หนังสือพระราชนิพนธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จานวน 70 เร่ือง
สาหรบั อ่าน-บนั ทึกเป็นหนังสือเสียงเพื่อผพู้ ิการทางสายตา
หนังสือชุดเสดจ็ พระราชดาเนินเยือนต่างประเทศ
เรอื่ งที่ 1 : เกลด็ หิมะในสายหมอก เล่ม 1 ปักกิ่ง
เร่อื งย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี คราวเสดจ็ เยอื นประเทศสาธารณรฐั
ประชาชนจนี เป็นครงั้ ท่ี 3 ระหวา่ งวนั ท่ี 4-17 มกราคม 2537 โดยครงั้ น้ไี ดเ้ สดจ็ เยอื นทางภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือของจนี อนั เป็นถนิ่ กาเนิดของแมนจู ซง่ึ เป็นดนิ แดนสาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐกจิ
สงั คมและการเมอื ง
เร่ืองท่ี 2 : เกลด็ หิมะในสายหมอก เล่ม 2 เหลียวหนิง
เรอ่ื งย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี คราวเสดจ็ เยอื นประเทศสาธารณรฐั
ประชาชนจนี เป็นครงั้ ท่ี 3 ระหว่างวนั ท่ี 4-17 มกราคม 2537 โดยครงั้ น้ไี ดเ้ สดจ็ เยอื นทางภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือของจนี อนั เป็นถน่ิ กาเนิดของแมนจู ซง่ึ เป็นดนิ แดนสาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐกจิ
สงั คมและการเมอื ง
เรือ่ งที่ 3 : เกลด็ หิมะในสายหมอก เล่ม 3 จ๋ีหลิง
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี คราวเสดจ็ เยอื นประเทศสาธารณรฐั
ประชาชนจนี เป็นครงั้ ท่ี 3 ระหว่างวนั ท่ี 4-17 มกราคม 2537 โดยครงั้ น้ไี ดเ้ สดจ็ เยอื นทางภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของจนี อนั เป็นถนิ่ กาเนิดของแมนจู ซง่ึ เป็นดนิ แดนสาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐกจิ
สงั คมและการเมอื ง
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาจนี ได้
1
เรอ่ื งท่ี 4 : เกลด็ หิมะในสายหมอก เล่ม 4 เฮยหลงเจียง
เรอ่ื งย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี คราวเสดจ็ เยอื นประเทศสาธารณรฐั
ประชาชนจนี เป็นครงั้ ท่ี 3 ระหวา่ งวนั ท่ี 4-17 มกราคม 2537 โดยครงั้ น้ไี ดเ้ สดจ็ เยอื นทางภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของจนี อนั เป็นถนิ่ กาเนิดของแมนจู ซง่ึ เป็นดนิ แดนสาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐกจิ
สงั คมและการเมอื ง
เรอ่ื งที่ 5 : เกลด็ หิมะในสายหมอก เล่ม 5 ภาคผนวก
เร่ืองย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี คราวเสดจ็ เยอื นประเทศสาธารณรฐั
ประชาชนจนี เป็นครงั้ ท่ี 3 ระหวา่ งวนั ท่ี 4-17 มกราคม 2537 โดยครงั้ น้ไี ดเ้ สดจ็ เยอื นทางภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของจนี อนั เป็นถนิ่ กาเนดิ ของแมนจู ซง่ึ เป็นดนิ แดนสาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐกจิ
สงั คมและการเมอื ง
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอ่านภาษาจนี ได้
เรื่องท่ี 6: แกะรอยโสม
