้ ขนึ้ ไดอ้ กี ดว้ ย โปรแกรมสตารท์ อพั บสู เตอรข์ องเจอซี ี เพอ่ื ท่ี ภายในสน้ิ ไตรมาสที่ 2 ของปี ค.ศ. 2020
คณุ รว่ มงานกบั อตุ สาหกรรมไหนมาก จะทำ�ให้ Ekoa เปน็ ทร่ี จู้ กั มากขนึ้ และสรา้ ง นอกจากนเี้ ราตงั้ ใจทจ่ี ะเปดิ ตวั ผลติ ภณั ฑ์
ทส่ี ดุ เครือข่ายกับผู้นำ�ในอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป ็ น โ ค ร ง ส ร ้ า ง แ บ บ ผ นั ง
โจ ลตุ ว์ กั : ปจั จบุ นั Ekoa ถกู นำ�ไปใชใ้ น นอกจากนเ้ี รายงั อยากไดเ้ สยี งตอบรบั และ (panel) และเข้าสู่ตลาดวัสดุโครงสร้าง
ผลิตภัณฑ์ท่ีหลากหลาย ต้ังแต่อุปกรณ์ ความคดิ เหน็ จากกลมุ่ คนในระดบั นานาชาติ และอตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ งอกี ดว้ ย
กฬี าทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ไปจนถงึ เกา้ อี้ หรอื เกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑข์ องเราและเพอ่ื ทจี่ ะได้
แม้แต่ชิ้นส่วนยานยนต์ เรามุ่งเน้นไปที่ รับมุมมองและรับรู้ความต้องการของ
อตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ ง ยานยนต์ และการ ตลาดในปจั จบุ นั
ออกแบบตกแตง่ ภายในเปน็ หลกั แตจ่ รงิ ๆ

แผน่ บาง Ekoa ท่ีมา : www.lingrove.com

12 THAI COMPOSITES MAGAZINE

เทคโนโลยีการผลติ แบบเพม่ิ เน้อื วสั ดุ
(additive manufacturing) ในสเกลใหญ่
ของเทอรโ์ มพลาสติกคอมโพสิท

ในสหรัฐอเมริกา การผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุในสเกลใหญ่ของเทอร์โม

พลาสติกกำ�ลังเติบโตอย่างรวดเร็วจากห้องปฏิบัติการไปสู่การใช้งานในงานระดับ
อุตสาหกรรม ปัจจุบันน้ีแม่พิมพ์ท่ีพิมพ์จากเครื่องพิมพ์ 3 มิติกำ�ลังถูกนำ�ไปใช้งาน
อย่างแพรห่ ลายในกระบวนการผลิตชน้ิ ส่วนอากาศยานขนาดใหญ่เกือบทุกวนั

เคน ซสั เนียจรา (Ken Susnjara)

ประธานกรรมการบริหารบรษิ ัทเทอร์มวดู้ คอรป์ อเรชน่ั
(Thermwood Corporation)

อุปกรณ์จับยึดที่ที่พิมพ์จากเคร่ืองพิมพ์ ชิ้นงานจะถูกพิมพ์โดยใช้เครื่องพิมพ์ เหตุผลหน่ึงที่ในท่ีสุดทำ�ให้สิ่งน้ีเกิดข้ึนก็
3 มิติขนาดใหญ่ถูกนำ�มาใช้อย่างแพร่ ขนาดใหญใ่ หต้ วั ชน้ิ งานมขี นาดและรปู รา่ ง คือเทคโนโลยีท่ีจำ�เป็นในการทำ�ให้มัน
หลายเพ่ือจับยึดชิ้นส่วนอากาศยาน ใหญ่กว่ารูปร่างสุดท้ายท่ีต้องการเล็ก สามารถใช้งานได้ดีในระดับอุตสาหกรรม
สำ�หรับการไสหรือเจาะด้วยเคร่ืองจักร นอ้ ย จากนน้ั ชน้ิ สว่ นจะถกู กลงึ หรอื ตดั ให้ ในตลาดปัจจุบันของสหรัฐอเมริกา มี
ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์จาก ไดข้ นาดและรปู รา่ งสดุ ทา้ ยตามทตี่ อ้ งการ บริษัทหนึ่งที่ดูเหมือนจะโดดเด่นในเร่ือง
รปู แบบการหลอ่ จนถงึ โครงสรา้ งรถโดยสาร กระบวนการน้ีเร็วกว่าวิธีการแบบเดิม ๆ ของเทคโนโลยกี ารผลติ แบบเพมิ่ เนอ้ื วสั ดุ
แบบไร้คนขับถูกผลิตขึ้นอย่างแพร่หลาย ท่ี ใ ช ้ ใ น ก า ร ผ ลิ ต ช้ิ น ส ่ ว น แ ม ่ พิ ม พ ์ แ ล ะ ในสเกลใหญ่ แม้ว่าตลาดนี้จะยังมีขนาด
โดยใช้การผลิตแบบเพ่ิมเนื้อวัสดุในสเกล เครื่องมือเดียวกันอย่างมากและยังเร็ว ไม่ใหญ่มากนัก แต่เครื่องผลิตแบบเพ่ิม
ใหญ่ ผู้ผลิตแม่พิมพ์และเคร่ืองจักร กว่าการพิมพ์ชิ้นงานที่ใช้เครื่องพิมพ์ เนื้อวัสดุในสเกลใหญ่ทั้งหมดที่ขายใน
สำ�หรบั อากาศยานรายใหญก่ ำ�ลงั ซอื้ ระบบ ขนาดเล็กท่พี ิมพ์เป็นช้ันบาง ๆ สหรฐั อเมรกิ าในหนง่ึ หรอื สองปที ผี่ า่ นมา
การผลิตแบบเพิ่มเน้ือวัสดุขนาดใหญ่มา
ใช้ตามความต้องการทเ่ี ฉพาะเจาะจงของ
ลกู คา้ รายใหญท่ สี่ ดุ ของพวกเขา ปจั จบุ นั
เทคโนโลยีการผลิตแบบเพ่ิมเน้ือวัสดุจึง
กำ�ลงั เติบโตอย่างรวดเร็ว

การขนึ้ รปู ชนิ้ งานทมี่ รี ปู รา่ งใกลเ้ คยี ง เคร่ืองพมิ พ์ 3 มิติ Thermwood LSAM 10’x20’ กำ� ลงั กลงึ ตดั แตง่ ล�ำตวั เรอื ดำ� น�ำ้ ทที่ ำ� จาก ABS กระบวนการ
กบั รปู รา่ งสดุ ทา้ ยทต่ี อ้ งการ (Near- ท้งั หมดตั้งแตพ่ มิ พ์ ประกอบ และตัดแตง่ ใชเ้ วลาน้อยกวา่ สบิ วนั ในการสรา้ งช้นิ งานขนาดใหญ่น้ี
net shape)
กระบวนการทใ่ี ชส้ ำ�หรบั การใชง้ านเหล่าน้ี
โดยท่ัวไปเรียกว่า การขึ้นรูปช้ินงานท่ีมี
รปู รา่ งใกลเ้ คยี งกบั รปู รา่ งสดุ ทา้ ยทต่ี อ้ งการ
(near-net shape) ซ่งึ ในขนั้ ตอนแรก

13WWW.FIBERGLASSTHAI.COM

ชนิ้ งานขนาดใหญท่ เ่ี ห็นในรปู น้ถี กู พมิ พโ์ ดย
LSAM MT ซ่ึงเป็นหน่ึงในยี่สิบส่วนท่ีคล้าย
กนั ซึง่ เมื่อน�ำมาประกอบกันจะกลายเป็นแม่
พมิ พก์ ารผลติ สำ� หรบั ตวั เรอื ยอรช์ ขนาดใหญ่

ขอบเขตและขนาดของเครื่องพิมพ์ได้
อยา่ งแทจ้ ริง

บริษัทเทอร์มจัดจ�ำหน่ายเครื่องพิมพ์สามมิติระบบ LSAM หลากหลายขนาดให้เหมาะกับการใช้งานเกือบทุก เครื่องพิมพ์ 3 มิติขนาดใหญ่เหล่านี้
ประเภท สร้างขึ้นจากแผ่นเหล็กหนาตัดด้วย
เลเซอร์ นำ�มาประกอบและเช่ือมเข้าด้วย
นั้นมาจากบริษัทน้ีบริษัทเดียวซึ่งตั้งอยู่ ความสำ�คญั ตอ่ เครอ่ื งมอื ทางอากาศยาน กัน จากน้ันนำ�ไปอบอ่อนเพื่อให้ได้
ทางตอนใตข้ องรัฐอนิ เดยี นา บรษิ ทั น้ีคอื เ ป ็ น อ ย ่ า ง ม า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต โ ค ร ง ส ร ้ า ง ที่ มี ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ท น ท า น
บ ริ ษั ท เ ท อ ร ์ ม วู ้ ด ค อ ร ์ ป อ เ ร ช่ั น เครอ่ื งจกั รทใี่ ช้ และซอฟตแ์ วรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง เคร่ืองพิมพ์นี้มีความสูงเกือบ 6 เมตร มี
(Thermwood Corporation) ระบบ นนั้ ไดร้ บั การคดั เลอื กและออกแบบมาเปน็ ท้ังโครงสำ�หรับการพิมพ์ 3 มิติและโครง
ที่พวกเค้าใช้ก็คือ LSAM ซ่ึงย่อมาจาก อ ย ่ า ง ดี สำ�ห รั บ ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต เ ชิ ง สำ�หรับการกลึงหรือตัดแต่งช้ินงานใน
Large-Scale Additive อตุ สาหกรรมแบบนี้ เครื่องเดียวกัน เคร่ืองพิมพ์ขนาดความ
Manufacturing ด้วยเครือ่ งพิมพข์ อง สูง 6 เมตรจะมีน�้ำหนัก 32.6 เมตริกตัน
บรษิ ทั เทอรม์ วดู้ คอรป์ อเรชนั่ จะสามารถ เครอื่ งพมิ พ์ 3 มติ นิ สี้ ามารถใชไ้ ดก้ บั วสั ดุ (MT) ส่วนเครื่องพิมพ์ขนาด 12 เมตร
พิ ม พ ์ แ ล ะ ตั ด แ ต ่ ง ช้ิ น ง า น ไ ด ้ ใ น เ ค รื่ อ ง หลากหลายประเภท ตง้ั แตว่ สั ดทุ อ่ี ณุ หภมู ิ จะหนัก 46.3 เมตริกตัน โครงสร้าง
เดียวกัน ตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น ห้องเช่น ABS และพอลิคาร์บอเนต ไป สำ�หรับพิมพ์อย่างเดียวหนักประมาณ 4
เ ค ร่ื อ ง จั ก ร ข อ ง บ ริ ษั ท เ ท อ ร ์ ม วู ้ ด จนถึงวัสดุที่มีอุณหภูมิสูงเช่น PPS, เมตริกตัน และหัวพิมพ์มีน้�ำหนักอยู่
คอร์ปอเรช่ันกำ�ลังพิมพ์ช้ินงานอยู่ทุกวัน PSU, PESU และ Ultem ระหว่าง 1,245 และ 1,361 กิโลกรัม
กระบวนการพิมพ์ส่วนมากจะใช้เม็ด ข้ึนอยู่กับแกนหลอมที่ติดตั้ง
พลาสติกมากกว่าการฉีดเส้นพลาสติก เครอ่ื งพมิ พ์ 3 มติ ขิ นาดใหญท่ มี่ คี วาม
ทำ�ใหช้ นิ้ งานทไ่ี ดม้ คี วามแขง็ แรง พลาสตกิ แขง็ แรงทนทาน ถึงแม้ว่าเครื่องจักรน้ีจะมีขนาดใหญ่และ
ที่ใช้หลอมละลายอย่างสมบูรณ์เป็นเน้ือ รปู ภาพของเครอ่ื งพมิ พข์ นาดใหญเ่ หลา่ น้ี น�้ำหนักมาก แต่หัวพิมพ์และหัวตัด
เดียวกันและสามารถรักษาสุญญากาศได้ ป ร า ก ฏ อ ยู ่ ม า ก ม า ย ใ น โ ล ก อ อ น ไ ล น ์ สามารถเคล่ือนที่ด้วยความเร็วมากกว่า
ความสามารถในการรกั ษาสญุ ญากาศนม้ี ี แ ต ่ ภ า พ เ ห ล ่ า นี้ ไ ม ่ ส า ม า ร ถ ถ ่ า ย ท อ ด 0.9 เมตรต่อวินาที และมคี วามแม่นยำ�ใน
ระดับ 1/1000 เซนติเมตร นี่เป็น
เครื่องจักรท่ีมีขนาดใหญ่และแข็งแรง
อยา่ งแท้จรงิ

