The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 3 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by patyasorn1978, 2021-09-16 03:02:06

วิชาศาสตร์พระราชา

หน่วยที่ 3 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ได้เสด็จพระดาเนินไปทรงเย่ียมราษฎรทุกภูมิภาคของประเทศ ทาให้ทรงเข้าใจ
สภาพภูมิประเทศ ชีวิตความเป็นอยู่ การทามาหากิน และปัญหาความทุกข์ร้อน
ของราษฎรด้วยพระเนตรพระกรรณของพระองค์เอง

พระองค์ทรงเร่ิมเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรเป็นครั้งแรกใน
พ.ศ. ๒๔๙๘ ในพ้ืนที่ของจังหวัดต่างๆ ในภาคกลางก่อน หลังจากนั้นได้เสด็จ
พระราชดาเนินไปภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือและภาคใต้ตามลาดับ
ทรงอุทิศเวลาส่วนใหญป่ ลี ะประมาณ ๗-๘ เดอื น เสด็จพระราชดาเนินแปร

พระราชฐานไปประทับแรมในหลายภูมิภาค โดยก่อนเสด็จพระราชดาเนินทุกคร้ังจะทรงศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ
สถานที่ทีจ่ ะเสดจ็ ล่วงหนา้ ทรงพิจารณาเสน้ ทางการคมนาคม แหลง่ น้า ภมู ปิ ระเทศ พื้นทเ่ี พาะปลกู ตลอดเส้นทาง
เสด็จพระราชดาเนินมีราษฎรมาคอยรับเสด็จอย่างเนืองแน่น ราษฎรบางกลุ่มเดินทางมาจากพ้ืนที่ห่างไกลด้วย
ความยากลาบาก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รถยนต์พระท่ีน่ังหยุดรับของท่ีราษฎรทูลเกล้าฯ
ถวาย ซง่ึ ส่วนใหญเ่ ปน็ ผลผลติ ทางการเกษตร พระองคไ์ ด้พระราชทานเงนิ ก้นถงุ แก่ราษฎรเหลา่ นนั้ และมีพระราช
ปฏสิ ันถารกับราษฎร ทาให้พระองคไ์ ด้รบั ขอ้ มูลจากสภาพจริงของพนื้ ท่ี และปญั หาทางด้านตา่ งๆ ของราษฎร



๑.๑ พันธุป์ ลาพระราชทาน

พ.ศ. ๒๕๐๘ เจ้าฟ้าชายอากิฮิโต มกุฎราชกุมารแห่งประเทศญ่ีปุ่นได้ทูลเกล้าฯ ลูกปลาตระกูล
เดียวกับปลาหมอเทศ โปรดเกล้าฯ ให้เล้ียงไว้ในบ่อปลาสวนจิตรลดา พระราชทานนามว่า ปลานิล
ปีต่อมาได้ให้กรมประมงนาไปแจกจ่ายตามสถานีประมงจังหวัดต่างๆ เพื่อนาไปเลี้ยงและแจกจ่ายแก่
ประชาชน ทั้งน้ีทุกคร้ังท่ีเสด็จพระราชดาเนินไปเย่ียมราษฎรจะทรงปล่อยปลาในแหล่งน้าธรรมชาติ
ด้วยมีพระประสงค์ให้ประชาชนมีแหล่งอาหารเพ่ิมข้ึน ซ่ึงต่อมาได้มีการพัฒนาโดยคัดเลือกสายพันธ์ุ
ปลานิลจากที่ต่างๆ จนได้สายพันธ์ุใหม่ ซึ่งพระองค์พระราชทานชื่อใหม่ว่า ปลาทับทิม โครงการ
ประมงพระราชทานดังกล่าวก่อให้เกิดประโยชน์ต่ออาชีพการประมงของเกษตรกร ต่อเนื่องมาจนถึง
ปัจจุบันน้ี

๑.๒ พันธป์ุ ลาพระราชทาน

ในระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๐๔ พระองค์มพี ระราชดารศิ กึ ษาทดลองพันธุ์พืช เร่ิมต้ังแต่การเสด็จ
พระราชดาเนินเยี่ยมเยียนราษฎรในพ้ืนท่ีของจังหวัดนครปฐม ราชบุรี และเพชรบุรี ได้ทอดพระเนตร
เหน็ ต้นยางนาสูงใหญ่ตามรายทางที่เสด็จ มีพระราชดาริจะสงวนป่ายางนาให้เป็นสวนสาธารณะแต่ไม่
สามารถทาได้เพราะราษฎรถือครองพ้ืนท่ีทามาหากินในบริเวณน้ัน พระองค์จึงมีพระราชดาริท่ีจะ
ทดลองปลูกยางนาดว้ ยพระองคเ์ อง