เรอ่ื งย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารฯี เรอ่ื งแกะรอยโสมเลม่ น้ี เป็นเรอ่ื งราวการ
เสดจ็ เยอื นประเทศสาธารณรฐั เกาหลี สาธารณรฐั ประชาชนจนี และสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนเกาหลี
(เกาหลเี หนือ) ระหวา่ งวนั ท่ี 18-29 ม.ี ค. 2534 ซง่ึ ทรงบนั ทกึ เหตุการณ์ ทท่ี รงพบเหน็ ในระหว่างการเสดจ็ เยอื น
สถานทต่ี ่างๆ ตลอดเวลาทท่ี รงประทบั อยู่ มภี าพประกอบสวยงามทไ่ี ดท้ รงบรรยายไวท้ งั้ ภาษาไทยและ
ภาษาองั กฤษ
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เรอ่ื งที่ 7: ขอให้เจ้าภาพจงเจริญ
เร่ืองย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 15 ทท่ี รงบนั ทกึ ไวเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นสาธารณรฐั ฟิลปิ ปินส์
ระหวา่ งวนั ท่ี 27 สงิ หาคม-2 กนั ยายน 2534 เป็นการเสดจ็ ฯ เยอื นสาธารณรฐั ฟิลปิ ปินสค์ รงั้ แรกของ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตามคากราบบงั คมทลู เชญิ ของรฐั บาลฟิลปิ ปินส์
และยงั ไดเ้ สดจ็ ฯ ไปทรงรบั รางวลั ของมลู นิธริ ามอน แมกไซไซ สาขาบรกิ ารชมุ ชน (Public Service)
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
2
เรือ่ งที่ 8: ขา้ มฝงั่ แห่งฝนั
เรอ่ื งย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 34 เป็นบนั ทกึ การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสหราชอาณาจกั ร ระหว่าง
วนั ท่ี 4-10 กรกฎาคม 2538 หลงั จากทไ่ี ดเ้ สดจ็ ฯ เยอื นสาธารณรฐั ฝรงั่ เศส ตามรายละเอยี ดใน
“สวนสมทุ ร” พระราชนิพนธล์ าดบั ท่ี 33 การเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นสหราชอาณาจกั รครงั้ น้ไี ดเ้ สดจ็ ฯ
ไปทรงเปิดงานสาคญั 2 งานในกรงุ ลอนดอน คอื งานดา้ นดนตรไี ทยศกึ ษาทม่ี หาวทิ ยาลยั ลอนดอน และ
นทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในวโรกาสฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 50 ปี
ณ สมาคมภมู ศิ าสตรแ์ หง่ ชาติ และไดเ้ สดจ็ ฯ เยอื นสถานทส่ี าคญั อน่ื ๆ ไดแ้ ก่ สวนพฤกษศาสตรค์ วิ
พพิ ธิ ภณั ฑป์ ระวตั ศิ าสตรธ์ รรมชาติ พพิ ธิ ภณั ฑด์ นตรี พระราชวงั วนิ ดเ์ ซอร์ เป็นตน้
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เรื่องที่ 9: ขา้ วไทยไปญ่ีป่ นุ
เร่อื งย่อ
พระราชนพิ นธห์ นงั สอื เรอ่ื งขา้ วไทยไปญป่ี นุ่ เล่มน้ี เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นประเทศญป่ี นุ่ ระหวา่ งวนั ท่ี
23-26 พฤศจกิ ายน 2537 บนั ทกึ การเสดจ็ ฯ เน่ืองจากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรง
รบั เชญิ จากสถาบนั วจิ ยั ขา้ วนานาชาติ (IRRI – International Rice Research Institute) ประเทศญป่ี ุน่ เสดจ็ ฯ
ไปทรงรว่ มงานและบรรยายพเิ ศษเรอ่ื งขา้ วไทยในงานวนั Japan-IRRI Day ทน่ี ครโตเกยี ว สาหรบั เน้ือหาของ
การบรรยายพเิ ศษนนั้ ทรงกลา่ วถงึ ประวตั ขิ องขา้ วไทยตงั้ แต่สมยั โบราณ ความสาคญั ของขา้ วตอ่ เศรษฐกจิ ของ