14 THAI COMPOSITES MAGAZINE

ตวั อย่างของขนั้ ตอนท่ีแตกต่างกนั นอกที่เย็น และลูกกล้ิงบีบอัดจะหลอม จะพมิ พไ์ ดส้ องเทา่ ของพอลเิ มอรอ์ ณุ หภมู ิ
ของชนิ้ สว่ นหลงั จากการพมิ พแ์ ละการตดั แตง่ ดว้ ยเครอื่ ง รวมสว่ นทเี่ พง่ิ พมิ พอ์ อกมาใหมซ่ ง่ึ มคี วาม สูง ซ่ึงหมายความว่าโดยท่ัวไปแล้วแกน
Thermwood LSAM ร้อนมากเข้ากับส่วนท่ีพิมพ์ก่อนหน้านี้ท่ี หลอมขนาด 40 มิลลิเมตรนั้นเพียงพอ
ยงั มคี วามรอ้ นหลงเหลอื อยแู่ คต่ รงกลาง สำ�หรับการใชง้ านเกือบทุกประเภท
สทิ ธบิ ตั ร 53 ฉบบั เท่านน้ั กระบวนการนท้ี ำ�ใหเ้ กดิ โครงสรา้ ง
ก ร ะ บ ว น ก า ร พิ ม พ ์ แ ล ะ ก า ร อ อ ก แ บ บ ท่ีแข็งแรงเป็นเน้ือเดียวกันและไม่เกิด สองแนวทางทเี่ ปน็ ไปได้
หัวพิมพ์ท่ีใช้ในระบบเหล่าน้ีค่อนข้างมี ช่องว่างในชิ้นงาน เมอ่ื ตอ้ งการผลติ ชน้ิ งานขนาดใหญม่ าก ๆ
เอกลักษณ์และในปัจจุบันครอบคลุม จะมีสองวิธีท่ีสามารถทำ�ได้ วิธีแรกคือ
สทิ ธบิ ตั รมากถงึ 53 ฉบบั เพอื่ ทจ่ี ะเขา้ ใจสง่ิ นี้ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทส่ี ำ�คญั เกยี่ วกบั กระบวนการ กระบวนการผลิตที่เรียกว่า Vertical
ไดด้ ขี ึ้น เรามาทำ�ความเขา้ ใจกระบวนการ น้ีก็คือ ระยะเวลาที่ใช้ในการพิมพ์ต่อ Layer Printing หรือ VLP ใน
ผลิตกนั กอ่ น เครอ่ื งพิมพ์ 3 มิติ เลเยอร์ข้ึนอยู่กับระยะเวลาท่ีพอลิเมอร์ใช้ กระบวนการนี้แท่นพิมพ์แนวต้ังจะถูก
ในการเย็นตัวลงเพียงพอท่ีจะรองรับ ติดตั้งเพ่ือให้มันสามารถเคลื่อนท่ีไปตาม
ระบบ LSAM (Large-Scale Additive เลเยอร์ต่อไป อัตราการเย็นตัวของ ความยาวของแท่นพิมพ์แนวนอนได้
Manufacturing) จะพิมพ์ที่อุณหภูมิ พอลเิ มอรจ์ ะเปน็ ตวั กำ�หนดวา่ จะสามารถพมิ พ์ ชนิ้ งานจะถกู พมิ พใ์ นแนวตงั้ เปน็ เลเยอรบ์ น
ห้องโดยใช้หัวพิมพ์ขนาดใหญ่ ระบบน้ีใช้ เลเยอร์ได้เรว็ แคไ่ หน ชนดิ ของพอลเิ มอร์ แท่นซึ่งหมายความว่าช้ินงานนั้นสามารถ
พอลเิ มอรแ์ บบอดั เปน็ เมด็ เปน็ วตั ถดุ บิ และ ท่ีแตกต่างกันจะเย็นตัวลงในอัตราท่ีต่าง มีขนาดความสูงได้เท่ากับความยาวของ
ยังสามารถใช้วัสดุเทอร์โมพลาสติกได้ กนั พอลเิ มอรท์ พ่ี มิ พท์ อี่ ณุ หภมู สิ งู จะเยน็ เคร่ืองพิมพ์ ประมาณครึ่งหน่ึงของ
เกอื บทกุ ชนดิ ทมี่ ใี นปจั จบุ นั พลาสตกิ ทถ่ี กู ลงเรว็ กวา่ พอลเิ มอรท์ พี่ มิ พท์ อี่ ณุ หภมู ติ ำ�่ เครอื่ งพมิ พ์ 3 มติ ใิ นปจั จบุ นั ใชร้ ะบบ VLP
พิมพ์ออกมาจะมีลักษณะเป็นทรงกลม กว่า การเสรมิ แรงในพอลเิ มอร์ยังสง่ ผล นี้ อีกวิธีหน่ึงสำ�หรับผลิตชิ้นงานที่มี
แ ล ะ ถู ก ทำ�ใ ห ้ แ บ น ล ง โ ด ย ล ้ อ บี บ อั ด ท่ี ต่ออัตราการเย็นตัวด้วย ตัวอย่างเช่น ขนาดยาวมาก ๆ เช่น แม่พิมพ์ใบพัด
ควบคุมอุณหภูมิได้ซ่ึงมีความหนา 5 พอลเิ มอรเ์ สรมิ ใยคารบ์ อนจะเยน็ ตวั เรว็ กวา่ เฮลิคอปเตอร์ ก็คือการพิมพ์ตาม
มลิ ลเิ มตร ความกวา้ ง 21 มลิ ลเิ มตร เมอื่ พอลิเมอรเ์ สริมใยแก้ว ความยาวของชนิ้ งานเนอื่ งจากขนาดของสว่ น
ชน้ิ งานถกู พมิ พอ์ อกมาแลว้ มนั จะเรมิ่ เยน็ ท่ีถูกพิมพ์ที่ต้องการต่อเลเยอร์ วิธีน้ีจึง
ลงแต่ก็ไม่ได้เย็นลงอย่างสม�่ำเสมอ ผิว อัตราการเย็นตัวของพอลิเมอร์เป็นตัว ต้องการเอาต์พุตจากหัวพิมพ์ท่ีสูงขึ้น
ดา้ นนอกจะเยน็ ลงกอ่ น ในบางจดุ ผวิ ดา้ น กำ�หนดเวลาท่ีต้องใช้ในการพิมพ์ต่อหน่ึง อย่างมากเพื่อให้ส่วนที่พิมพ์ออกมาใน
นอกของส่วนที่พิมพ์มาก่อนจะเย็นพอที่ เลเยอร์ ณ จุดน้ัน เอาต์พุตของหัวพิมพ์ แต่ละเลเยอร์มีความสมบูรณ์ในเวลาที่
จะรองรับส่วนท่ีจะพิมพ์ถัดไปได้ แต่ผิว จ ะ เ ป ็ น ตั ว กำ�ห น ด ป ริ ม า ณ พ ล า ส ติ ก ท่ี กำ�หนด
ดา้ นในยงั คงรอ้ นอยู่ เมอื่ พมิ พเ์ ลเยอรถ์ ดั สามารถพิมพ์ได้ในเวลาน้ัน ๆ ต่อหนึ่ง
ไปมันจะละลายอย่างรวดเร็วผ่านผิวด้าน เลเยอร์ ย่ิงหัวพิมพ์มีขนาดใหญ่เท่าไร เพื่อที่จะรองรับสิ่งนี้ได้ จะต้องมีการ
ชนิ้ งานทพี่ มิ พอ์ อกมากจ็ ะมขี นาดใหญม่ าก พัฒนาแกนหลอมขนาด 60 มิลลิเมตร
ขน้ึ ไดเ้ ทา่ นนั้ หวั พมิ พม์ าตรฐานของระบบ หวั พมิ พม์ าตรฐานของเครอ่ื งพมิ พ์ 3 มติ ิ
LSAM ใช้แกนหลอมขนาด 40 ระบบ LSAM สามารถใชไ้ ดท้ ง้ั แกนหลอม
มิลลิเมตร ซ่ึงโดยท่ัวไปสามารถพิมพ์ ขนาด 40 มิลลิเมตร และ 60 มิลลเิ มตร
พอลเิ มอรไ์ ดถ้ งึ ประมาณ 91 กโิ ลกรมั ตอ่ และสามารถเปล่ียนจากแกนหลอมขนาด
ช่ัวโมง นี่หมายความว่าเคร่ืองนี้จะ หนึ่งไปยังอีกขนาดหน่ึงได้ในเวลาอันส้ัน
สามารถพิมพ์พลาสติกขนาด 12 เมตร แกนหลอมขนาด 60 มลิ ลเิ มตร สามารถ
ได้ในเวลาหนึ่งนาที พมิ พ์ไดป้ ระมาณ 227-259 กโิ ลกรมั ต่อ
ชั่วโมง สิ่งนี้หมายความว่าสามารถ
โดยทั่วไปพอลิเมอร์ที่อุณหภูมิสูงจะใช้ พิมพ์ช้ินงานท่ีมีความยาวมากกว่า 30
เวลาพมิ พต์ อ่ หนง่ึ เลเยอร์ 1.5-2 นาที ซงึ่ เมตรในเวลาแค่ 1 นาที
แปลว่าจะพิมพ์ได้ 18-24 เมตรต่อ
เลเยอร์ และพอลเิ มอรท์ ม่ี อี ณุ หภมู ติ ำ�่ กวา่