๑.๓ โคนมพระราชทาน

พ.ศ. ๒๕๐๔ รฐั บาลเดนมารก์ ไดน้ อ้ มเกลา้ ฯ ถวายโครงการส่งเสรมิ การเล้ยี งโคนมในประเทศไทย
โดยจัดตัง้ ฟาร์มโคนมไทย-เดนมาร์ก ท่ีอาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ในรชั กาลที่ ๙ ได้ทรงศึกษาค้นคว้าในกจิ การโคนม ใน พ.ศ. ๒๕๐๕ ไดร้ ิเรมิ่ ดาเนินโครงการโรงโคนม
สวนจติ รลดา และโปรดเกล้าฯ ให้ปลูกข้าวและพืชไว้เป็นอาหารเล้ียวโค แบบประหยัดและเหมาะสม
กบั เกษตรกรไทยในชนบท

กลา่ วไดว้ า่ โครงการสว่ นพระองคส์ วนจิตรลดา เป็นโครงการวิจัยศึกษาค้นคว้าทางด้านการพัฒนา
ทางเกษตร เช่น การเพาะพนั ธุ์ปลา นาขา้ วทดลอง การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืช การปลูกป่า โรงโคนม และ
จัดต้ังอตุ สาหกรรมการผลิตทางด้านการเกษตร นบั เป็นโครงการต้นแบบใหแ้ ก่เกษตรกรและผู้ประกอบ
อุตสาหกรรมแปรรปู อาหารขนาดย่อยไดเ้ ป็นอยา่ งดี

๑.๔ โครงการหลวง

พ.ศ. ๒๕๓๕ โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง มูลนิธิโครงการหลวง เพ่ือให้มีการบริหารจัดการอย่าง
เป็นระบบโดยมีอาสาสมัครจากมหาวิทยาลัย หน่วยงานราชการและเอกชนสนับสนุนการดาเนินงาน
โดยนาเงินจากมูลนิธิมาสนับสนุนการดาเนินโครงการหลวงได้อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันการดาเนินงาน
โครงการหลวงครอบคลุม ๕ จังหวัดในภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ลาพูน
แม่ฮ่องสอน และพะเยา ท้ังทางด้านการเกษตร การพัฒนาสังคม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และการตลาด เป็นระบบการพัฒนาแบบครบวงจร มีสถานีวิจัย
๔ แห่ง คอื สถานเี กษตรหลวงอา่ งขาง สถานเี กษตรหลวงดอยอินทนนท์ สถานเี กษตรหลวงปางดะ และ
สถานีเกษตรหลวงแม่หลอด มีสาขากระจายในพื้นที่ต่างๆ เรียกว่า ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ราษฎร
ในโครงการจะได้รับความรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม่ ความรู้เก่ียวกับการจัดการดิน น้า
และป่าไม้ควบคู่กัน เพ่ือให้ใช้ทรัพยากรได้อย่างย่ังยืน ผลงานอันเป็นท่ีประจักษ์ดังกล่าว ทา ให้
มูลนิธิแม็กไซไซมอบรางวัลแม็กไซไซสาขาความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๑ ให้แก่
โครงการหลวง ซ่ึงถือเป็นรางวัลอันทรงเกียรติประกาศเกียรติคุณของโครงการหลวงให้เป็นที่ยอมรับ
ในเวทีโลก

๑.๕ การแก้ปญั หาดินเพ่ือการเพาะปลูก
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพบปัญหาการใช้ดินใน
พ้ืนทีก่ ารเกษตรด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ทาให้ดินเปลี่ยนสภาพเป็นดินที่ไม่มีคุณภาพ รวมทั้งปัญหา
ของดนิ ทราย ดินดาน ดินลูกรงั ดนิ เปร้ียว ดนิ เคม็ ดนิ พรุ ท่พี บไดใ้ นหลายภูมิประเทศ ในบางพื้นที่ได้มี
พระราชดารัสว่า “…หากปล่อยท้ิงไว้ จะกลายเป็นทะเลทรายในที่สุด...” จึงได้พระราชทานแนว
พระราชดารกิ ารพัฒนาคณุ ภาพดินจากสภาพเสื่อมโทรมใหด้ ีข้ึนด้วยวิธีการต่างๆ ตัวอยา่ งเชน่

เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้น้อมรับสนองแนวพระราชดาริพัฒนาคุณภาพดิน ถือเป็นตัวอย่างของการ
พัฒนาตามแนวเกษตรยั่งยนื (sustainable Agriculture) ไดด้ าเนินการตามแนวพระราชดาริอย่างต่อเนื่อง
และใช้เวลานานด้วยการจัดสร้างแหล่งน้าเพื่อเก็บกักเก็บน้าไว้ใช้ในฤดูแล้ง สร้างสภาพป่าและไม้ยืน
ต้นในบริเวณโครงการและพื้นทใี่ กลเ้ คยี งเปน็ การปรบั สภาพแวดล้อมและเพิ่มความชุ่มช้ืน สร้างระบบ
อนุรักษ์ดินและน้าเพ่ือป้องกันการพังทลายของดิน โดยใช้หญ้าแฝกในการดาเนินการตามแนว
พระราชดาริและปรับปรุงบารุงดินให้อุดมสมบูรณ์ข้ึนโดยเน้นเกษตรผสมผสานเพ่ือรักษาสมดุล
ธรรมชาติ และประหยัด ทาให้ดินมพี ชื ปกคลุมตลอดปี ลดปญั หาการชะล้างพงั ทลายของหนา้ ดิน

๑.๖ การแกป้ ัญหาการขาดแคลนนํ้าในการเพาะปลูก

ใน พ.ศ. ๒๔๙๖ มพี ระราชดารใิ ห้สร้างอ่างเก็บนํ้าเขาเตา่ ทีจ่ งั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ เพื่อช่วยเหลือ
ราษฎรให้สามารถเพาะปลูกในยามขาดแคลนน้าได้ นับเป็นอ่างเก็บน้าแห่งแรกในพระราชดาริการ
พัฒนาชลประทานเพ่ือการเพาะปลูก หลังจากน้ันจึงได้มีโครงการพัฒนาแหล่งน้าอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศด้วยทรงเห็นว่าการสร้างและการปรับปรุงอ่างเก็บ น้า
มีความสาคญั ต่อเกษตรกร และยงั ช่วยปอ้ งกนั ภัยแล้งและภัยน้าทว่ มได้ดว้ ย

ในระหว่าง พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๒ เกิดภาวะภัยแล้ง พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้ต้ัง
คณะปฏิบัติการฝนหลวงพิเศษข้ึนท่ีสนามบินนครสวรรค์และพิษณุโลก รวมท้ังจัดทาตาราฝน
พ ร ะ ร า ช ท า น แ ล ะ ก า ห น ด ก า ร เ พื่ อ ใ ห้ มี ฝ น ก ร ะ จ า ย อ ย่ า ง ส ม่ า เ ส ม อ ใ น ช่ ว ง แ ห้ ง แ ล้ ง
ฝนหลวงพระราชทาน ดังกล่าวนีไ้ ด้พระราชทานให้กับหลายประเทศในเวลาตอ่ มา

ใน พ.ศ. ๒๕๔๘ สานักสิทธิบัตรยุโรป (EPO) ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสิทธิบัตร
ฝนหลวงแก่พระองค์



๑.๗ การแกป้ ัญหาเกษตรกรไม่มีที่ดินทาํ กนิ ของตนเอง

พ.ศ. ๒๕๐๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ ๙ มีพระราชดาริจัดหาท่ีดินให้เกษตรกร
ในการเพาะปลูก เพื่อให้มีรายได้พอเพียงเล้ียงครอบครัว โดยทรงริเร่ิมโครงการพัฒนาท่ีดิน
ตามพระราชประสงค์หุบกะพง ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี โดยมีวัตถุประสงค์
เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรกลุ่มสวนผักชะอา จานวน ๘๓ ครอบครัวที่ไม่มีที่ทากินของตนเอง โดยมีการ
พัฒนาที่ดินและจัดระบบชลประทาน และรับความช่วยเหลือด้านการพัฒนาการเกษตรจากรัฐบาล
ประเทศอิสราเอลผ่านโครงการไทย-อิสราเอล เพื่อพัฒนาชนบท (หุบกะพง) ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๙-
๒๕๑๔ จนสามารถช่วยเหลือกลุ่มเกษตรกรดงั กลา่ วเป็นผลสาเรจ็ เกดิ เป็นหมู่บา้ นเกษตรกร ที่ไดร้ บั การ
ฝึกอบรมด้วยหลักและวิธีการของสหกรณ์ได้รับการยกระดับเป็นหมู่บ้านสหกรณ์ตัวอย่าง ศูนย์สาธิต
สหกรณ์โครงการหบุ กระพง เป็นแหง่ แรกในประเทศไทย

