The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 2_มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by แมวน้อยตาหวาน, 2019-06-04 03:43:41

บทที่ 2_มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร

บทที่ 2_มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร

มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกรน้ี กาหนดข้ึนเป็นมาตรฐานเพื่อให้ฟาร์มท่ีต้องการ
ข้ึนทะเบียนเป็นฟาร์มท่ีได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ได้ยึดถือปฏิบัติเพ่ือให้ได้การ
รบั รองจากกรมปศสุ ัตว์ ซงึ่ มาตรฐานน้ีเกณฑ์มาตรฐานข้ันพ้ืนฐานสาหรับฟาร์มใหไ้ ด้
การรับรองจากกรมปศุสัตว์ ซึ่งมาตรฐานน้ีเป็นเกณฑ์มาตรฐานข้ันพื้นฐานสาหรับ
ฟาร์มทไี่ ด้การรบั รอง

ฟาร์มสุกร หมายถงึ ฟารม์ ท่ผี ลิตสกุ รขนุ เพอื่ การค้า ฟาร์มพ่อ-แม่พันธเุ์ พ่อื ผลิตสกุ ร
และฟาร์มเลย้ี งสกุ ร

วตั ถปุ ระสงค์

มาตรฐานฟาร์มเล้ยี งสกุ รนก้ี าหนดวธิ ีปฏบิ ตั ิด้านการจดั การฟารม์ การจดั การ
ดา้ นสุขภาพสัตวแ์ ละการจัดการด้านสงิ่ แวดล้อม เพอ่ื ใหไ้ ดส้ ุกรท่ีถกู สขุ ลกั ษณะและ
เหมาะสมตอ่ ผู้บรโิ ภค

องคป์ ระกอบของฟาร์ม

1 ทาเลท่ตี ง้ั ของฟาร์ม

1.1อยใู่ นบริเวณทีม่ ีการคมนาคมสะดวก
1.2สามารถปอ้ งและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคจากภายนอกเข้าส่ฟู ารม์
1.3อยู่ห่างจากแหล่งชุมชน โรงฆา่ สัตว์ ตลาดนัดคา้ สัตว์

1.4 อยู่ในทาเลที่มีแหลง่ น้าสะอาดตามมาตรฐานคุณภาพนา้ ใชเ้ พยี งพอต่อการบริโภคตลอดปี
1.5 ควรไดร้ ับการยนิ ยอมจากองคก์ ารบริหารราชการสว่ นท้องถิ่น
1.6 เป็นบริเวณทไ่ี มม่ นี ้าท่วมขัง
1.7 เป็นบรเิ วณทโ่ี ปรง่ อากาศสามารถถา่ ยเทไดด้ รและมตี ้นไมใ้ หร้ ่มเงาภายในฟาร์ม

2 ลกั ษณะของฟาร์ม

2.1 เน้อื ทขี่ องฟารม์ ตอ้ งมีเนอื้ ทเ่ี หมาะสมกบั ขนาดของฟาร์ม

2.2 การจัดแบ่งเนือ้ ที่ ต้องมีเน้ือท่ีกว้างเพียงพอสาหรับการจัดแบ่ง การก่อสร้างอาคาร
โรงเรือนอย่างเป็นระเบียบลิดคล้องกับการปฏิบัติงานและการรักษาสิ่งแวดล้อมได้ตาม
วิชาการ ฟาร์มจะต้องมีการจัดแบ่งพื้นที่ฟาร์มเป็นสัดส่วนโดยต้องมีรั้วเพ่ือป้องกัน
ไม่ให้สัตว์ชนิดอ่ืนเข้าออกบริเวณพ้ืนท่ีเล้ียงสัตว์ได้ และมีผังแสดงการจัดวางที่แน่นอน
ไดแ้ ก่