15WWW.FIBERGLASSTHAI.COM

ชิ้นงานท่ีมีความยาวมากกว่าน้ีสองถึงห้า
เทา่ กส็ ามารถใช้เครอ่ื งพิมพ์ 3 มิตนิ ไี้ ด้ข้นึ
อยู่กับพอลิเมอร์ท่ีใช้และรูปทรงของช้ิน
งานที่ตอ้ งการพิมพ์ หัวพิมพท์ มี่ ีเอาต์พุต
มากข้ึนก็สามารถใช้ได้เช่นกัน อย่างไร
ก็ตาม ในปัจจุบันมีช้ินงานไม่ก่ีประเภท
เท่านั้นที่ต้องการแกนหลอมขนาดใหญ่
กว่า 60 มิลลิเมตร

เนอ่ื งจากอตั ราการเยน็ ตวั เปน็ ตวั กำ�หนด
ความเร็วในการพิมพ์ พอลิเมอร์ท่ีมีการ
ถา่ ยเทความรอ้ นสงู กวา่ สามารถสง่ ผลให้
เวลาในการพมิ พแ์ ตล่ ะเลเยอร์เรว็ ขึน้ หาก
มีพอลิเมอร์ใหม่ ๆ เกิดขึ้นหัวพิมพ์ท่ีมี
เอาตพ์ ตุ มากขน้ึ กจ็ ะมคี วามสำ�คญั มากขน้ึ
ตามไปด้วย ปัจจุบันน้ีช้ินงานส่วนใหญ่ที่
ผลิตด้วยเทคโนโลยีการผลิตแบบเพ่ิม
เน้ือวัสดุน้ันมักเก่ียวข้องกับแม่พิมพ์
เครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ ตลอดจนถงึ อปุ กรณท์ ใี่ ช้
ครง้ั เดยี วทง้ิ ความเรว็ ในการพมิ พท์ เี่ รว็ ขน้ึ
อย่างมีนัยสำ�คัญสามารถเปิดโอกาสใน
การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นได้
จรงิ แม้บางทอี าจมใี นปริมาณจำ�กัด แต่
ส่ิงน้ีก็ยังถือเป็นการเปิดโอกาสใหม่ ๆ
สำ�หรับแวดวงอุตสาหกรรมเคร่ืองพิมพ์
3 มติ ิ

ตัวอย่างของชิ้นงานรูปทรงต่างๆ ท่ีพิมพ์และกลึงแต่งด้วยเคร่ือง Thermwood LSAM สง่ิ นก้ี ำ�ลงั ดำ�เนนิ ไปไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งในทกุ
ภาคส่วน รวมถึงแมพ่ มิ พอ์ ัดแบบ 3 มติ ิ
ภาพด้านบนคือ ส่วนกันกระแทกด้านหน้าของเรือด�ำน้�ำท่ีพัฒนาโดยความร่วมมือกับ US Naval Surface Warfare ด้วย งานน้ีอาจส่งผลให้เกิดผลิตภัณฑ์
Center ชิ้นส่วนน้ีใช้เวลพิมพ์ 11 ช่ัวโมง 45 นาที ส่วนการกลึงตัดแต่งใช้เวลาเพ่ิมอีก 5 ชั่วโมง ทไ่ี มค่ าดคดิ จากเทคโนโลยนี ้ี อยา่ งไรกต็ าม
ภาพด้านล่าง เป็นส่วนที่พิมพ์แบบการพิมพ์แนวตั้ง (Vertical Layer Printing) วิธีนี้ช่วยให้สามารถพิมพ์ช้ินงาน ปัจจุบัน บริษัทจำ�นวนมากขึ้นเรื่อย ๆ
ที่ยาวมากได้อย่างง่ายดายภายในช้ินเดียว กำ�ลังมองหาแนวทางการใช้งานท่ีคุ้มค่า
สำ�ห รั บ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ผ ลิ ต แ บ บ เ พิ่ ม
เนื้อวสั ดทุ ่ีมีอยู่ตอนนี้

ท่มี า: www.thermwood.com

16 THAI COMPOSITES MAGAZINE

งวาิธนีกคารอผมโลพิตสชทิ ิ้น

ดว้ ยระบบแวค็ คั่มแบบใหม่

รวดเร็ว ราคาถูก
และใชซ้ ำ�้ ได้

จจุบันการผลิตชิ้นงานไฟเบอร์ ผู้เขยี น
ก ล า ส ด ้ ว ย ร ะ บ บ แ ว็ ค ค่ั ม
อนิ ฟวิ ชนั่ Vacuum infusion คณุ ณฐั วฒุ ิ ชยั ญาคณุ าพฤกษ์
กำ�ลังมีความสนใจมากขึ้น เพ่ือทดแทน บรษิ ทั นโี อเทค คอมโพสทิ จำ�กดั
การผลติ ดว้ ยวธิ แี บบเกา่ ดว้ ยการใชม้ อื ทา
Hand lay up แตพ่ บปัญหาท่ปี ฎิเสธไม่ แผน่ ซิลโิ คนเปน็ วัสดใุ หม่ โดยมคี ุณสมบัตดิ งั น้ี
ได้ คอื ใชไ้ ดค้ รงั้ เดยี ว เนอ่ื งจากการใชถ้ งุ
พลาสติก เพอื่ คลมุ ชิน้ งานใหป้ ดิ สนทิ และ - ลดปรมิ าณขยะ ใชซ้ ้ำ� ได้ - ลดวสั ดสุ ิ้นเปลอื ง - ลดค่าแรงงาน
ใช้เครื่องแว็คค่ัมดูดอากาศออกจนเกิด - ลดการใชท้ กั ษะคนงาน - เพ่ิมความเร็วในการผลติ - เพ่มิ คุณภาพในการผลติ
สุญญากาศในชิ้นงาน เมื่อใช้งานเสร็จ
แลว้ จะตอ้ งเปดิ ถงุ เพอื่ นำ�ชน้ิ งานไปใชง้ าน
พลาสตกิ ทฉ่ี กี ออกไมส่ ามารถนำ�ไปใชใ้ หม่
ไ ด ้ จึ ง เ กิ ด เ ศ ษ วั ส ดุ ท่ี ต ้ อ ง ท้ิ ง ไ ป
จำ�นวนมาก
แผ่นวัสดุที่ใช้แว็คคั่มท่ีนำ�มาใช้ทดแทนได้
อาจมหี ลายอยา่ ง บางชนดิ ยอมใหอ้ ากาศ
ผ่านได้ บางชนิดอากาศผ่านได้บ้าง
บางชนิดไม่ให้อากาศซึมผ่านได้เลย เรา
ต้องการวัสดุท่ีอากาศซึมผ่านไม่ได้เลย
และหากใช้ซ้�ำไดห้ ลายๆ ครง้ั ดีทสี่ ดุ
เมื่อเริ่มดูดอากาศออก แผ่นซิลิโคน
สามารถกกั อากาศไดเ้ องโดยไมต่ อ้ งใชเ้ ทป
กาวซีลขอบช้ินงาน จนกระทั่งอากาศ
ออกจากแผน่ ไฟเบอร์ เกดิ แรงกดอากาศ
ในไฟเบอร์ ปลอ่ ยใหเ้ รซ่ินไดไ้ หลเขา้ แทนที่
อากาศในช้ินงานทั้งหมด และทนแรงกด
อ า ก า ศ ท่ี เ พ่ิ ม ขึ้ น ไ ด ้ ข ณ ะ ผ ลิ ต ช้ิ น ง า น
แว็คคั่มคอมโพสิท เชน่ งาน Prepreg ท่ี
ตอ้ งเพ่มิ แรงกดอากาศร่วมด้วย

17WWW.FIBERGLASSTHAI.COM

รูปท่ี 1 แผน่ ซิลิโคน สามารถผลติ ชนิ้ งานขนาดใหญก่ ว่า 50 ตรมได้ ใชเ้ รซนิ 140 กก. รูปท่ี 2 แผ่นซิลิโคน สามารถลดค่าแรงงานได้ โดยการปิดแผ่นซิลิโคน และสร้าง
ในการท�ำอินฟิวชนั่ แรงดดู สญุ ญากาศใหช้ ้ินงานในเวลาไมก่ ว่ี ินาที

รูปท่ี 3 หลงั คารถโฟล์คแวน ผลติ ด้วยการอนิ ฟิวชัน่ ในเวลา 4.5 นาที ดว้ ยชอ่ งนำ� รปู ท่ี 4 การใชง้ านโมลดซ์ ลิ ิโคน 4 ครั้ง จะถึงจดุ คุ้มทุนเมอื่ เทียบกบั การแวค็ ค่ัมดว้ ยถุง
เรซนิ ภายใน morph feed ทไ่ี ม่ทิง้ รอ่ งรอยทอ่ นำ� เรซิ่นบนช้ินงาน สญุ ญากาศในสภาพปกติ (วสั ดแุ ละค่าแรงงาน) และการใชง้ าน 7 คร้ัง จะถึงจดุ คุ้มทุน
หากเทยี บเฉพาะคา่ วสั ดแุ วค็ คม่ั อย่างเดยี ว

แผน่ ซลิ โิ คนสามารถใชก้ บั การอนิ ฟวิ ชน่ั เรซน่ิ สรปุ ไดว้ า่ วสั ดแุ ผน่ ซลิ โิ คนแวค็ คมั่ สามารถ ใช้ผลิตชิ้นงานอากาศยาน ป้องกันการ
และทดแทนการผลิตแบบ RTM และ ลดตน้ ทนุ ลดเศษขยะ ลดทกั ษะของคนงาน รั่วขณะผลิตด้วยวิธีแว็คค่ัมได้แน่นอน
LRTM การผลติ แบบ Prepreg ทั้งแบบ ในการผลติ ไดช้ น้ิ งานสมำ�่ เสมอ ผลติ ไดเ้ รว็ สามารถเพม่ิ แรงดดู มากขน้ึ ไดต้ ามแรงดดู
ในและนอก autoclave ทนอณุ หภูมิถงึ ไมต่ อ้ งบำ�รงุ รกั ษา ใชไ้ ดถ้ งึ 1,200 ครงั้ ของเคร่ืองแว็คคั่ม ดังนั้นจึงไม่ต้องท้ิง
200 C๐ สำ�หรบั เรซนิ่ โพลเี อสเตอร์ ทดอณุ หภมู ถิ งึ พลาสตกิ ในการผลติ แวค็ คั่มอกี ต่อไป
200 C๐+

ท่มี า : “A new rapid composite technology step with lower cost
production in vacuum bagging” JEC Forum Bangkok – July 2019
Present By: Alan Harper, CEO, Alan Harper Composites Ltd.