๑.๘ การแกป้ ญั หาด้านการจดั การทางการเกษตร

ปัญหาสาคัญของเกษตรกรท้ังด้านกระบวนการผลิตและผลผลิตมีราคา ตกต่าหรือไม่แน่นอน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ ๙ ทรงให้ความสาคัญกับการรวมกลุ่มกันของเกษตรกร
เพ่ือร่วมสร้างพลังท้ังในด้านการผลิตและการจาหน่าย โดยทรงนาวิธีการสหกรณ์มาใช้ในการจัดต้ัง
หมู่บ้านหุบกะพง ภายหลังได้มีการส่งเสริมให้ประกอบอาชีพตามหลักการท่ีถูกต้องตามหลักวิชาการ
จงึ ไดจ้ ดั ตง้ั เป็น สหกรณ์การเกษตรหบุ กระพง จาํ กัด เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๔ ต่อมาได้ทรงสนับสนุนให้มีการ
พัฒนากิจการสหกรณ์ในหลายแห่ง เช่น สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จํากัด สหกรณ์เกษตร
โนนดินแดง จาํ กัด สหกรณป์ ระมงคุง้ กระเบน จาํ กดั

๑.๙ ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาอนั เนื่องมาจากพระราชดํารเิ พื่อการพฒั นาและส่งเสรมิ เกษตรกรรม

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระราชดาริ
ให้จัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ๖ ศูนย์ในภูมิภาคต่างๆ เพ่ือส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตรใหเ้ กษตรกรสามารถต่อยอดอาชพี ได้อยา่ งมั่นคง

ทาการศึกษา คน้ ควา้ ทดลอง วจิ ยั เพื่อแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ให้เหมาะสม
สอดค ล้องกับสภาพแ วดล้อมท่ีแตกต่าง กัน ศูนย์ศึก ษาการพัฒนาฯ จึงเ ปรียบเสมือน
ตวั แบบ ของความสาเรจ็ และเป็นแนวทางใหแ้ ก่พื้นทีอ่ น่ื ๆ โดยรอบไดท้ าการศกึ ษา

เป็นศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (one stop service) กล่าวคือ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ มีการศึกษา
ทดลอง และสาธิตให้เห็นถึงความสาเร็จของการดาเนินงานพร้อมๆ กัน ในทุกด้าน ทั้งการเพาะปลูก
ปศสุ ตั ว์ ประมง ตลอดจนงานด้านการพัฒนาสงั คม งานศิลปาชีพ ในลักษณะของ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
ท่ีมชี ีวิต ผสู้ นใจหรอื เกษตรกรจะได้รับความรรู้ อบดา้ น อีกทั้งมคี วามสะดวก รวดเร็ว นาไปสู่การได้รับ
ประโยชน์สูงสุด

ศนู ยก์ ารศกึ ษาการพฒั นาฯ ท้งั ๖ ศูนยต์ ้งั อยู่ในสภาพแวดลอ้ มทแี่ ตกตา่ งกัน ดังนี้

๑. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดฉะเชิงเทรา ต้ังอยู่ใน
สภาพพ้ืนท่ีดินเสื่อมโทรม เกิดจากการทาลายป่า และปลูกพืชไร่เชิงเดียว เช่น ข้าวโพด มันสาปะหลัง
ทาให้ดินจืด และกลายเป็นดนิ ทราย ในฤดแู ล้งมกี ารชะล้างด้วยกระแสลม ในฤดูฝนจะถูกกระแสน้ากัด
เซาะหนา้ ดิน ดินจึงพงั ทลาย โปรดเกล้าฯ ใหก้ อ่ ต้งั ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาฯ ข้นึ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๒