ประเทศ พระราชกรณียกจิ ดา้ นการเกษตรของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จนถงึ เรอ่ื งวถิ ชี วี ติ ประเพณี และ
วฒั นธรรมต่างๆ ของไทยทเ่ี กย่ี วเน่อื งกบั ขา้ ว เป็นตน้
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เรือ่ งท่ี 10: เขมรสามยก
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรอ่ื งเขมรสามยกเล่มน้ี ทรงบนั ทกึ
เรอ่ื งราวทรงเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นประเทศกมั พชู า 3 ครงั้ ครงั้ แรกระหวา่ งวนั ท่ี 25-27 สงิ หาคม 2535
ครงั้ ท่ี 2 วนั ท่ี 8 มกราคม 2536 และครงั้ ท่ี 3 ระหวา่ งวนั ท่ี 12-18 มกราคม 2536 ทรงใหค้ วามสนใจศกึ ษา
เรอ่ื งราวของประเทศกมั พชู า โดยเฉพาะในเรอ่ื งอทิ ธพิ ลของศลิ ปวฒั นธรรมเขมรทม่ี ตี ่อไทย เชน่ ดา้ นภาษา
และวรรณคดี รปู แบบทางศลิ ปกรรมและสถาปตั ยกรรม
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
3
เรอ่ื งที่ 11: คืนฟ้ าใส
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 9 จากบนั ทกึ การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นราชอาณาจกั รนอรเ์ วย์ และราชอาณาจกั ร
เดนมารก์ ระหวา่ งวนั ท่ี 17-26 มถิ ุนายน 2532 พระราชดารเิ กย่ี วกบั การเดนิ ทางครงั้ น้ี ไดท้ รงพระราชนพิ นธ์
ไวใ้ นคานาวา่ “ หลงั จากเครง่ เครยี ดกบั การดงู านวชิ าการ ดงั ทไี่ ดพ้ รรณนาไวใ้ นหนงั สอื “ปรศิ นาดวงดาว” แลว้
ในปีเดยี วกนั ยงั ไดไ้ ปประเทศนอรเ์ วย์ นบั เป็นประสบการณ์ทดี่ ี คอื ไดศ้ กึ ษาพ้นื ทตี่ ่างๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่
เหนอื เสน้ อารก์ ตกิ ดนิ ฟ้าอากาศชว่ งน้สี วา่ งกระจา่ งแจง้ จงึ เป็นทมี่ าของชอื่ หนงั สอื “คนื ฟ้าใส”
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เรื่องที่ 12: เจียงหนานแสนงาม
เรอื่ งย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 42 ในชดุ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นต่างประเทศ ทรงบนั ทกึ ไวเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราช
ดาเนินเยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจนี ระหวา่ งวนั ท่ี 2-14 เมษายน 2542 ทรงพระราชนิพนธใ์ น “คานา”
เกย่ี วกบั การเสดจ็ พระราชดาเนินครงั้ น้ี ตอนหน่งึ วา่ “คนไทยคนุ้ เคยกบั คาว่า เจยี งหนาน หรอื ทภี่ าษาจนี แตจ้ ว๋ิ
ออกเสยี งวา่ กงั นมั้ และภาษาไทยออกเสยี งเคลอื่ นไปว่า กงั หนา เพราะมภี าพยนตรเ์ กยี่ วกบั จกั รพรรดเิ ฉียนห
ลงเสดจ็ ประพาสเจยี งหนานมาฉายหลายเรอื่ ง ภาพยนตรจ์ นี กาลงั ภายในทฉี่ ายกนั ทางโทรทศั น์กม็ อี ยหู่ ลาย
เรอื่ งทกี่ ลา่ วถงึ เจยี งหนาน เรอื่ ง มงั กรหยก ของกมิ ยง้ กเ็ อาเจยี งหนานมาเป็นฉากสว่ นหนงึ่ ของเรอื่ ง มผี กู้ ลา้
หาญทงั้ เจด็ แหง่ กงั หนา อาจารยข์ องก๊วยเจ๋งเป็นตวั ละครในเรอื่ งดว้ ย เพลงในภาพยนตรเ์ รอื่ งจอมใจจกั รพรรดิ