3. เครอ่ื งพน่ เจลโคด๊ และใยแกว้ 4. วสั ดสุ �ำหรับงานแวค็ คัม ทกุ ชนดิ
เครอื่ งฉดี เรซน่ิ LRTM : NJ Robinson
เครอื่ งพน่ ซลิ โิ คนโมลด์ : Alan Harper Composites Bagging Film, Peel ply, Breather,

Flow media, Sealant tape Diatex

6. Axel Plastic น้�ำยาถอดแบบ สตู รน�ำ้
ชนดิ ก่ึงถาวร Semi-permanent, Sealer, Cleaner
Farecla น้�ำยาขดั หยาบ ขัดละเอียด ขดั เงา

02-517-4955-6, 086-374-6588, 081-686-2922, 086-374-6588, 086-336-9614, 086-305-2248

19WWW.FIBERGLASSTHAI.COM

กิจกรรมประจ�ำปี 63

 การออกแบบของตกแตง่ บา้ นแบบ Life Style  “THINK AND CHANGE” Make Your
Product Different
สมาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกับ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
และ บริษัท เอ็มเค โพลเี อสเตอร์ เรซน่ิ จำ�กัด จัดการฝกึ อบรม สมาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกบั กรมสง่ เสริมอตุ สาหกรรม และ
ในวนั ท่ี 28-30 มกราคม 2563 บริษัท พงษ์พนา จำ�กัด จัดการฝึกอบรม ในวันท่ี 25-27
กมุ ภาพนั ธ์ 2563

 “การหมุ้ ชิน้ งานดว้ ยคาร์บอนไฟเบอร”์  การเคลอื บพื้นอีพอ็ กซ่ี

สมาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกับ บริษัท เจเอ็น ทรานสอส สมาคมไทยคอมโพสทิ รว่ มกบั บรษิ ทั คอนกรตี คอมโพสทิ จำ�กดั
(ประเทศไทย) จำ�กดั จดั การฝกึ อบรมในวนั ที่ 4 มถิ นุ ายน 63 จดั การฝกึ อบรมในวันที่ 2 กรกฎาคม 2563

20 THAI COMPOSITES MAGAZINE

การจ�ำลองทางวศิ วกรรม

การรอ่ นที่ไปไดไ้ กลกวา่ และเร็วกว่า

เพ่ือลดแรงต้านที่ปีกของเครื่องร่อน (Sailplanes) เพ่ือให้

สามารถบนิ ไดเ้ ร็วข้นึ และไกลขึ้น วศิ วกรจำ�เปน็ ต้องลดขนาดพื้นทผ่ี วิ ของปีกลง งาน
ท่ีซับซ้อนน้ีเกี่ยวข้องกับความท้าทายทั้งในศาสตร์ของไหล โครงสร้าง และวัสดุ
คอมโพสทิ ทจ่ี ะตอ้ งถกู ศกึ ษาและแกไ้ ขไปพรอ้ มกนั แบบคขู่ นานซงึ่ สามารถทำ�ไดโ้ ดยใชก้ าร
จำ�ลองทางวิศวกรรมเท่านั้น

อลู ริช ไซมอน (Ulrich Simon)

วศิ วกร บรษิ ทั Alexander Schleicher
Segelflugzeugbau

แผนก เครอื่ งบนิ รอ่ นรนุ่ AS (AS Sailplanes)

ในขณะที่คนส่วนใหญ่คิดว่าเคร่ืองร่อน ความท้าทายทางอากาศพลศาสตร์ ยังสามารถลดพ้ืนท่ีผิวบริเวณปีกลงได้
เป็นอันตรายมากกว่าเคร่ืองบินที่ขับ โครงสรา้ ง และวสั ดุ อกี เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของเครอื่ งรอ่ น
เคล่ือนด้วยมอเตอร์ แต่ผู้ที่หลงใหลใน เ ค รื่ อ ง ร ่ อ น ป ร ะ เ ภ ท ที่ ดี ท่ี สุ ด ท่ี ถู ก ใ ช ้ การลดลงของพื้นท่ีผิวปีกแม้เพียงเล็ก
เคร่ืองร่อนบอกว่ามันปลอดภัยกว่า สำ�หรับการแข่งขันมีน�้ำหนักอยู่ระหว่าง น้อยก็สามารถลดแรงต้านตามหลัก
เพราะไม่มีเครื่องยนต์ท่ีสามารถเสียหาย 400 กิโลกรัม ถึง 600 กิโลกรัม ความ อากาศพลศาสตร์ได้อย่างมีนัยสำ�คัญ
และก่อให้เกิดโศกนาฏกรรมได้ นักบิน ยาวปีก 18 เมตร พื้นท่ีผิวปีกขนาด ดังนั้นพวกเขาจึงตัดสินใจลดพ้ืนที่ผิว
เคร่ืองร่อนที่มีทักษะการบินสามารถขับข่ี 10.5 ตารางเมตร และความหนาของปีก จาก 10.5 ตารางเมตรเหลือ 10 ตาราง
เคร่ืองร่อนผ่าน “thermals” ซึ่งเป็น เพียง 10 เซนติเมตร ในขณะที่ความยาว เมตร โดยการให้ความยาวปีกคงที่ 18
อากาศร้อนที่ทำ�ให้เครื่องบินสามารถบิน ปีกและความหนานี้ใกล้เคียงกับขีดจำ�กัด เมตร พวกเขาสร้างปีกท่ีมีคอร์ดเฉลี่ย
อย่ใู นระดับสูงถึง 1,000 กิโลเมตร และ ในทางปฏิบัติท่ีจะสามารถทำ�ได้แล้ว แต่ ขนาดส้ันลง (ความยาวจากชายหน้าปีก
เวลาบินมากกว่า 10 ชวั่ โมง ที ม วิ ศ ว ก ร แ ล ะ ผู ้ เ ช่ี ย ว ช า ญ ด ้ า น ถึงชายหลังปีก) และความหนาของปีก
เครื่องร่อนรุ่น AS Sailplane เช่ือว่า จึงลดลงด้วย

แต่การจะเพิ่มความเร็วและพิสัยการบิน รูปท่ี 1 เคร่ืองร่อนรุ่น AS 33
(ระยะทางที่อากาศยานบินได้นับตั้งแต่ขึ้น
บนิ จนกระทงั่ ลงจอด) จำ�เปน็ ตอ้ งลดแรง
ต้าน (drag) โดยรวมของเคร่ืองรอ่ นลง
ทีมวิศวกรของบริษัท Alexander
Schleicher Segelflugzeugbau
แผนก AS Sailplanes ใช้ซอฟต์แวร์
ANSYS ในการจำ�ลองโครงสร้าง
คอมโพสทิ และวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมการไหล
ของอากาศ เพื่อที่จะออกแบบปีกด้วย
โครงสรา้ งคอมโพสทิ แบบใหมท่ มี่ พี นื้ ทผี่ วิ
ลดลงและเพื่อลดแรงต้านในเคร่ืองร่อน
รุ่น AS 33

21WWW.FIBERGLASSTHAI.COM

แ ม ้ ว ่ า น่ี อ า จ จ ะ ฟ ั ง ดู ไ ม ่ เ ห มื อ น ก า ร สำ�ห รั บ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ์ ค ว า ม เ ค ้ น แ ล ะ คำ�นวณในโมดูล Fluent การวิเคราะห์
เปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ แต่น่ีถือเป็นการ ความเครียดโดยใช้เกณฑ์ความเสียหาย ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง เ ชิ ง ก ล ใ น โ ม ดู ล
เปลยี่ นแปลงครง้ั สำ�คญั สำ�หรบั เครอ่ื งบนิ ของคอมโพสทิ บนวสั ดุแบบใหม่ M e c h a n i c a l แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ์
ท่ีมีมานานแล้วและดูเหมือนจะใกล้เคียง โครงสร้างท่ีทำ�จากวัสดุคอมโพสิทใน
กับการออกแบบที่ดีที่สุดแล้ว ส่ิงนี้ถือ รูปที่ 2 แบบจ�ำลองที่สร้างขึ้นเพื่อตรวจสอบต�ำแหน่ง โมดูล Composite PrepPost ได้ใน
เ ป ็ น ค ว า ม ท ้ า ท า ย ท่ี ที ม วิ ศ ว ก ร ต ้ อ ง ที่เหมาะสมส�ำหรับการติดตั้งปีกกับล�ำตัว ต�ำแหน่งสูง ซอฟตแ์ วร์เดียวกนั
เอาชนะให้ได้ (บนสุด) ถึงต�ำแหน่งตรงกลาง (ล่างสุด) การค�ำนวณชี้
ให้เห็นว่าการติดตั้งปีกกับล�ำตัวท่ีต�ำแหน่งกลางเกิดแรง คำ�ต อ บ สำ�ห รั บ ค ว า ม ท ้ า ท า ย ด ้ า น
การลดลงของพนื้ ทผี่ วิ ปกี จะทำ�ใหแ้ รงยก ต้านน้อยที่สุดท่ีโดยเฉพาะที่ความเร็วสูง อากาศพลศาสตร์
(lift) ลดลงด้วย ดังน้ันจึงต้องมีการ เริ่มแรก ทีมวิศวกรใช้ซอฟต์แวร์
ปรบั ปรงุ ดา้ นอากาศพลศาสตรข์ องระบบ การใช้การจำ�ลอง (simulation) ANSYS Fluent เพอื่ ตอบคำ�ถามทส่ี รา้ ง
เพื่อชดเชยสง่ิ น้ี ปกี ขนาดเลก็ ลงยังทำ�ให้ เ พ่ื อ เ อ า ช น ะ ค ว า ม ท ้ า ท า ย ท า ง ความสับสนให้กับวิศวกรเครื่องร่อนมา
มี พื้ น ท่ี สำ�ห รั บ ส ่ ว น ป ร ะ ก อ บ ท า ง วศิ วกรรม นานหลายปคี อื ตำ�แหนง่ ทดี่ ที สี่ ดุ ในตดิ ตง้ั
โครงสร้างน้อยลงด้วย ดังนั้นวิศวกร ทมี วศิ วกรผอู้ อกแบบเครอ่ื งรอ่ นรนุ่ AS ปกี กบั ลำ�ตวั เพอื่ ใหเ้ กดิ แรงตา้ นนอ้ ยทสี่ ดุ
จำ�เป็นต้องปรับปรุงการออกแบบเพ่ือให้ Sailplane เริ่มโครงการด้วยการใช้ คือตำ�แหน่งไหน บางคนกล่าวว่าการ
ปีกสามารถรับน�้ำหนักได้เท่าเดิมในขณะท่ี เคร่ืองมือวิเคราะห์ท่ีมีภายในบริษัทซึ่งใช้ ติดตั้งปีกไว้ที่ตำ�แหน่งสูงบนลำ�ตัวช่วย
ยังคงความแข็งแรงอยู่ วิศวกรยัง มาหลายปี แต่ไม่นานนักพวกเขาก็ ป้องกันไม่ให้กระแสอากาศไหลออกจาก
ต้องการตรวจสอบว่าการติดต้ังปีกสูง ต ร ะ ห นั ก ไ ด ้ ว ่ า เ ค รื่ อ ง มื อ น้ี ไ ม ่ มี ลำ�ตัวเคร่ืองร่อน ซ่ึงจะทำ�ให้แรงต้านท่ี
ข้ึนบนลำ�ตัวน้ันดีกว่าการการติดต้ังปีก ประสิทธิภาพเพียงพอสำ�หรับงานนี้อีก เกดิ ขน้ึ ลดลง แตบ่ างคนกโ็ ตง้ แยง้ วา่ การ
บ ริ เ ว ณ ก ล า ง ลำ�ตั ว ใ น แ ง ่ ข อ ง ค ว า ม แล้ว การทำ�สัญญากับมหาวิทยาลัย ตดิ ตง้ั ปกี ทต่ี ำ�แหนง่ กลางลำ�ตวั จะใชพ้ นื้ ที่
แข็งแรงและแรงตา้ นท่เี กิดขนึ้ หรือไม่ ตา่ ง ๆ ทจี่ ะรว่ มมอื กนั ในการทำ�โครงการนด้ี ู ตดิ ตงั้ ทม่ี ขี นาดเลก็ กวา่ ซง่ึ จะชว่ ยลดแรง
เหมือนว่ามีราคาแพงเกินไป ไม่ยืดหยุ่น ตา้ นอากาศลงได้ แตใ่ นขณะเดยี วกนั มนั ก็
ค ว า ม ท ้ า ท า ย เ พ่ิ ม เ ติ ม ก็ คื อ ก า ร เ พิ่ ม และไม่เอ้ือต่อการสร้างองค์ความรู้ จะไปเพ่ิมปรากฏการณ์การไหลออกของ
ประสทิ ธภิ าพของ winglets (สว่ นเลก็ ๆ ความเชีย่ วชาญภายในองคก์ ร กระแสอากาสที่ไม่พึงประสงค์ด้วย การ
ที่ ติ ด ตั้ ง อ ยู ่ ท่ี ป ล า ย ป ี ก เ พื่ อ ช ่ ว ย ล ด วศิ วกรคนหนงึ่ ในทมี ซงึ่ เคยใชซ้ อฟตแ์ วร์ ถกเถียงกันยังคงมีอยู่เป็นเวลาหลายปี
ปริมาณอากาศท่ีจะหมุนวนขึ้นสู่ด้านบน A N SYS เ พื่ อ ช ่ ว ย แ ก ้ ป ั ญ ห า ท า ง เพราะไม่มีทางที่จะตอบคำ�ถามนี้อย่าง
ของตวั อปุ กรณน์ น้ั สง่ ผลใหล้ ดแรงตา้ น วิศวกรรมมาก่อน แนะนำ�ว่าการใช้ ชัดเจนโดยการใช้การทดสอบอุโมงค์ลม
ไดด้ ้วยในตัว) ซอฟตแ์ วร์ ANSYS มาจำ�ลองปญั หาและ การใช้การคำ�นวณทางคณิตศาสตร์ก็ไม่
วิเคราะห์แบบไฟไนต์เอลิเมนต์จะสามารถ เพียงพอต่อการตอบคำ�ถามน้ไี ด้ ดงั นัน้
เนื่องจากเคร่ืองร่อนส่วนใหญ่ทำ�จาก เอาชนะความท้าทายทางวิศวกรรมน้ีได้ จึ ง จำ�เ ป ็ น ต ้ อ ง ทำ�แ บ บ จำ�ล อ ง ท า ง
วัสดุคอมโพสิท ยกเว้น แลนดิ่ง เกียร์ ส่ิงที่น่าสนใจอย่างยิ่งคือซอฟต์แวร์นี้ วิศวกรรม
(ส่วนที่ทำ�หน้าท่ีช่วยรับแรงกระแทกใน สามารถแกป้ ญั หาพลศาสตรข์ องไหลเชงิ
ข ณ ะ ร ่ อ น ล ง ) แ ล ะ ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม รูปท่ี 3 การค�ำนวณทางพลศาสตร์ของไหลด้วย
เครื่องจักรกลบนเครื่องร่อน วิศวกร ซอฟต์แวร์ ANSYS Fluent ชี้ให้เห็นจุดที่เกิดความดัน
ทำ�การออกแบบเครื่องร่อนโดยใช้วัสดุ สูงสุดบริเวณจุดเช่ือมต่อระหว่างปีกับ winglet ซ่ึงเดิม
คอมโพสิทแบบเส้นในคาร์บอนท้ังหมด ออกแบบโดยใช้วิธีการแอโรไดนามิกแบบด้ังเดิม หลังจาก
แทนการใช้เส้นใยแก้วและเส้นใยคาร์บอน กระบวนการออกแบบและปรับปรุงด้วย ANSYS Fluent
ผสมกันในเมทริกซ์พอลิเมอร์เหมือนที่ใช้ ก็ช่วยให้ปัณหาน้ีลดลงและช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพอากาศ
กันทัว่ ไป ซอฟตแ์ วร์ ANSYS Fluent พลศาสตร์
ได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีความสำ�คัญ
อ ย ่ า ง ย่ิ ง สำ�ห รั บ ก า ร คำ�น ว ณ อ า ก า ศ
พลศาสตร์ ANSYS Mechanical
สำ�หรับการวิเคราะห์โครงสร้าง และ
ANSYS Composite PrepPost

