The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuingss, 2022-05-26 04:34:00

Best Practice กศน1.docx

Best Practice กศน1.docx

คำนำ

แนวปฏิบัติท่ีดี (BEST Practices) สถาบันศึกษาปอเนาะตน้ แบบ เปน็ รายงานที่แสดงวิธีปฏิบัตงิ านทีด่ ี
(Good Practice) โดยมีภารกิจหน้าที่ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้จัดทำข้ึน
ตามภารกิจที่รับผิดชอบ ของ ครูอาสาฯปอเนาะ ประจำปีงบประมาณ 2564 เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการ
รายงานโครงการดรเดน่ ของการจดั กระบวนการเรยี นรู้ อีกทงั้ เปน็ สว่ นหนึ่งในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิติ
ในสถาบันศึกษาปอเนาะ สร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ทีม่ ีคณุ ภาพ โดยมเี ป้าหมายสดทา้ ยอยู่ที่ “การเรียนรู้ตลอด
ชวี ติ อย่างมีคณุ ภาพ”

ในนามครูอาสาฯปอเนาะ ขอขอบคุณ ผู้ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำ Best Practices เล่มน้ีและหวังเปน็
อย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้ท่สี นใจไม่มากกน็ ้อย หากมขี อ้ ผดิ พลาดประการใดก็ขออภัยไว้
ณ ทน่ี ีด้ ว้ ย

นางสาวสลุ ยานี แวดอื ราโอะ
ครอู าสาฯปอเนาะ
ผู้จัดทำ

สารบัญ หนา้ ท่ี

เรอ่ื ง 1
1
คำนำ 1
สารบญั 1
ชื่อผลงาน 1
ช่อื ผลงานเรอ่ื ง 1
ผเู้ สนอผลงาน 2
สถานศึกษา 2
ความสอดคล้องกับนโยบาย 2
ทีม่ าและความสำคัญ 3
วตั ถุประสงค์ 3
เปา้ หมาย 3
ขน้ั ตอนการดำเนินงาน 3
สิ่งทไี่ ด้รับจากกิจกรรม 4
ความสำเร็จที่เปน็ จดุ เด่นของโครงการ/กจิ กรรม
รางวลั แห่งความสำเรจ็ ของโครงการ
ข้อคิดควรคำนงึ ในการนำไปขยายผลหรอื นำโครงการนีไ้ ปทำ
ภาพผนวก

Best Practice กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

๑. ชื่อผลงานเร่ือง
สถาบันศกึ ษาปอเนาะ อัลฟาแตฮฺ (ปา่ พร้าว) สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะตน้ แบบ

2. ผเู้ สนอผลงาน
นางสาวสุลยานี แวดอื ราโอะ

3.สถานศกึ ษา
สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอลั ฟาแตฮ(์ ป่าพร้าว)

4.ความสอดคลอ้ งกบั นโยบาย
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น สำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖5 ข้อที่ 2 ด้านการสร้าง

สมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.1 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ิต ท่ีเน้นการพฒั นาทกั ษะทจ่ี ำเป็นสำหรับ
แต่ละช่วงวัยและการจัดการศกึ ษาและการเรียนรทู้ ่ีเหมาะสมกับแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมายและบริบทพ้ืนที่

5.ท่มี าและความสำคญั
การจัดการศึกษาในสถาบันปอเนาะถือว่ามีความสำคัญในการพัฒนาประเทศ เพราะที่ผ่านมาใน