หรอื เจยี งซานเหมย่ เหรนิ กร็ อ้ งบรรยายถงึ เจยี งหนานเชน่ กนั จนคาวา่ เจยี งหนานเหา่ หรอื เจยี งหนานแสน
งาม เป็นวลที ชี่ าวจนี พดู กนั ตดิ ปาก”
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เร่ืองท่ี 13: เฉลิมพระเกียรติและรวมพระราชนิพนธ์ (พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๒๐)
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า เจ้าฟ้ ามหาจกั รีสิรินธร รฐั สีมาคณุ ากรปิ ยชาติ สยามบรมราชกมุ ารี
เร่ืองย่อ
เป็นหนงั สอื รวมพระราชนพิ นธส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทงั้ รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง
และยงั ไดร้ วบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั พระราชพธิ สี ถาปนาพระราชอสิ รยิ ศกั ดิ ์สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟ้าสริ นิ ธร
เทพรตั นราชสดุ าฯ ในการพระราชพธิ เี ฉลมิ พระชนมพรรษา 5 ธนั วาคม 2520 หนงั สอื เล่มน้ีจดั แบง่ งาน
พระราชนพิ นธอ์ อกเป็นหวั ขอ้ ต่างๆ อนั ไดแ้ ก่ ชาติ ศาสนาและประเพณี ประวตั ศิ าสตร์ ภาษาและวรรณคดี
สารคดี วรรณกรรมรอ้ ยกรองภาษาไทย วรรณกรรมรอ้ ยกรองภาษาต่างประเทศ ดนตรี และปกณิ กะ
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาฝรงั่ เศส ภาษาเขมร รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรองได้
4
เรอ่ื งท่ี 14: ชมช่อมาลตี
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงบนั ทกึ เมอ่ื เสดจ็ พระราชดาเนิน
ประเทศอนิ โดนีเซยี ระหวา่ งวนั ท่ี 2-16 ตุลาคม 2527 ภาพแรกเป็นพระบรมฉายาลกั ษณ์พระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อยหู่ วั สง่ เสดจ็ ฯ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทท่ี รงคกุ พระชานุกอด
"ทลู กระหมอ่ มพอ่ " ทท่ี รงวางพระหตั ถท์ งั้ สองบนพระองั สะและพระปฤษฎางคพ์ ระราชธดิ าชา่ งน่ารกั นกั หนา
ทรง "บอกกลา่ วเสยี กอ่ น" เหมอื นคานา ความวา่ หนงั สอื "ชมชอ่ มาลต"ี มาจากสมดุ บนั ทกึ การเดนิ ทาง ซง่ึ
เขยี นขน้ึ อยา่ งเรง่ ดว่ น ในการทพ่ี ระองคท์ า่ นเสดจ็ ฯ ต่างประเทศทกุ ครงั้ ทท่ี รงใชช้ อ่ื "ชมชอ่ มาลต"ี เพราะดอก
มาลตี คอื ดอกมะลทิ อ่ี นิ โดนีเซยี ถอื เป็นดอกไมป้ ระจาชาติ
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เร่ืองท่ี 15: ชมดอกไม้ไกลบา้ น
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงบนั ทกึ เมอ่ื เสดจ็ พระราชดาเนิน
ประเทศญป่ี ุน่ ชมดอกไมไ้ กลบา้ น เป็นพระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 12 ในชดุ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นนานา
ประเทศอยา่ งเป็นทางการของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ระหวา่ งวนั ท่ี 19-30
มถิ นุ ายน 2533
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
เรอ่ื งที่ 16: ดอยตงุ เชียงตงุ
เรื่องย่อ
พระราชนิพนธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรอ่ื งดอยตุง เชยี งตุง ทรงบนั ทกึ เม่อื ครงั้ เสดจ็ ฯ
เยอื นเชยี งตงุ สาธารณรฐั พมา่ อยา่ งไมเ่ ป็นทางการ เมอ่ื วนั ท่ี 1-3 มนี าคม 2537
เร่ืองที่ 17: แดรก๊ คลู ่าผ้นู ่ารกั
เรอ่ื งย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรอ่ื งแดรก๊ คลู า่ ผนู้ ่ารกั ทรงบนั ทกึ ไวเ้ มอ่ื
ครงั้ เสดจ็ ฯ เยอื น 3 ประเทศในยโุ รปตะวนั ออก ไดแ้ ก่ ประเทศโรมาเนยี สาธารณรฐั ประชาชนฮงั การี
สาธารณรฐั ออสเตรยี เบลเยย่ี ม และสวติ เซอรแ์ ลนด์ ทงั้ ทรงเสดจ็ ฯ ไปเฝ้าฯ สมเดจ็ พระราชนิ ีฟาบโิ อลา
ทร่ี าชอาณาจกั รเบลเยยี ม ระหวา่ งวนั ท่ี 13-25 มนี าคม 2537 ทรงเรยี บเรยี งตามลาดบั เหตกุ ารณ์ทม่ี เี รอ่ื งราว
วฒั นธรรมทเ่ี กา่ แก่ สถาปตั ยกรรมโบราณทส่ี วยงาม โดยมภี าพประกอบพรอ้ มคาอธบิ ายภาพ
และคาบรรยายเรอ่ื งราวตามลาดบั เหตกุ ารณ์นนั้ ๆ
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
5
เรอ่ื งท่ี 18: ต้นน้า ภผู า และป่ าทราย
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 48 ในชดุ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นต่างประเทศ ทรงพระราชนพิ นธค์ ราวเสดจ็
พระราชดาเนินเยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจนี เป็นครงั้ ท่ี 14 ระหวา่ งวนั ท่ี 13-27 สงิ หาคม 2544 ในครงั้ น้ี
ทรงบนั ทกึ การเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นมณฑลชงิ ไห่ เขตปกครองตนเองหนิงเซย่ี เขตปกครองตนเองทเิ บต
มหานครปกั กง่ิ และมณฑลเหอเปย่
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เร่ืองที่ 19: ใต้เมฆท่ีเมฆใต้
เรอ่ื งย่อ
"ใตเ้ มฆทเ่ี มฆใต"้ เลม่ น้ี เป็นชดุ เสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นต่างประเทศลาดบั ท่ี 31 ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกมุ ารี ทท่ี รงพระราชนพิ นธไ์ วเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นมณฑลยนู นาน สาธารณรฐั
ประชาชนจนี เมอ่ื พ.ศ. 2538 ซง่ึ เป็นปีของการเฉลมิ ฉลอง 20 ปี ความสมั พนั ธไ์ ทย-จนี การเสดจ็ ฯ ครงั้ นนั้
นอกจากจะไดท้ อดพระเนตรสถานทท่ี อ่ งเทย่ี วต่างๆ แลว้ ยงั ไดเ้ สดจ็ ฯ ไปทรงเยย่ี มสถาบนั ทางวชิ าการ
ทน่ี ่าสนใจดว้ ย เชน่ พพิ ธิ ภณั ฑม์ ณฑลยนู นาน โรงงานผลติ ยานครคนุ หมงิ มหาวทิ ยาลยั ยนู นาน
สวนพฤกษาศาสตรส์ มนุ ไพร สวนพฤกษาศาสตรเ์ ขตรอ้ นสบิ สอบปนั นา ฯลฯ ซง่ึ เป็นแหลง่ รวบรวมความรู้
อนั สาคญั
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
เรอ่ื งท่ี 20: ทวิภาคสญั จร
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรอ่ื ง ทวภิ าคสญั จร เมอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราช
ดาเนนิ เยอื นประเทศฝรงั่ เศส และสเปน ระหวา่ งวนั ท่ี 16-31 พฤษภาคม 2535 ทรงเสดจ็ ทอดพระเนตรสถานท่ี