22 THAI COMPOSITES MAGAZINE

รูปที่ 4 ค่าความปลอดภัย (Safety Factor) ของโครงสร้างคอมโพสิทแบบเสริงแรงด้วยเส้นใยคาร์บอนท่ี วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้างคอมโพสิทห้า
บริเวณจุดเช่ือมต่อของปีกด้านในโดยการวิเคราะห์ด้วยซอฟต์แวร์ ANSYS Composite PrepPost แบบที่แตกต่างกัน ด้วยจำ�นวนช้ันต้ังแต่
100 ถึง 300 ชั้น จากนั้นพวกเขาจึง
หลงั จากวิเคราะห์ตำ�แหนง่ ท่ตี ดิ ตง้ั ปีกกบั การรองรับน�้ำหนักบรรทุกท่ีสูงข้ึนด้วย ทำ�ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ์ ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ข อ ง
ลำ�ตั ว ทั้ ง ห ก ตำ�แ ห น ่ ง โ ด ย ก า ร ใ ช ้ ปีกท่ีเล็กลงนั้นต้องมีการปรับปรุงและ โครงสร้างโดยใช้เกณฑ์ความเสียหาย
ซอฟต์แวร์ ANSYS Fluent ในการ พัฒนาโครงสร้างให้ดีขึ้น ทีมวิศวกรจึง ข อ ง วั ส ดุ ค อ ม โ พ สิ ท เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ
คำ�นวณเชิงพลศาสตร์ของไหล ทีม ตดั สนิ ใจทจี่ ะใชว้ สั ดคุ อมโพสทิ แบบเสน้ ใย ปัญหาที่อาจเกิดข้ึนได้กับโครงสร้าง
วิศวกรก็ได้ข้อสรุปว่าตำ�แหน่งที่ดีที่สุด ค า ร ์ บ อ น ทั้ ง ห ม ด แ ท น ก า ร ใ ช ้ เ ส ้ น ใ ย ดว้ ยการรวมกนั ของนำ�้ หนกั บรรทกุ ทสี่ งู
สำ�ห รั บ ก า ร ติ ด ต้ั ง ป ี ก กั บ ลำ�ตั ว คื อ คาร์บอนผสมใยแกว้ แบบท่ีใช้ก่อนหน้าน้ี ข้ึน ปีกขนาดเล็กและพ้ืนท่ีอันน้อยนิด
ตำ�แหน่งกลางลำ�ตัว โดยระบุว่าตำ�แหน่ง สำ�ห รั บ ก า ร ร อ ง รั บ น้� ำ ห นั ก ข อ ง
น้ีทำ�ให้เกิดแรงต้านน้อยที่สุด โดยเฉพาะ เส้นใยคาร์บอนมีความแข็งแรงกว่า โครงสรา้ งทงั้ หมด มนั จงึ จำ�เปน็ อยา่ งยง่ิ
อย่างยิ่งในสถานการณ์การเข้าโค้งด้วย เส้นใยแก้วและสามารถรับแรงได้สูงกว่า ที่ จ ะ ต ้ อ ง คำ�น ว ณ ค ว า ม เ ค ้ น แ ล ะ
ความเรว็ สงู ดงั นนั้ ทมี วศิ วกรจงึ ตดั สนิ ใจ ที ม วิ ศ ว ก ร ผู ้ อ อ ก แ บ บ เ ค ร่ื อ ง ร ่ อ น ความเครียดที่เกิดในวัสดุอย่างถูกต้อง
ติ ด ต้ั ง ป ี ก ท่ี ก ล า ง ลำ�ตั ว สำ�ห รั บ ตระหนักว่าพวกเขาต้องใช้การวิเคราะห์ แม่นยำ�สำ�หรับโครงสร้างแต่ละชั้นโดยใช้
เคร่ืองร่อนรุ่น AS 33 การแยกตัวของ แบบวิธีทางไฟไนต์เอลิเมนต์และการ ซอฟต์แวร์ Composite PrepPost
การไหลของกระแสอากาศถูกพิสูจน์แล้ว จำ�ลองโครงสร้างวัสดุคอมโพสิทเพ่ือท่ี
ว ่ า เ ป ็ น ป ั จ จั ย ท่ี มี ผ ล น ้ อ ย ก ว ่ า ที่ จะพิสูจน์ว่าโครงสร้างคอมโพสิทแบบ เครอื่ งมอื ในการวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งอน่ื ๆ
คาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้ หากปราศจาก ใหม่น้ีจะแข็งแรงเพียงพอสำ�หรับงานน้ี ส่วนใหญ่ไม่สามารถคำ�นวณความเค้น
พ ล ศ า ส ต ร ์ ข อ ง ไ ห ล เ ชิ ง คำ�น ว ณ หรือไม่ และความเครียดท่ีเกิดข้ึนได้อย่างแม่นยำ�
(Computational Fluid Dynamics: แ ล ะ ไ ม ่ ส า ม า ร ถ ช้ี ใ ห ้ เ ห็ น ถึ ง จุ ด ที่ เ กิ ด
CFD) พวกเขาคงจะไม่สามารถแก้ไขข้อ เน่ืองจากสัดส่วนท่ีคล้ายเข็มของเส้นใย ความเค้นสูงสุดซ่ึงเกิดจากรูปแบบความ
โต้แย้งอันยาวนานนี้ได้ กระบวนการ จึงทำ�ให้คุณสมบัติความแข็งแรงของ เสียหายของวัสดุคอมโพสิทท่ีอาจก่อให้
จำ�ลองที่คล้ายกันนี้ยังถูกนำ�มาใช้เพื่อ วัสดุคอมโพสิทขึ้นอยู่กับทิศทางการวาง เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงต่อปีก
กำ�ห น ด ตำ�แ ห น ่ ง ที่ เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง แนวของเส้นใยและช้ันของวัสดุ เคร่ืองรอ่ นได้ ตอ่ มาทมี วศิ วกรจะทำ�การ
winglets (รูปที่ 2 และ 3) แก้ไขปรับปรุงแบบจำ�ลองซ�้ำ ๆ โดยการ
ส่ิงน้ีเพ่ิมความซับซ้อนให้กับกระบวนการ เพ่ิมชั้นหรือการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ
โครงสร้างและวัสดุ ออกแบบเป็นอย่างมาก ทีมวิศวกร ของช้ันท่ีมีอยู่ เช่น ขนาดช้ัน ทิศทางการ
ปีกท่ีมีขนาดเล็กลงของเคร่ืองร่อนรุ่น ผอู้ อกแบบ AS Sailplane จงึ ตดั สนิ ใจ วางแนวเส้นใย หรือประเภทของวัสดุ ใน
ใหม่ AS 33 จะต้องรองรับน�้ำหนักที่ ที่จะแก้ปัญหาน้ีโดยการใช้ซอฟต์แวร์ บริเวณที่ต้องรับแรงสูง ๆ เพื่อกำ�จัดจุด
เทา่ กนั หรอื สงู กวา่ รนุ่ กอ่ นใหไ้ ด้ เนอ่ื งจาก ANSYS Composite PrepPost ออ่ นใด ๆ กต็ ามทมี่ ใี นการออกแบบ พวก
นำ�้ หนกั ของเครอื่ งรอ่ นเพม่ิ ขน้ึ เพอื่ รองรบั พร้อมด้วยวิธีการ “สร้างแบบจำ�ลองที่ เ ข า ยั ง ใ ช ้ ซ อ ฟ ต ์ แ ว ร ์ A N S Y S
ห้องนักบินที่มีเพ่ิมประสิทธิภาพการ คุณสร้างขึ้น (model as you build Composite PrepPost ในการ
ป้องกันการชนที่ดีข้ึนและระบบการบินท่ี it)” ซอฟต์แวร์ ANSYS Composite ออกแบบสปาร์ (spar) ซง่ึ เปน็ โครงสรา้ งตาม
ตอนนี้ต้องมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ PrepPost ถูกใช้เพ่ือจำ�ลองช้ันแต่ช้ัน แนวความยาวของปีกด้านในท่ีช่วยรับ
เพิ่มข้ึน ในโครงสรา้ งวสั ดคุ อมโพสทิ และสามารถ แรงดัดงอที่ปีกได้รับ สปาร์ทำ�จากวัสดุ
ให้มุมมองที่ละเอียดของผลลัพธ์ท่ีเกิด คอมโพสิทเช่นเดียวกับปีกและลำ�ตัวเพ่ือ
ขึ้นจาการวางเรียงเส้นใยแบบต่างๆ ทีม ให้ได้โครงสร้างที่แข็งแรงทนทาน ในการ
ออกแบบโครงสร้างท่ีแข็งแรง วิศวกรได้
ทดลองใช้ความสามารถในการสรา้ งแบบ
จำ�ล อ ง ที่ ช า ญ ฉ ล า ด ข อ ง ซ อ ฟ ต ์ แ ว ร ์
Composite PrepPost ซึ่งทำ�ให้พวก
เขาได้รับประโยชน์จากคุณสมบัติการ
ส ร ้ า ง แ บ บ จำ�ล อ ง ที่ ใ ช ้ ง า น ง ่ า ย ข อ ง
ซอฟต์แวร์น้ี และสามารถวิเคราะห์
โครงสร้างที่สลับซับซ้อนแบบนี้ได้