สถาบันปอเนาะยังไม่ได้พัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่จะนำไปสู่การสสร้างรายได้ การสร้างงานใหแ้ ก่นักศึกษา
เพียงแต่เปน็ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ที่ผูกโยงกบั เร่อื งศาสนาเปน็ ส่วนใหญ่ ฉะนน้ั เพอื่ เปดิ โอกาสโลกทัศน์การ
เรียนรู้แกผ่ ูเ้ รียนให้กว้างขึน้ และสนองตอบตอ่ ความต้องการตามวิถีชวี ติ ของประชาชนในพ้ืนที่และบรบิ ทของ
การพัฒนาประเทศจัดการศึกษาตลอดชีวิตสถาบันศึกษาปอเนาะถือว่ามีความสำคัญในการพัฒนาประเทศ
เพราะที่ผ่านมาในสถาบันศกึ ษาปอเนาะยังไม่ได้พัฒนากระบวนการเรียนรู้ทีจ่ ะนำไปสู่การสร้างการรับรู้ การ
สร้างงานใหแ้ ก่นักศึกษาแต่เปน็ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ที่เชื่อมโยงวิถชี ีวิตกับศาสนาเป็นส่วนใหญ่ เพื่อเป็น
การเปิดโอกาส และโลกทัศน์การเรียนรู้แก่นกั ศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ จึงจำเป็นอย่างยิง่ ที่ตอ้ งจัดการ
การศึกษาท่ีหลากหลาย เช่น การพัฒนาทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต เพื่อให้นักศึกษาสามารถปรับตัวตามความ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและเทคโนโลยีในปัจจุบันและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในเขต
พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ สามารถแสวงหาความรู้และสามารถนำความรู้ที่ได้รับนำไป
พฒั นาตนเองและชมุ ชน

ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกาบัง เล็งเห็นถึงความสำคัญ
ดังกล่าวจึงได้ดำเนินการจัดโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ เพื่อให้นักศึกษาใน
สถาบนั ศึกษาปอเนาะได้ศึกษาเรยี นร้เู พิม่ เตมิ ฝึกทักษะอาชพี เพือ่ การมงี านทำ ซ่งึ เปน็ ส่วนหนึ่งในการยกระดบั
คุณภาพชีวิตของนักเรียนในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ให้เกิดทักษะในด้านการเรียนรู้ โดยที่ผลของการเรียนร้นู ั้น
นำมาสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมและสร้าง
ความเข้มแขง็ มั่นคง ในพน้ื ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใตต้ อ่ ไป

6.วตั ถุประสงค์
6.1. สถาบันศึกษาปอเนาะอัลฟาแตฮ(ฺ ป่าพร้าว) มีสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกเอือ้ ต่อการ

เรยี นรู้ มีความพร้อมในการให้บรกิ ารผเู้ รยี น
6.๒. สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอลั ฟาแตฮ(ฺ ป่าพร้าว) มีวสั ดสุ ื่อหลากหลายเพือ่ เสรมิ ความรู้ให้กบั ผู้เรียน
6.3. สถาบันศึกษาปอเนาะอัลฟาแตฮ(ฺ ปา่ พร้าว) มีสถานทีแ่ ละบรเิ วณสำหรับให้ผู้เรยี นได้ใช้เวลาวา่ ง

ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ เช่น การออกกำลังกาย การอา่ นหนงั สือ การปลูกผัก การตัดผม

7.เปา้ หมาย
- เชิงปรมิ าณ
จำนวนนักศึกษาในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ
- เชงิ คุณภาพ
นกั ศกึ ษาสามารถดำเนินชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถพง่ึ พา

ตนเองได้
มแี หลง่ เรยี นรเู้ กยี่ วกับเศรษฐกิจพอเพียง ที่สามารถให้ความรู้และถา่ ยทอดประสบการณ์

ให้กับผู้ทม่ี าศกึ ษาดงู านได้

8. ขั้นตอนการดำเนินงาน

P ขัน้ ตอนการวางแผน (Plan)
1.ศกึ ษาสภาพปัจจบุ ันของสถาบันศกึ ษาปอเนาะ
2.วเิ คราะหบ์ รบิ ทของสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ
3.วางแผนการดำเนินงาน
3.1 แต่งตงั้ คณะทำงานในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ
3.2 จัดทำแผนปฏิบตั ิงานโดยบรู ณาการกจิ กรรมการศึกษาตอ่ เน่ืองและการศกึ ษา