๒. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี ตั้งอยู่ในสภาพ
พ้นื ทด่ี นิ เส่ือมโทรม เกิดจากการบุกรุกแผ้วถางป่า ทาการเกษตรแบบผิดวิธี และใช้สารเคมีท่ีส่งผลเสีย
ต่อดินและนา้ ขาดการบารุงรักษาคุณภาพดิน หน้าดินถูกชะล้างทาลาย กลายเป็นดินทรายและดินดาน
โปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาฯ ข้นึ เม่อื พ.ศ. ๒๕๒๖

๓. ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอา่ วคุง้ กระเบนอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ จังหวัดจันทบุรี ต้ังอยู่บริเวณ
ชายฝั่งทะเล ตาบลคลองขดุ อาเภอทา่ ใหม่ จงั หวัดจันทบรุ ี โปรดเกล้าฯ ใหต้ ้ังข้นึ เม่อื พ.ศ. ๒๕๒๕

๔. ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดสกลนคร เป็นพ้ืนท่ีที่มีปัญหา
๓ ประการ คือ ปัญหาเก่ียวกับดินมีความเค็ม ไม่สามารถอุ้มน้าได้ ปัญหาด้านแหล่งน้าและป่าไม้ และ
ปัญหาด้านวิทยาการหรอื ความรู้ทจ่ี าเปน็ ต่อการดารงชีวิต โปรดเกล้าฯ ให้จัดต้ังศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ
ข้ึนเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๕

๕. ศนู ย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่ป่า
เตง็ รังทีเ่ สอ่ื มโทรม มคี วามลาดชนั ไม่มากนกั มีพระราชดาริใช้ลุ่มน้าในเขตพ้ืนท่ีเป็นที่ศึกษา จัดตั้งข้ึน
เมอื่ พ.ศ. ๒๕๒๕

๖. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส ตั้งอยู่ในสภาพ
พื้นที่ดินพรุเก่า ดินเปร้ียว เกิดจากการทับถมของพืชเป็นเวลานานผสมกับน้าทะเล ทาให้ดินมีแร่
กามะถันทาให้ดนิ มีคุณภาพตา่ โปรดเกล้าฯ ให้จดั ตั้งศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาฯ ข้ึนเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๔

กล่าวได้วา่ แนวพระราชดาริของพระองคผ์ ่านโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริและศูนย์ศึกษา
การพฒั นาอนั เนอื่ งมาจากพระราชดารมิ ีส่วนช่วยให้พ้ืนท่ีต่างๆ มีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มข้ึน ปัญหาของ
เกษตรกรได้รับการบรรเทาเบาบางลง มีแหล่งพัฒนาความรู้ด้านเกษตร เกิดความรู้ความเข้าใจใหม่ๆ
ซ่ึงเป็นผลดตี อ่ การประกอบอาชพี จนสามารถพงึ่ พาตนเองได้

๒.๑ ทรพั ยากรป่าไม้

ใน พ.ศ. ๒๕๐๔ พ้ืนท่ีป่าไม้ของประเทศมีประมาณร้อยละ ๕๓ ของพื้นท่ีท้ังประเทศ และลดลง
อย่างรวดเร็วใน พ.ศ. ๒๕๓๖ เหลอื พื้นทีป่ ่าไมเ้ พียงร้อยละ ๒๖ ของพนื้ ที่ท้ังประเทศ ในภาคเหนอื พ้ืนที่
ต้นน้าลาธารถูกทาลายลงจานวนมาก เมื่อเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมราษฎรในภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ได้ทรงพบสภาพความแหง้ แล้งทีเ่ กดิ จากการตดั ไม้ทาลายปา่ จานวนมาก

พระองคท์ รงมพี ระราชดาริท่ีจะปกป้องพน้ื ท่ปี า่ และฟ้นื ฟูป่าเส่อื มโทรม ดังนี้

๑. การปลกู ป่าทดแทน ในบริเวณตน้ น้าํ ลาํ ธาร
พระองคท์ รงมีพระราชดาริในการดัดแปลงวิธีการสร้างปา่ เพ่อื การยังชพี ของประชาชน ด้วยวิธีเรียบง่ายและ
ประหยดั ซงึ่ จะไดป้ ระโยชนด์ ้านการอนุรักษด์ ินและนา้ ด้วย ไดท้ รงพระราชทานแนวทางในการปลูกป่าทดแทน
ตามแหลง่ ต้นนา้ บนภเู ขา รวมทัง้ บริเวณอ่างเกบ็ น้าและในพืน้ ที่ตา่ งๆ บนพื้นฐานของธรรมชาติ