23WWW.FIBERGLASSTHAI.COM

รูปที่ 5 ค่าความปลอดภัย (Safety Factor) ของโครงสร้างปีกที่ท�ำจากวัสดุคอมโพสิทที่วิเคราะห์ด้วยซอฟต์แวร์ ANSYS Composite PrepPost บริเวณตรงกลาง
ของคอร์ดท่ีปีกมีค่าความปลอดภัยต�่ำที่สุด (สีส้ม) เนื่องจากหน้าแปลนของสปาร์ที่ต้องรับแรงอัดในบริเวณนี้

ด้วยซอฟต์แวร์ Composite จะใช้เวลา 20 นาทีสำ�หรับการแก้ปัญหา ใช้ซอฟต์แวร์ ANSYS มีบทบาทสำ�คัญ
PrepPost พวกเขาสามารถศึกษา โดยวิธีการเชิงเส้น (linear solution) ในการแสดงให้เห็นถึงความน่าเช่ือถือ
ความเค้นในระนาบสามมิติตามแนวปีก และ 10 ชั่วโมงสำ�หรับการแก้ปัญหาท่ี ของโครงสร้างท่ีมาจากการออกแบบ
และตรวจสอบพ้ืนที่ที่มีโอกาสเกิดปัญหา ไม่ใช่เชิงเส้น (non-linear solution) ใ ห ม ่ น้ี แ ล ะ นำ�ไ ป สู ่ ก า ร อ นุ มั ติ ข อ ง
ได้ ข้ันตอนสุดท้าย ทีมวิศวกรจะทำ�การ โ ด ย ทั่ ว ไ ป แ ล ้ ว ที ม วิ ศ ว ก ร จ ะ ทำ�ก า ร หน่วยงาน
วิเคราะห์โมดอล (modal analysis) จำ�ลองโครงสร้าง 10 ถึง 50 ครั้งเพ่ือ
เพ่ือป้องกันการสั่นสะเทือนที่นำ�ไปสู่การ ให้ได้โครงสร้างที่มีประสิทธิภาพสูงสุด มันจะเป็นไปไม่ได้เลยสำ�หรับทีมวิศวกร
กระพอื ของปกี (flutter)​ในสถานการณ์ และเพื่อตรวจสอบปัญหาและคำ�นวณใน ผอู้ อกแบบเครอื่ งรอ่ นรนุ่ AS Sailplane
ท่ีอันตราย ในแบบจำ�ลองท่ีใหญ่ที่สุดท่ีใช้ กรณีที่ต้องรองรับโหลดจำ�นวนมาก ท่ีจะลดพื้นท่ีผิวปีกของเคร่ืองบินร่อน
ในการจำ�ลองรปู แบบการสน่ั สะเทอื นของ (รูปที่ 4 และ 5) ลง 4.7% (เหลือเพียง 10 ตารางเมตร)
เคร่ืองร่อนท้ังเคร่ือง วิศวกรได้ทำ�การ และผ่านการทดสอบน้ีโดยไม่ต้องใช้
กำ�หนดเมช (mesh) บนแบบจำ� ลอง การตรวจสอบความถูกต้องของ ซอฟต์แวร์ ANSYS ในการสร้างแบบ
จำ�นวน 1.5 ล้านเซลล์ซึ่งส่วนใหญ่เป็น แบบจำ�ลอง จำ�ลองโครงสร้าง ความสามารถในการ
เ อ ลิ เ ม น ต ์ ช นิ ด ท่ี เ ป ็ น แ บ บ ส่ี เ ห ลี่ ย ม ในท้ายท่ีสุด ทีมวิศวกรจะต้องทดสอบ คำ�น ว ณ เ ชิ ง ตั ว เ ล ข เ พื่ อ ดู บ ริ เ ว ณ ท่ี มี
(quadratic elements) กระบวนการ โครงสร้างปีกตามมาตรฐานท่ีหน่วยงาน ค ว า ม เ ค ้ น สู ง ข อ ง แ บ บ จำ�ล อ ง ทำ�ใ ห ้
เมชแบบอัตโนมัติใช้เวลาป ระมาณ 15 ความปลอดภัยด้านการบินแห่งยุโรป นวัตกรรมนี้ในการออกแบบเคร่ืองบิน
นาที ด้วยการใช้คอมพิวเตอร์ที่มีหน่วย กำ�ห น ด เ พื่ อ ข อ อ นุ มั ติ ก า ร ใ ช ้ ง า น ร่อนเป็นไปได้
ประมวลผลแบบ 2 คอร์ การจำ�ลองผล เคร่ืองร่อนนี้ การจำ�ลองโครงสร้างโดย

ที่มา : www.ansys.com
ข้อมูลบางส่วนของบทความน้นี ำ�มาจาก

วารสาร CADFEM

24 THAI COMPOSITES MAGAZINE

เส้นใย Diss grass:

วสั ดเุ สริมแรงแบบใหม่สำ� หรบั วสั ดุคอมโพสิทชีวภาพ
(bio-composite)

Mustapha Nouri, พืช Ampelodesmos mauritanicus คือหญา้ Mauritanian

นักศึกษาปริญญาเอก หรือท่ีเรียกว่า Diss เป็นไม้ยืนต้นท่ีมีอยู่มากมายพบได้ท่ัวไป และมี
ลักษณะท่ีน่าสนใจสำ�หรับวัสดุท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม งานวิจัยนี้มี
Mahfoud Tahlaiti, วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ ศกั ยภาพของเสน้ ใย Diss โดยประเมนิ การ
ใช้งานของเส้นใยเหล่าน้ีในฐานะท่ีเป็นเส้นใยเสริมแรงสำ�หรับเมทริกซ์
นกั วิจยั พอลเิ มอร์ (วัสดคุ อมโพสทิ ชวี ภาพ)
สถาบันวิจยั Icam Nantes & GeM-Centrale Nantes

อีเมล์ตดิ ตอ่ : [email protected]

หญา้ diss (รูปที่ 1) เป็นพชื ตระกูล วตั ถปุ ระสงคข์ องงานนค้ี อื การชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ (ATFD) และความรอ้ น (TTFD) จากน้ัน
ศักยภาพของเสน้ ใย diss สำ�หรับการใช้ จึงทำ�การวิเคราะห์สมบัติทางเคมีฟิสิกส์
ตระกูล Poaceae [1] พืชยนื ตน้ นี้เรยี ก เ ป ็ น เ ส ้ น ใ ย เ ส ริ ม แ ร ง สำ�ห รั บ เ ม ท ริ ก ซ ์ และสมบตั เิ ชงิ กลของวสั ดทุ ี่ได้
วา่ Ampelodesmos mauritanicus พอลเิ มอร์ (วสั ดคุ อมโพสทิ ชวี ภาพ) วธิ กี าร
หรอื หญา้ Mauritanian สามารถสูงได้ ส กั ด ไ ด ้ รั บ ก า ร พั ฒ น า ขึ้ น เ พ่ื อ หญ้า diss แตกต่างจากพืชอื่น ๆ ท่ีมี
ถึง 2-3 เมตร เป็นเส้นใยที่มีความ วัตถุประสงคน์ ี้ เสน้ ใยต่าง ๆ จะถูกสกัด เ ส ้ น ใ ย ม า จ า ก ส ่ ว น ข อ ง เ ป ลื อ ก ห รื อ
แขง็ แรงและมคี วามหนาแนน่ สงู ใบมลี กั ษณะ โดยใช้สารเคมีได้แก่โซเดียมคาร์บอเนต เน้ือเยื่อด้านในของเปลือกหุ้มลำ�ต้น เช่น
แหลม และเติบโตเป็นกระจุกทั้งในดินท่ี (NTFD) ไซเลน (STFD) และกรดอะซติ กิ ป่านและปอ หญ้า diss คือหญ้าที่มี
แห้งมากหรอื นอ้ ยกไ็ ด้ [1] ลั ก ษ ณ ะ ค ล ้ า ย ห ญ ้ า มิ ส แ ค น ทั ส
(Miscanthus) ซ่ึงมีก้านท่ีมีใบแหลม
ยาวท่ีม้วนข้ึนเม่ือพืชได้รับการเก็บเก่ียว
แต่ละใบมีความหนาสองถึงสามร้อย
นาโนเมตร ใบมีลักษณะพ้ืนผิวด้านนอก
เรียบและพ้ืนผิวด้านในเต็มไปด้วยหนาม
คล่ืน (ดูรูปท่ี 2.a) การศึกษาลักษณะ
ของใบเหล่านี้ภายใต้กล้องจุลทรรศน์
แบบใช้แสงแสดงให้เห็นว่าพวกมันอุดม
ไปด้วยเส้นใย