ข้ันพนื้ ฐานและงานการศึกษาตามอัธยาศยั
3.3 นำเสนอแผนตอ่ ผบู้ ริหาร
3.4 ประชาสมั พันธใ์ หก้ ับผู้ท่ีเกยี่ วขอ้ ง
3.5 กำหนดรูปแบบการจดั กิจกรรมภายใตห้ ลักการดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบ

และการศึกษาตามอธั ยาศยั
D ข้ันตอนการดำเนนิ งาน (DO)
1. ประชมุ ชแ้ี จงรายละเอยี ดของสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะต้นแบบ ทเี่ ก่ียวขอ้ งโดยเนน้ กิจกรรม
ภายใตก้ ลักการดำเนิน
2. ประสานงานกบั สถาบันศึกษาปอเนาะ เพ่ือเตรยี มสถานที่
3. ดำเนนิ งานตามแผนปีงบประมาณ 2565
C ขน้ั ตอนตรวจสอบ (Check)
1.นิเทศ กำกับ ตดตาม และประเมนิ ผล
2.จดั ทำทะเบยี นแหล่งเรียนรู้ เผยแพรส่ ู่สาธารณชน
3.ประเมินผลการดำเนนิ กจิ กรรมตามแหลง่ เรยี นรู้

A ขน้ั ตอนการปรบั ปรงุ และพัฒนา (Act)
1.แลกเปลยี่ นเรยี นรูเ้ พอ่ื เป็นแนวทางพจิ รณาในการปรับปรงุ กิจกรรมเพื่อเกิดประสทิ ธิภาพ

ตอ่ ผูเ้ รียนอยา่ งสูงสดุ
2.มกี ารจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ และพัฒนาศนู ย์เรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงอย่างตอ่ เนือ่ ง

9.ส่งิ ทไี่ ดร้ ับจากกจิ กรรม
- ดา้ นสถานศกึ ษา
- มีแหล่งเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง ท่มี ีความพรอ้ มในการใหบ้ รกิ ารให้กบั ผู้ทชี่ นใจในการศึกษา

เปน็ ท่ียอมรับของชุมชนและหน่วยงานภายนอก
- มีความภาคภูมิใจในสถานศึกษา สถาบันศึกษาปอเนาะเป็นแหลง่ เรยี นรู้ แหลง่ ให้ความรู้

สถานทศี่ ึกษาดูงาน
- ด้านผ้รู ับบรกิ าร
- ผรู้ ับบรกิ ารได้รบั การปลูกฝงั แนวทางในการดำเนินชวี ติ ที่ดตี ามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตลอดจนเรียนรตู้ ามความสนใจ ตามกิจกรรมทหี่ ลากหลาย
- ด้านชุมชน
- มแี หลง่ เรียนรู้ดา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง ฐานการเรียนร้เู ก่ียวกบั ขยะ ฐานการเรียนรเู้ กี่ยวกบั

การเล้ียงปลาดุ

10. ความสำเรจ็ ที่เปน็ จดุ เดน่ ของโครงการ/กิจกรรม
1. สถาบันศึกษาปอเนาะอัลฟาแตฮฺ(ป่าพร้าว) มีสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกเอื้อต่อการ

เรียนรู้ มีความร่มรื่น สวยงาม สะดุดตา ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ เป็นสัดส่วน เหมาะสำหรับจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ในด้านต่างๆ เช่น การจัดการเรียนสายศาสนาและสามัญ การจัดการศึกษาต่อเนื่อง และการจัด
การศกึ ษาตามอัธยาศยั เปน็ ตน้

๒. สถาบันศึกษาปอเนาะอัลฟาแตฮฺ(ป่าพร้าว) มีวัสดุสื่อหลากหลายเพื่อเสริมความรู้ เช่น มุมเรียน
ภายในห้องสมุดท่ีมีหนังสือทีห่ ลาหลาย คอมพิวเตอร์ ที่เหมาะสมกับบริบทของสถานท่ีและความต้องการของ
ผเู้ รยี น