-พ้ืนที่เลีย้ งสตั ว์
-โรงเก็บอาหารสัตวโ์ รงผสมอาหารสตั ว์
-พน้ื ท่ที าลายซากสัตว์
-พื้นทบ่ี าบัดน้าเสยี และส่ิงปฏกิ ูล
-อาคารสานกั งาน ท่จี อดรถและบา้ นพักอาศยั

2.3 ถนนในฟารม์ ตอ้ งใชว้ สั ดุคงทน มสี ภาพและความกว้างเหามะสมสะดวกในการขนส่ง
ลาเลียงอุปกรณ์ อาหารสัตว์ รวมทั้งผลผลติ เข้า-ออก จากภายนอกและภายในฟาร์ม

2.4 บ้านพักอาศัยและอาคารสานักงาน อยู่ในบริเวณอาศัยโดยเฉพาะ ไม่มีการเข้าอยู่
อาศัยในบริเวณโรงเรือนเล้ียงสัตว์ บ้านพักต้องอยู่ในสภาพแข็งแรงสะอาดเป็นระเบียบไม่
สกปรกรุงรัง มีปริมาณเพียงพอกับจานวนเจ้าหน้าที่ต้องแยกห่างจากบริเวรเล้ียงสัตว์
พอสมควร สะอาด รม่ รื่น มรี ้ัวกน้ั แบ่งแยกจากบริเวณเล้ยี งสตั ว์ตามท่ีกาหนดอยา่ งชดั เจน

2.5 ไม่ควรใหส้ ัตว์เล้ียงท่อี าจจะเป็นพาหนะนาโรคเขา้ ไปในบรเิ วณเลี้ยงสกุ ร

ลกั ษณะโรงเรือนระบบเปิ ด

1 ลกั ษณะโรงเรอื นควรตั้งยาวตามแนวทศิ ตะวันออก-ตะวนั ตก สภาพ โรงเรอื นโปรง่ ลมผา่
น่านสะดวกแต่ละโรงเรอื นควรหา่ งกันไมน่ อ้ ยกวา่ 25เมตร
2 ขนาดของโรงเรอื นตอ้ งเหมาะสมกบั จานวนสกุ รแตไ่ ม่ควรเกนิ หลงั ละ1,000ตัว

-พ้นื ทีส่ าหรับสกุ รพอ่ พนั ธ4์ุ -8ตารางเมตรต่อตัว
-แมพ่ ันธุท์ ้องวา่ ง1.2-1.5ตารางเมตรตอ่ ตัว

- แมพ่ ันธุต์ งั้ ทอ้ ง1.2-3ตารางเมตรตอ่ ตัว
- ลูกสุกรขุนสาหรับพน้ื คอนกรตี ประมาณ1.2-1.5ตารางเมตรต่อตัวสาหรับพื้นสแล็ตประมาณ1.0
ตารางเมตรต่อตัว

3 โรงเรือนต้องมีโครงสร้างและสว่ นประกอบทีแ่ ขง็ แรง

-เสาและโครงของโรงเรอื นทาจากเสาปนู หรือเหล็กโครงเหล็กหรือไมท่ ีม่ คี วามแข็งแรง
-หลังคา ควรมุงดว้ ยกระเบ้ืองถา้ เป็นสังกะสคี วรเป็นหลงั คาแบบจั่ว2ชัน้ และพอควรเพอ่ื ระบาย
ความรอ้ น

-พนื้ คอก ควรเปน็ พ้นื คอนกรตี ไมห่ ยาบและไม่ลนื่ จนเกนิ ไปมีความลาดเอยี งหรอื เป็นพน้ื
สแล็ตเพอ่ื สะดวกในการดูและและทาความสะอาด

-ผนักคอก ควรใชอ้ ิฐบล็อคหรอื แป็ปนา้ สร้างอย่างแขง็ แรงความสูงประมาณ1เมตร ถา้
เปน็ สุกรพ่อพนั ธ์คุ วรสูง1.2เมตร โดยประมาณ