รูปที่ 1 หญ้า diss

25WWW.FIBERGLASSTHAI.COM

รูปที่ 2 ภาพตัดขวางของใบ diss จากกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง a) ก�ำลังขยาย 100 เท่า b) ก�ำลังขยาย
200 เท่า [2]

จากดา้ นนอกสูด่ า้ นใน ใบของหญา้ diss และคณะ [6] ใช้วิธีเอนไซม์ (enzyme
(ดรู ปู ที่ 2.b) ประกอบไปดว้ ยชน้ั หนาของ method) วิธีการสกัดเหล่าน้ีมีผลต่อ
เน้ือเย่ือที่อยู่ช้ันนอกสุด (epidermis) สมบัติเชิงกลของเส้นใย Bourahli [5]
กลมุ่ ของเนอ้ื เยอื่ ทท่ี ำ�หนา้ ทลี่ ำ�เลยี งภายใน พบวา่ ความต้านแรงดึงเฉลี่ย (average
เนอ้ื เยอื่ ของพชื (vascular bundle) ท่ี tensile strength) ของเสน้ ใย diss มี
กลางใบซ่ึงถูกล้อมรอบด้วยเน้ือเยื่อ คา่ 149 ± 81 MPa ในขณะที่ Sarasini
คลอเรงคมิ า (chlorenchyma) เนอื้ เยอื่ และคณะ [6] พบว่าความแรงต่�ำของ
ค ล อ เ ร ง คิ ม า คื อ เ น้ื อ เ ยื่ อ พ า เ ร ง คิ ม า เสน้ ใยนี้มีค่า 19 MPa
(parenchyma) ท่ีมีคลอโรพลาสต์อยู่
ในเซลลส์ ามารถสงั เคราะห์แสงได้ และชัน้ ในการศกึ ษานไี้ ดม้ กี ารพฒั นาวธิ กี ารสกดั
ด้านในที่บางกว่าด้วยเซลล์ท่ีมีลักษณะ สำ�หรับพืชชนิดน้ีเพ่ือดำ�เนินการด้วย
เป็นขนท่ีเรียกว่าไทรโคม (trichome) ตนเองจนกวา่ มนั จะสามารถนำ�มาใชไ้ ดใ้ น
ส่วนด้านในของใบนั้นเต็มไปด้วยเซลล์ ระดบั อตุ สาหกรรม วิธีนยี้ งั สามารถปรับ
เ น้ื อ เ ย่ื อ พ า เ ร ง คิ ม า ห รื อ เ ส ้ น ใ ย เ ล็ ก ๆ ใช้กับเส้นใยมิสแคนทัส (miscanthus
(elementary fibres) fibres) ไดอ้ ีกด้วย

สัณฐานวิทยาท่ีมีลักษณะเฉพาะของ ความหนาแนน่ ของเส้นใย diss ทีว่ ดั โดย
พืชนี้ทำ�ให้เกิดความยากลำ�บากใน วิ ธี พิ ค โ น มิ เ ต อ ร ( pyc n o m e te r
การนำ�ไปใชง้ านในระดบั อตุ สาหกรรม method) คือ 0.93 g/cm3 ซ่ึงต่�ำ
ขณะน้ียังไม่มีวิธีการสกัดสำ�หรับพืช กว่าเมื่อเทียบกับความหนาแน่นของ
ประเภทนี้ (รวมถงึ หญา้ มสิ แคนทัส) ท่จี ะ เส้นใยปอ (hemp) (1.53–1.54 g/
นำ�สัณฐานวิทยาซ่ึงเป็นลักษณะเฉพาะ cm3) ลินิน (flax) (1.4-1.6 g/cm3),
ข อ ง มั น ม า พิ จ า ร ณ า โ ด ย ทั่ ว ไ ป ป่านศรนารายณ์ (sisal) (1.45 g/
กระบวนการสกัดจะถูกทำ�ขึ้นในระดับ cm3) และปอกระเจา (jute) (1.38–
อุตสาหกรรม การไม่มีเทคนิคการสกัดท่ี 1.40 g/cm3) [7]
สามารถปรับให้เข้ากับพืชชนิดน้ีทำ�ให้
ก า ร นำ�ม า ใ ช ้ ป ร ะ โ ย ช น ์ ใ น ร ะ ดั บ รูปที่ 3 แสดงให้เห็นถึงลักษณะของพืช
อุตสาหกรรมเป็นไปได้ยาก Merzoud โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ
และ Hatiba [4] บดพืช diss เพื่อใหไ้ ด้ สแกน (SEM) ศึกษาภาพตัดขวางของ
ส่งิ ท่ีพวกเขาเรยี กว่าเส้นใย diss สำ�หรับ กลุ่มเส้นใย diss หรือเส้นใยเทคนิค
การวจิ ัยวทิ ยานพิ นธข์ องเขา Bourahli (FTD) อันหลังมักจะปรากฏเป็นริบบิ้น
[5] ใช้การแช่หมักเส้นใยในน้�ำและ หนามากหรอื นอ้ ย เสน้ ใยเทคนคิ (FTDs)
โซเดียมคาร์บอเนตซ่ึงเป็นวิธีการละลาย เหล่าน้ีมักจะอยู่ติดกับกับส่วนหน่ึงของ
(dissolution method) Sarasini ผวิ ชนั้ ในท่ีเต็มไปด้วยหนาม

26 THAI COMPOSITES MAGAZINE

รูปที่ 3 การตรวจสอบลักษณะของพ้ืนผิวเส้นใยด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscopy, SEM) 1) ไม่ผ่านการดัดแปลงพื้นผิว
(untreated); 2) ดัดแปลงพื้นผิวด้วยความร้อน 140°C (thermally treated at 140°C); 3) ดัดแปลงพื้นผิวด้วยโซเดียมคาร์บอเนต (treated with NaOH); 4) ดัดแปลง
พื้นผิวด้วยกรดอะซิติก (treated with acetic acid); 5) ดัดแปลงพื้นผิวด้วยไซเลน (treated with silane) [2].
ตารางท่ี 1 ส่วนประกอบทางเคมีของเส้นใยและใบของหญ้า diss [1]

ก า ร ดั ด แ ป ล ง พ้ื น ผิ ว เ ส ้ น ใ ย เ พื่ อ รูปที่ 4 ความต้านทานแรงดึง (tensile strength) และโมดูลัสของยัง (Young’s modulus) ของเส้นใยท่ีไม่ได้ผ่าน
คุณสมบตั ิทีด่ ีขนึ้ การดัดแปลงพื้นผิวและเส้นใยท่ีผ่านการดัดแปลงพื้นผิว [2]
กระบวนการดัดแปลงพนื้ ผวิ ได้แก่ การ
ดดั แปลงพนื้ ผวิ เสน้ ใย TFD ดว้ ยโซเดยี ม ที่ผ่านการดัดแปลงพ้ืนผิว เส้นใยที่ไม่ได้ อลั คาไลน์และไซเลน 26%, 34%, 55%
ไฮดรอกไซด์ (NTFD) ซงึ่ จะทำ�ใหพ้ ื้นผวิ รับดัดแปลงพ้ืนผิวมีค่าความต้านทาน และ 60% ตามลำ�ดบั
สะอาดกวา่ พน้ื ผวิ ของเสน้ ใย TFD ทไ่ี มไ่ ด้ แรงดึง (tensile strength) โมดูลัส ผลทไ่ี ดแ้ สดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วามเปน็ ไปไดท้ จี่ ะ
รับดัดแปลงพ้นื ผิว (UTFD) และพน้ื ผวิ ของยงั (Young’s modulus) และการ นำ�เส้นใยเหล่าน้ีมีในการนำ�มาใช้งานใน
ท่ีถูกดัดแปลงด้วยไซเลน (STFD) ก็จะ ยืดตัวที่จุดแตกหัก (elongation at รปู แบบตา่ ง ๆ โดยเฉพาะการมพี นื้ ผวิ ทห่ี ยาบ
สะอาดกว่า UTFD ดว้ ยเชน่ กัน พนื้ ผวิ break) ท่ี 273 ± 36 MPa, 11.46 ± มหี นาม ความหนาแนน่ ตำ�่ และความตา้ นทาน
ของ TFDs ที่ได้รับการดัดแปลงด้วย 2.25 GPa และ 2.67 ± 0.60 ตามลำ�ดบั แรงดงึ สงู ถงึ 270 MPa นอกจากนกี้ าร
ด้วยกรดอะซิติก (ATFD) นั้นจะมีการ หลังจากผ่านกระบวนการดัดแปลงพื้น ดดั แปลงพนื้ ผวิ ทเี่ ลอื กมาทงั้ หมดนยี้ งั นำ�ไป
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพท่ีสังเกตได้ ผวิ แบบตา่ ง ๆ สงั เกตพบวา่ ความเคน้ ดงึ สกู่ ารเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพเกยี่ วกบั ภาวะเสน้ ใย
อย่างชัดเจนกลายเป็นราบเรียบและ (tensile stress) ไมม่ กี ารเปล่ยี นแปลง มดั สภาพพน้ื ผวิ ของเสน้ ใยและพฤตกิ รรม
สะอาดกว่า UTFD เช่นเดียวกับกรณี อย่างมีนัยสำ�คัญ แต่โมดูลัสของยัง เชงิ กลของเสน้ ใยดว้ ย
ของพน้ื ผวิ ของ TFDs ทไี่ ดร้ บั ความรอ้ น (Young’s modulus) มคี า่ สงู ขึน้ อยา่ ง
(TTFD) มีนัยสำ�คัญหลังจากผ่านกระบวนการ ท่ีมา: www.icam.fr
เปอร์เซ็นต์โดยมวลของส่วนประกอบ ดัดแปลงด้วยความร้อน อะซิติเลชั่น
หลักทางเคมีของเส้นใยและใบของหญ้า
diss เช่น ลิกนินและคาร์โบไฮเดรต ถูก
คำ�น ว ณ โ ด ย ใ ช ้ วิ ธี โ ค ร ม า โ ท ก ร า ฟ ี
(chromatographic) และวิธี acetyl
bromide ตามลำ�ดับ (ดตู ารางที่ 1)
รูปท่ี 4 แสดงความต้านทานแรงดึง
(tensile strength) และโมดลู สั ของยงั
(Young’s modulus) ของเส้นใย TFD
ทไี่ มไ่ ดผ้ า่ นการดดั แปลงพน้ื ผวิ และเสน้ ใย

ผูผ้ ลิต ผลติ ภณั ฑไ์ ฟเบอรก์ ลาส และเฟอร์นเิ จอร์ www.frpindustry.com

28 THAI COMPOSITES MAGAZINE

เรอื พลังงาน
แสงอาทติ ย์

(Solar Powered
Catamaran)