๒. สรา้ งความชุม่ ชื้นใหก้ ับป่า
พระองค์มีแนวพระราชดาริ ป่าเปียก พระราชทานพระราชดาริน้ีให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อัน
เนือ่ งมาจากพระราชดาริไปศึกษาทดลอง ทรงใช้ระบบการชลประทานอย่างง่ายๆ ในลักษณะของฝายแม้วหรือ
ฝายชะลอความชุ่มชื้น (check dam) หรือฝายเล็กๆ ตามร่องเขาซึ่งเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านหรือชาวไทยภูเขา
ด้วยการยกระดบั น้าใหส้ ูงขน้ึ ชะลอการไหลของนา้ ใหช้ า้ ลงด้วยการกนั้ น้าในร่องนา้ กระจายความชมุ่ ช้ืนออกไป
ตามสองข้างของลาห้วยลาธาร ช่วยสร้างความชุ่มชื้นในบริเวณใกล้เคียง และเป็นการเก็บกักตะกอนท่ีไหลมา
กบั น้า ป้องกนั การต้ืนเขนิ ของแหล่งน้า และใช้เป็นแนวปอ้ งกันไฟป่าด้วย

๓. คนอยรู่ ่วมกับป่าได้อยา่ งยัง่ ยืน
พระองค์มีแนวพระราชดาริในการผสมผสานความจาเป็นของชาวบ้านที่ต้องอาศัยผลผลิตจากป่าเพ่ือการ
ดารงชีวติ กบั ความต้องการอนรุ กั ษ์และฟืน้ ฟปู ่าไม้ เพอ่ื ปอ้ งกันการเกิดความขดั แย้งกับราษฎรที่ครอบครองพ้ืนท่ี
ปา่ ทามาหากนิ

๒.๒ ทรพั ยากรนํ้า

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงใหค้ วามสาคัญกับการพัฒนาแหล่งน้า
และการจัดการทรพั ยากรน้าเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาความเดือดรอ้ นของราษฎรอย่างต่อเนื่อง ทั้งภัยแล้ง ภัยน้าท่วม และ
ภยั นา้ เสยี ดว้ ยพระมหากรุณาธคิ ณุ ดังกล่าว ทาใหพ้ สกนกิ รถวายพระราชสมัชชาว่า พระบดิ าแห่งการจัดการนํา้

๑. พระราชดํารสิ ร้างฝายอนุรักษต์ น้ นา้ํ
พระองคพ์ ระราชทานพระราชดาริใหส้ รา้ งฝายทดน้าเพ่ือให้น้ากระจายอยู่บริเวณต้นน้าลาธาร เพ่ือเก็บกักน้า
ไวแ้ ละชะลอการไหลของน้าจากพื้นที่สงู ชนั ให้ไหลช้าลง ซึ่งจะชว่ ยยดื เวลาและเพิม่ ความชมุ่ ชืน้ ในดนิ และผนื ป่า
โดยการจัดทาฝายอนรุ ักษต์ น้ น้า

๒. พระราชดํารดิ ้านการจดั การนา้ํ เพอื่ แกไ้ ขปัญหานํ้าทว่ มและน้าํ แลง้
เนอ่ื งจากประเทศไทยมักประสบปัญหาภัยแลง้ เพราะสาเหตเุ กิดจากการบุกรุกพ้ืนท่ีป่าต้นน้าลาธารทาให้

ปริมาณนา้ ลดลง และการขาดการจดั การนา้ ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ เมอ่ื ถงึ ฤดฝู นก็เกิดปัญหาอุทกภัย เพราะขาดกาแพง
ตามธรรมชาติที่จะช่วยป้องกันการไหลของน้า น้าจะไหลบ่าอยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะชมุ ชนในเขตเมืองท่จี ะเผชญิ
ปัญหาจากนา้ ทว่ มขงั และน้าเสีย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลท่ี ๙ พระราชทานพระราชดาริในการพัฒนาแหล่งน้า
และการจดั การระบบชลประทาน รวมทงั้ พระองคไ์ ดค้ ดิ ค้นนวตั กรรมเพือ่ แก้ปัญหาด้านการจัดการนา้ ดงั น้ี