-มีระบบทางระบายนา้ เสยี ระบายจากโรงเรอื นสูบ่ ่อบาบัดไดอ้ ยา่ งสะดวกไม่อดุ ตัน

-หนา้ โรงเรอื นแต่ละหลงั มบี ่อน้ายาฆา่ เชอ้ื สาหรับจมุ่ เท้ากอ่ นเขา้ ออกโรงเรอื น

4 ขนาดเหมอื นกบั โรงเรอื นสกุ รโดยทั่วไปกวา้ ง8-10เมตรหรอื ขน้ึ อย่กู บั
ความเหมาะสม โดยเน้นใหม้ รี ะบบควบคมุ อณุ หภมู คิ วามชนื้ และการ
ถา่ ยเทอากาศเหมาะสมกับขนาดและชนดิ ของสุกรทเี่ ลยี้ ง

5 หลังคาโรงเรอื น เป็นหลังคาแบบจ่ัวไมต่ ้องสูงมาก อาจมวี สั ดุทเ่ี ปน็
ฉนวนกนั ความรอ้ นบใุ ต้หลงั คา หรอื ทาเพดานด้วยเพดานดว้ ยวตั ถุที่
เหมาะสมและควรมชี ่องว่างระหวา่ งหลงั คากับเพดานเป็นแบบเปดิ
เพือ่ ให้มีการระบายความรอ้ นทดี่ ี

6 ผนังโรงเรอื น ต้องมผี นังปิดรอบโรงเรือนใหม้ ิดชิดดว้ ยวสั ดุท่เี หมาะสม(แขง็ แรง
ไม่ติดไมต่ ิดไฟงา่ ยเกนิ ไป)เพ่อื ใหส้ ามารถบงั คบั ทางลมและการถา่ ยเทอากาศไดด้ ี
และออกแบบใหม้ ีการเปดิ -ปิดได้สะดวกในกรณที ไ่ี ฟฟา้ ดบั เช่น เป็นม่านพลาสติก
หรอื หนา้ ต่าง

7 พนื้ คอก ควรเป็นพ้ืนคอนกรตี ไม่หยาบและไม่ลืน่ จนเกินไปมี
ความลาดเอียงหรือเป็นพน้ื สแลต็ เพอ่ื สะดวกในการดูแลทาความ
สะอาด

8. แสงสว่างตอนกลางวนั มีแสงสวา่ งจากธรรมชาตผิ ่านทางแผ่น
พลาสตกิ หรือชอ่ งหนา้ ตา่ งกระจก(ยกเวน้ โรงเรือนพ่อพนั ธุ์จะเป้นระบบทบึ
หมด)มไี ฟฟ้าใหแ้ สงสว่างเพ่อื ความสะดวกในการทางานหรอื เวลา
กลางคืนเมือ่ จาเปน็

9 ระบบระยายนา้ และกาจัดของเสยี
-ทางระบายนา้ และกาจดั ของเสีย
-ทางระบายนา้ อยภู่ ายในหรอื ดา้ นลา่ งของคอกตรงทางออกและต้องเปน็ ระบบปดิ เพอ่ื

ไม่ให้อากาศเขา้
-บอ่ กาจัดนา้ เสยี ตอ้ งอยดู่ า้ นท้ายคอก(หลงั พัดลม)

การจดั การฟาร์ม

1การจดั การโรงเรือน

1.1โรงเรือนและทใ่ี ห้อาหารต้องสะอาดและแห้ง

1.2 โรงเรอื นควรและจัดแบง่ ตามวัตถุประสงคข์ องการใชง้ าน เพอ่ื ความ
สะดวกในปฏิบตั ิงาน โรงเรอื นควรใหม้ ีส่วนการผลติ แยกกนั อยา่ งชดั เจน โดย
แบ่งเป็น2ชนดิ คือ