เรือพลงั งานแสงอาทติ ยล์ �ำแรกของประเทศไทยทผ่ี ลติ ในเชงิ พานชิ ย์

วามสวยงามของท้องทะเลไทย การเดินทางมีลักษณะเป็นการเร่งรีบเดิน อย่างไรก็ตามการนำ�พลังแสงอาทิตย์มา
ส ร ้ า ง มู ล ค ่ า ใ ห ้ กั บ ภ า ค ทางจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหนึ่งให้เร็ว เป็นแหล่งพลังงานทดแทนน�้ำมันยังเป็น
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทสี่ ดุ จำ�นวนคนเดนิ ทางมากทส่ี ดุ ทำ�รอบ ความท้าทายทางวิศวกรรมอย่างหน่ึง
อย่างมหาศาล ดึงดูดนักท่องเที่ยวท้ัง ต่อวันให้ได้มากท่ีสุด นักท่องเท่ียวไม่ ของมนุษย์ในศตวรรษนี้
จากในประเทศ และต่างประเทศ เข้ามาสู่ สามารถเพลดิ เพลนิ กบั ทวิ ทศั นท์ า่ มกลาง ท่านผู้อ่านอาจเคยเห็นคลิปในโซเชียล
พื้นท่ีชายฝั่งทะเล และเกาะต่างๆ เกิด การเดนิ ทางอยา่ งเงยี บๆ หรอื ทำ�กจิ กรรม มเี ดยี ทนี่ กั ประดษิ ฐด์ ดั แปลงยกระบบไฟฟา้
กิจกรรมท่องเที่ยวตามแนวชายฝั่งทะเล อ่ืนๆ บนเรือได้เนื่องจากไม่สามารถยืน พลังแสงอาทิตย์ และมอเตอร์มาใส่เรือ
ตามมา เชน่ ดำ�น้�ำดูปะการัง ตกปลา หรือ หรอื เดนิ ไปมาได้ สว่ นนกั ทอ่ งเทย่ี วทเ่ี ลอื ก แล้วว่ิงทดสอบ ซ่ึงทราบกันดีว่าเรือ
เดินทางไปหาด หรือเกาะใกล้เคียง ซ่ึง ใชบ้ รกิ ารเรอื เหลา่ นมี้ กั ตอ้ งการไปเทย่ี วให้ เหลา่ นนั้ ไมส่ ามารถตอ่ ยอดในเชงิ พานชิ ยไ์ ด้
พาหนะที่ใช้งานทั่วไป ได้แก่ เรือเร็ว ไดม้ ากสถานทใ่ี หไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ โดยใชจ้ า่ ยให้ ในขณะทนี่ าวาเลยี นเองมปี ระสบการณแ์ ละ
เรอื หางยาว เรอื ประมงดดั แปลง เปน็ ตน้ ซงึ่ น้อยท่ีสุด ซ่ึงต่างจากการเล่นเรือใบที่ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ท า ง วิ ช า กั บ ส ถ า บั น
ลว้ นแตใ่ ชเ้ ครอื่ งยนตส์ นั ดาปภายในซงึ่ กอ่ ต้องอาศัยทักษะแต่ให้สุนทรียภาพได้ อดุ มศกึ ษาชนั้ นำ�ของประเทศ เราไดท้ ราบ
ให้เกิดมลพิษทางเสียง ความส่ันสะเทือน มากกวา่ นบั เปน็ การสนิ้ เปลอื งตน้ ทนุ ทาง ว ่ า ข ้ อ จำ�กั ด ท่ี สำ�คั ญ ที่ สุ ด ข อ ง เ รื อ
รวมถึงการปนเปื้อนของไอเสียและคราบ ส่ิงแวดล้อมของประเทศชาติอีกด้วย พลังงานแสงอาทิตย์นั้นอยู่ท่ีตัวเรือ จึง
น�้ำมันลงสู่ทะเล ทำ�ให้อัตราการเจริญ ดงั นนั้ การพฒั นานวตั กรรมเรอื ทอ่ งเทย่ี ว ได้ทำ�การออกแบบตัวเรือด้วยความ
เติบโตของปะการังลดลง และมีการ ที่ไมใ่ ช้น�้ำมัน เงยี บ และสามารถใช้งานได้ ประณตี มกี ารทดสอบทางวศิ วกรรมและ
ฟอกขาวของปะการังเพ่ิมข้ึน เกิดความ ง ่ า ย จึ ง มี ค ว า ม สำ�คั ญ สำ�ห รั บ ก า ร แบบจำ�ลอง การขึ้นรปู ต้นแบบเพ่อื สรา้ ง
เส่ือมโทรมของแหล่งท่องเที่ยว รวมถึง ทอ่ งเทยี่ วทางทะเลในอนาคต ซง่ึ ทมี งานได้ แม่พิมพ์ทำ�ด้วยเคร่ืองจักร CNC
อันตรายจากความเร็วของเรือ และใบ มองไปท่ีดวงอาทิตย์ซ่ึงถือเป็นแหล่ง ควบคุมความแม่นยำ�ในระดับมิลลิเมตร
จักรต่อนักท่องเท่ียวที่เล่นน้�ำทะเลอยู่ พลังงานสะอาดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก

29WWW.FIBERGLASSTHAI.COM

กว่าจะมาเปน็ “Orca” เรือคาตามารานพลังงาน
แสงอาทติ ย์เชิงพาณิชย์ลำ� แรกของประเทศไทย

ทาง นาวาเลียน ได้มีความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยมหิดล
คณะส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ หลักสูตรเทคโนโลยีที่เหมาะสม
และนวตั กรรมดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ คณะพาณชิ ย์
นาวีนานาชาติ สาขาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ กรมอุทยาน
แหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื ตง้ั แตศ่ กึ ษาความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทยี่ ว
ผ้ปู ระกอบการ ออกแบบ และตอ่ เรือพลังงานแสงอาทติ ย์ ต้นแบบขนาด
7 เมตร สำ�หรับชมรมท่องเทย่ี วเกาะหมาก และ 17 เมตร สำ�หรบั ปฏบิ ัติ
การพเิ ศษแหง่ ชาติทางทะเลท่ี 4 ตราด ภายใต้การสนับสนนุ งบประมาณ
จากทง้ั กองทนุ สิง่ แวดล้อมโลก และทนุ จากหนว่ ยงานรฐั บาลและเอกชน
ในประเทศ ซ่ึงต่อมาได้พัฒนา Orca ขึ้นมาภายใต้การสนับสนุนจาก
สำ�นกั งานนวัตกรรมแห่งชาติ

และต้องขอบคุณวัสดุคอมโพสิทท่ีช่วย แสงอาทิตย์เท่านั้น แต่สามารถติดต้ัง ผเู้ ขยี น
ให้การสร้างท้องเรือเป็นไปตามแบบได้ ระบบชารจ์ ไฟฟา้ เพม่ิ เตมิ ได้ หากใชง้ านวนั ละ
อย่างแขง็ แรง โดยตวั เรือมีความยาว 8 30 กิโลเมตร เม่ือเปรียบเทียบกับเรือ ผศ.ดร.กันต์ ปานประยูร
เมตร กว้าง 3.6 เมตร ความเร็วสูงสดุ เคร่ืองยนต์ดีเซลในขนาดเดียวกันอัตรา ทปี่ รกึ ษานวตั กรรม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
10 นอ๊ ต รองรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วได้ 20 คน การสิน้ เปลืองท่ี 1 กม./ลิตร จะสามารถ
ห้องน้�ำ 1 ห้อง ติดต้ังระบบเดินเรือ ประหยัดค่าน้�ำมันเช้ือเพลิง น้�ำมันเครื่อง
มาตรฐาน พ้ืนท่ีขึ้นลงท้ายเรือ ติดต้ัง ได้เกือบส่ีแสนบาทต่อปีจึงมีค่าใช้จ่าย
ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบ ตลอดอายุการใช้งานต่�ำกว่าเรือน�้ำมัน
ควบคุมการชาร์จอัตโนมัติ ระบบขับ มาก รวมถึงลดปริมาณการปลดปล่อย
เคล่ือนใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูงแบบ คาร์บอนได้ประมาณสามหมื่นกิโลกรัม
direct drive ระบบกักเก็บพลังงาน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี เรือ
เลอื กใชแ้ บตเตอรลี่ เิ ทยี ม เพยี งพอสำ�หรบั ผา่ นการทดสอบและเกบ็ ขอ้ มลู จนมน่ั ใจได้
การเดนิ ทางระหวา่ ง 30-60 กโิ ลเมตร ซงึ่ ว่าสามารถตอบโจทย์การท่องเท่ียวตาม
ตามแบบเรือมาตรฐานจะใช้พลังงานจาก แนวชายฝัง่ ในยุคสมัยใหมไ่ ดจ้ รงิ

 จ�ำหน่ำยอปุ กรณ์ในงำนซอ่ มคอมโพสิท
อำทิ Hot Bonder, Heat Blanket, Curing
System และ Repair Clave

 จำ� หนำ่ ยวสั ดุที่ใชใ้ นงำนซอ่ มแซมคอมโพสทิ
อำทิ Resin, Prepreg และ Dry Fabric

 บริกำรดำ้ นกำรฝกึ ทักษะและใหค้ วำมรู้
อำทิ Composite Repair Training, Metal
Bonding Training และ Tooling Workshop
Training

We are your
“One Stop Shop”

for Composite
Repair

บริษทั อวเิ อเท็ค จำ� กัด เปนผจ้ ู ำ� หน่ำยอย่ำงเปนทำงกำร จำกบริษัท Heatcon ประเทศสหรฐั อเมรกิ ำ ในด้ำนอปุ กรณซ์ อ่ ม
คอมโพสิท, วัสดุ และใหบ้ รกิ ำรฝกึ อบรมให้กับหน่วยงำนในประเทศไทยมำมำกกวำ่ 15 ป
เรำมีควำมเชี่ยวชำญในกำรท�ำงำนกับผู้ผลิตอำกำศยำน (OEMs), สำยกำรบินพำณิชย์ งำนซ่อมบ�ำรุงอำกำศยำน
(MRO) กำรซ่อมคอมโพสิทของระบบควบคุมกำรบิน และโครงสร้ำงหลักอำกำศยำนที่เปนวัสดุคอมโพสิท โดยกำรให้ควำม
เช่ียวชำญในดำ้ นควำมรู้ ทกั ษะ และเครื่องมอื ในกำรซอ่ มบ�ำรงุ

บางนา- ตราด 30 แขวงบางนาใต เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 31/1 ซอยบางนา- ตราด 30 แขวงบางนาใต เขตบางนา กรงุ เทพมหานคร 10260
โทร: +66 (0) 2399 1311 ตอ 16 www.aviatec-bangkok.com โทร: +66 (0) 2399 1311 ตอ 16 www.aviatec-bangkok.com

HIGH PROFOMANCE

CARBON FIBER REINFORCEMENTS

One Stop Shop

Let your creativity

TALK

- Carbon Fiber Fabrics
- Fiberglass
- Resins
- Hardener
- Vacuum kits

ALPHACOMPOSITIONTHAI @ALPHA2013 ALPHACOMPOSITION ALPHACOMPOSITION.COM

E-MAIL TEL. +662 929 1205 ADDRESS ALPHA COMPOSITION CO.,LTD ( HEAD OFFICE)
[email protected] FAX +662 929 1206 8, SOI THOET RACHAN 47, THOET RACHAN RD.,SIKAN SUBDISTRICT,
[email protected]
DON MUEANG DISTRICT, BANGKOK, 10210, THAILAND


Click to View FlipBook Version