เข่อื นอเนกประสงค์ : การแกไ้ ขความแหง้ แลง้ และอทุ กภัย พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ได้ทรงศึกษาข้อมูลหลายด้าน โดยทรงมีพระราชดาริให้เลือกวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้
เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี ประสิทธิภาพของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และงบประมาณที่ต้องใช้ พระองค์ได้
พระราชทานแนวทางการบริหารจัดการนา้ เพอ่ื ให้รฐั บาลและทอ้ งถน่ิ นาไปดาเนนิ การ เชน่

พระราชดํารกิ อ่ สร้างคนั ดินกน้ั น้ํา โดยการสรา้ งคันดนิ ในขนาดที่เหมาะสม หา่ งจากขอบตล่ิงขนานไปกับ
ลานา้ เพ่ือปอ้ งกนั น้าจากแม่นา้ ลาคลองล้นตลิ่ง ลงไปท่วมพน้ื ทบ่ี ้านเรอื นหรอื พ้นื ท่เี กษตรกรรม

พระราชดาํ รกิ อ่ สร้างทางผนั นาํ้ ดว้ ยการขดุ คลองสายใหม่เชอื่ มตอ่ กับแม่นา้ ที่ทาให้เกดิ น้าท่วมเป็นประจา
เชื่อมต่อกับลาน้าสายอื่น หรือระบายออกสู่ทะเลเพื่อผันน้าให้ไหลไปตามทางท่ีกาหนด ทั้งนี้ต้องสร้างอาคาร
ควบคมุ และบงั คบั นา้ บรเิ วณปากทางท่เี ช่ือมกับแมน่ า้ สายใหญ่ทาให้สามารถระบายน้าออกจากพ้ืนท่ีน้าท่วมหรือ
เกดิ อทุ กภยั ในพ้นื ทไ่ี ด้

พระราชดํารปิ รับปรงุ ลาํ นาํ้ ท่ีมอี ยู่เดมิ ด้วยการขดุ ลอกลานา้ ทต่ี น้ื เขนิ ตกแต่งคันตลิ่งให้เรียบ กาจัดวัชพืช
ผกั ตบชวา ทข่ี วางลาน้าและรอื้ ทาลายสิ่งกดี ขวางทางน้า เพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการรองรบั น้าให้มากขึ้น

โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ “คลองลัดโพธ”์ิ เมอื่ พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นตัวอย่างการบริหารจัดการน้า
เพอ่ื แกป้ ัญหาน้าทว่ มกรงุ เทพมหานคร ดว้ ยสภาพของแม่นา้ เจา้ พระยามลี กั ษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณรอบพื้นท่ี
ตาบลบางกระเจ้า อาเภอพระประแดง จังหวดั สมุทรปราการ เม่ือฝนตกหนัก/น้าเหนือหลาก ทาให้การระบายน้า
เปน็ ไปได้ช้าจึงเอ่อท่วมพืน้ ที่ มพี ระราชดารใิ ห้ยดึ หลักการ เบยี่ งน้าํ

พระราชดําริการสร้างเข่ือนอเนกประสงค์ เพ่ือให้เป็นอ่างเก็บน้าและ
ป้องกันน้าท่วม โครงการสร้างเขื่อนในพระราชดาริ เช่น โครงการพัฒนาลุ่ม
น้าป่าสักอันเน่ืองมากจากพระราชดาริ (สร้างแล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๔๒)
โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวา เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ สนองพระราชดาริใน
การแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนน้าและบรรเทาอทุ กภัยในพืน้ ท่ลี ุม่ น้าป่าสกั และ
ลมุ่ นา้ เจา้ พระยา

พระราชดาํ รโิ ครงการแก้มลิง
พระบาทสมเด็จพระมหาภมู อิ ดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ทรง
แกไ้ ขปัญหาอุทกภยั อยา่ งเป็นระบบ หลกั การคอื การหาพนื้ ทว่ี า่ งหรือแหล่งน้า
ธรรมชาติที่สามารถรองรับน้าในยามที่มีน้ามาก หรือน้าหลาก แล้วจึงระบาย
น้าลงทะเลยามทน่ี ้าทะเลลดลง เชน่ เดยี วกับลิงที่กักตุนกล้วยไว้ในกระพุ้งแก้ม
ก่อนแล้วคอ่ ยๆ เอาออกมากินทีหลัง