-ชนิด2สว่ นผลติ ประกอบด้วยสว่ นท่ี1คือ โรงเรือนพอ่ -แมพ่ นั ธุแ์ ละสว่ นท่ี2
คอื โรงเรืองสกุ รอนบุ าลและสุกรขุน

- ชนิด3ส่วนผลติ ประกอบด้วยส่วนท่ี1คอื โรงเรือนพ่อ-แม่พันธแ์ุ ละส่วนท2่ี
คือ โรงเรอื งสกุ รอนบุ าลและสว่ นท่ี3คือ โรงเรือนสกุ รขนุ และแต่ละส่วนผลติ มี
ระบบเข้า-ออกทเี ดียวพร้อมกนั

1.4 มีการทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณด์ ว้ ยนา้ ยาฆ่าเช้อื โรคตามความเหมาะสม
1.5 พื้นคอก อปุ กรณก์ ารใหอ้ าหารและนา้ ตอ้ งนา้ ต้องทาความสะอาดทกุ วัน

1.6มรี ะบบระบายอากาศทีดี เพื่อถ่ายเทอากาศและปรบั อุณหภมู ภิ ายในโรงเรอื นใหเ้ หมาะสม

1.7โรงเรือนควรได้รบั การดแู ลและซอ่ มบารงุ ใหใ้ ชป้ ระโยชน์ได้ดีและมีความปลอดภยั ต่อท้งั
ผปู้ ฏิบตั ิงานและตวั สุกร

2 การจัดการด้านบคุ ลากร

2.1ต้องมีจานวนแรงงานอย่างเพียงพอและเหมาะสมกับจานวนเลย้ี งมกี ารจดั แบ่ง
หนา้ ที่และความรับผิดชอบของบคุ ลากรในแต่ละตาแหนง่ อยา่ งชดั เจนบุคลากรใน
ฟาร์มควรไดร้ ับการตรวจสขุ ภาพเป็นประจาทกุ ปี

2.2ให้มีสตั วแ์ พทย์ควบคุมกากบั ดุแลด้านสขุ ภาพสตั ว์ภายในฟาร์มโดยสตั วแพทย์
ต้องมใี บอนญุ าตประกอบบาบดั โรคสตั ว์ช้นั หนึง่ และได้รบั ใบอนุญาตควบคมุ ฟารม์
จากกรมปศุสัตว์

3 คูม่ ือการจัดฟารม์

ผ้ปู ระกอบการฟารม์ ตอ้ งมีคมู่ ือการจัดการฟารม์ แสดงให้เห็นระบบการเลยี้ ง การจดั การ
ฟาร์ม ระบบบันทกึ ขอ้ มูลการปอ้ งกันและควบคุมโรคสัตว์ การดูแลสขุ ภาพสตั วแ์ ละ
สุขอนามัยในฟารม์

4 ระบบบันทึกขอ้ มลู
ฟารม์ จะตอ้ งมรี ะบบการบันทกึ ขอ้ มลู ซง่ึ ประกอบด้วย

4.1ขอ้ มลู การบริหารฟาร์ม ได้แก่ บคุ ลากร แรงงาน
4.2ขอ้ มลู การจัดการผลิต ได้แก่ ข้อมูลตัวสตั ว์ ขอ้ มูลสุขภาพสตั ว์ ข้อมลู การผลติ และ
ข้อมลู ผลผลติ

5 การจดั การดา้ นอาหารสตั ว์

คุณภาพอาหารสตั ว์

1แหล่งท่มี าของอาหารสตั ว์

ก.ในกรณซี ื้ออาหาร ต้องซื้อจากผู้ขายได้รับอนุญาตตาม พ.ร.บ ควบคุมคุณภาพ
อาหารสัตว์ พ.ศ.2525
ข.ในกรณผี สมอาหารอาหารสัตว์เอง ต้องมีคุณภาพอาหารสัตว์เป็ นไปตามกาหนด
ตามกฏหมายตาม พ.ร.บ ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ.2525


Click to View FlipBook Version