๓. ผู้เรียนและผรู้ ับบริการ มีความพงึ พอใจตอ่ การเขา้ รับบริการจาก สถาบนั ศึกษาปอเนาะอัลฟาแตฮฺ
4. เป็นสถานทศ่ี ึกษาดูงานแหล่งเรยี นรูศ้ าสตร์พระราชาของสถาบันศกึ ษาปอเนาะอ่นื

11. รางวลั แหง่ ความสำเร็จของโครงการ
สถาบันศกึ ษาปอเนาะอลั ฟาแตฮ(ฺ ป่าพร้าว) ได้รับการคดั เลือกใหเ้ ป็น สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะต้นแบบ

ระดับกล่มุ สำนกั งาน กศน.จังหวัดชายแดนใต้
เผยแพรท่ างเว็ปไซต์เฟสบุค๊ กศน.อำเภอกาบัง

12. ขอ้ คิดควรคำนงึ ในการนำไปขยายผลหรือนำโครงการนีไ้ ปทำ
ควรจัดทำแผนการพัฒนาสถาบันศึกษาปอเนาะอย่างต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาสถาบันศึกษาปอเนาะ

อย่างเปน็ ระบบและมปี ระสิทธิภาพตอ่ ไป

13. ภาพผนวก

ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศ การประเมนิ สถาบนั ศึกษาปอเนาะตน้ แบบ
ประจำปี 2564 ระดบั จังหวดั

ได้รับรางวลั ชนะเลศิ การประเมินคดั เลือกสถาบันศึกษาปอเนาะต้นแบบ ระดบั จังหวัดชายแดนภาคใต้
จากกลมุ่ สำนกั งานชายแดนภาคใต้

สำนักงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เลม่ รายงานการประเมนิ สถาบันศึกษาปอเนาะต้นแบบ
ประจำปงี บประมาณ 2564

1. สถาบันศกึ ษาปอเนาะอลั ฟาแตฮ(ฺ ป่าพรา้ ว) มหี ้องเรียนและทีพ่ ักท่ีเหมาะสมกบั จำนวนผู้เรยี น

2. สถาบันศกึ ษาปอเนาะอัลฟาแตฮ(ฺ ป่าพรา้ ว) มีพ้ืนที่สำหรับจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่เี หมาะ
สำหรับจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ในด้านตา่ งๆ เช่น การจัดการเรียนสายศาสนาและสามัญ การจัดการศึกษา
ตอ่ เนือ่ ง และการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นต้น

3. สถาบันศึกษาปอเนาะอลั ฟาแตฮ(ฺ ป่าพรา้ ว) มสี ถานทปี่ ฏิบตั ิศาสนากิจสำหรับครแู ละนักศกึ ษา

4 .สถาบันศึกษาปอเนาะอัลฟาแตฮฺ(ป่าพร้าว) มีสถานท่ีและบริเวณสำหรับให้ผเู้ รียนได้ใช้เวลา
ว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ เชน่ การออกกำลงั กาย การอ่านหนังสอื การปลูกผัก การตัดผม

5. สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอลั ฟาแตฮฺ(ปา่ พรา้ ว) มีวสั ดสุ ่อื หลากหลายเพ่อื เสริมความรู้ เชน่
มุมเรียนภายในห้องสมุดที่มีหนังสือที่หลาหลาย คอมพิวเตอร์ ที่เหมาะสมกับบริบทของสถานที่และความ
ต้องการของผ้เู รียน

14. ช่อื ผเู้ ขยี น/ผู้บรรณาธกิ ารกิจ
นางสาวสุลยานี แวดอื ราโอะ ตำแหน่ง ครอู าสาฯปอเนาะ


Click to View FlipBook Version