๓. พระราชดํารดิ ้านการจัดการน้าํ เสยี
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ห า ภู มิ อ ดุ ล ย เ ด ช ม ห า ร า ช

บรมนาถบพิตร ทรงห่วงใยปัญหาน้าเสียท้ังในกรุงเทพฯ
และเขตชุมชนเมืองในจังหวัดต่างๆ ที่มีความรุนแรงข้ึน
พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง คิ ด ค้ น วิ ธี ก า ร แ ก้ ไ ข น้ า เ สี ย ไ ด้ อ ย่ า ง มี
ประสิทธิภาพ โดยใช้ท้ังวิธีธรรมชาติ และการใช้
เทคโนโลยอี ยา่ งงา่ ยๆ เป็นต้นแบบในการนาไปใช้ในพ้ืนท่ี
ตา่ งๆ โดยทรงใช้วิธกี าร ๒ แบบ คอื

วิธีการทางชีวภาพ โดยทรงใช้กลไกทางธรรมชาติในระบบนิเวศแก้ไขน้าเสีย คือ การใช้น้ําดีไล่น้ําเสีย
ตามหลักน้าข้ึน-น้าลง และการถ่ายเทน้าจากแม่น้าเข้ามาในลาคลอง ทาให้น้าเสียเจือจางลงก่อนระบายลงสู่
ทะเล การใชผ้ กั ตบชวา ใหท้ าหน้าทดี่ ดู ซบั ความโสโครกและโลหะหนัก ได้ทรงทดลองในโครงการบาบัดน้า
เสยี บงึ มกั กะสัน กรงุ เทพฯ

วิธีการทางกลศาสตร์ โดยทรงคิดค้นเคร่ืองกลเติมอากาศหลายรูปแบบ เช่น กังหันน้ําชัยพัฒนา เป็น
เครื่องกลเติมอากาศท่ีผิวน้าหมุนช้าแบบทุ่นลอย โดยทรงคิดค้นจากเคร่ืองมือพ้ืนบ้านในภาคเหนือท่ีเรียกว่า
หลุก ที่วางขวางตามลาธารในภาคเหนือ พระองค์ทรงทดลองกังหันน้าชัยพัฒนาที่บึงพระราม ๙ กรุงเทพฯ
ไดผ้ ลดจี งึ ขยายการตดิ ตงั้ ไปหลายพ้ืนท่ี

๒.๓ ทรัพยากรดิน

๑. พระราชดําริปลูกป่าทดแทนเพ่ือฟื้นฟูหน้าดิน เช่น
การปลกู ป่าแบบไมไ่ ถพรวนหน้าดิน ซ่ึงเป็นวิธีการปลูกป่าที่ช่วยป้องกัน
การพังทลายของหน้าดิน ทาให้คงความอุดมสมบูรณ์ในดินต่อไป
การปลูกป่าบรเิ วณอา่ งเกบ็ น้าํ จะเป็นการรกั ษาความช่มุ ชนื้ ในดิน รากของ
ต้นไม้จะชว่ ยยึดดินไว้ การปลูกป่าแบบไม่เข้าแถวทหาร คือ ปลูกกระจัด
กระจายไมเ่ ป็นระเบยี บ แนวต้นไม้ตามธรรมชาติจะชะลอกระแสน้าและ
ปอ้ งกันการพังทลายของหนา้ ดนิ ไดด้ ี

๒. พระราชดํารกิ ารปลกู หญา้ แฝก พระบาทสมเด็จพระมหา
ภูมิอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดาริถึงหญ้าแฝกเป็น
ครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยให้หน่วยงานต่างๆ ทาการศึกษา ค้นคว้า
ทดลองปลูกหญ้าแฝก และโปรดเกล้าฯ ทดลองที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
ห้วยทรายอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริเป็นแห่งแรกปรากฏว่าเป็นผลดีมาก
ทรงปลูกหญ้าแฝกเพ่ือให้คลุมดินช่วยให้เกิดความสมดุลตามธรรมชาติ
เช่น การเพิ่มธาตุอาหารแก่ดิน ช่วยเก็บความชุ่มชื้นในดิน ดูดซับโลหะ
และสารเคมที เ่ี ป็นพิษและป้องกันมิให้ไหลปนเป้อื นสู่แหล่งนา้








Click to View FlipBook Version