สาคญั ของฝรงั่ เศสหลายแหง่ อาทิ หอไอเฟล ประสาทแวงแซน รา้ นหนงั สอื FNAC และเสดจ็ ไปยงั สานกั งาน
ใหญ่องคก์ ารยเู นสโกเพอ่ื ทรงรว่ มงานฉลองวนั พระราชสมภพครบรอบ 100 ปี สมเดจ็ พระบรมราชชนก
นอกจากน้ยี งั ทรงเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรสถานทส่ี าคญั ของสเปน เชน่ โบสถใ์ หญท่ ส่ี ดุ ในสเปน วงั Alcazar
เป็นตน้
เรอ่ื งที่ 21: ทศั นะจากอินเดีย
เรื่องย่อ
“ทศั นะจากอนิ เดยี ” เป็นบนั ทกึ เรอ่ื งราวการเสดจ็ ฯ เยอื นสาธารณรฐั อนิ เดยี ระหว่างวนั ท่ี 10-28 มนี าคม 2530
ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ซง่ึ ไดเ้ สดจ็ เยอื นเมอื งสาคญั ต่างๆ ของอนิ เดยี ตงั้ แต่
นครกลั กตั ตา เมอื งโครกั ขปุระ ปตั นะ พาราณสี ศรนี าคาร์ และกรงุ เดลี ทรงทอดพระเนตรสถานทส่ี าคญั ทาง
ประวตั ศิ าสตร์ โบราณคดี ศาสนา และศลิ ปวฒั นธรรมหลายแห่ง
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
6
เรอ่ื งท่ี 22: ไทยเท่ียวพมา่
เรอื่ งย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรอ่ื ง ไทยเทย่ี วพมา่ เลม่ น้ี เป็นพระราช
นพิ นธท์ ท่ี รงบนั ทกึ ไวเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั สงั คมนิยมสหภาพพมา่ หรอื สหภาพพมา่
ในปจั จุบนั เมอ่ื วนั ท่ี 21-31 มนี าคม 2529 ตามคากราบทลู เชญิ ของทา่ น อู เนวนิ ประธานพรรคโครงการสงั คม
นิยมพมา่ ในขณะนนั้ โดยเป็นการเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นประเทศพมา่ เป็นครงั้ แรกของพระองค์ เน้ือหาสว่ น
ใหญท่ รงเล่าถงึ สภาพบา้ นเมอื ง ภมู ปิ ระเทศ ความเป็นอยู่ โบราณวตั ถุ โบราณสถาน ซง่ึ งดงามและทรงคณุ คา่
ทางประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรม การพฒั นาประเทศ ฯลฯ แทรกดว้ ยสาระหนา้ รแู้ ละมภี าพประกอบจานวนมาก
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
เรือ่ งที่ 23: เบอรล์ ินสิ้นกาแพง
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธห์ นงั สอื เรอ่ื ง เบอรล์ นิ สน้ิ กาแพง เลม่ น้ี สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
พระราชนพิ นธเ์ มอ่ื ทรงเสดจ็ ฯ เยอื นสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนั ระหว่างวนั ท่ี 21-24 พฤษภาคม 2538
การเสดจ็ ฯ เยอื นตา่ งประเทศในครงั้ น้ี คอื การเสดจ็ ฯ ทรงเปิดงานนทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อยหู่ วั เน่ืองในวโรกาสฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 50 ปี ณ Kurzentrum นครแฟรงกเ์ ฟรติ ์ ซง่ึ เป็นการจดั
นิทรรศการครงั้ แรกในทวปี ยโุ รป และทรงพบประธานาธบิ ดี (Prof. Dr. Roman Herzog) แหง่ สหพนั ธ์
สาธารณรฐั เยอรมนั ทน่ี ครเบอรล์ นิ
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษ หรอื ภาษาเยอรมนั ได้
เร่ืองที่ 24: ประพาสภาษา
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมอ่ื เสดจ็ ฯ ไปทรงเรยี นภาษาเยอรมนั ท่ี
เมอื งเกติ ตงิ เงน ระหวา่ งวนั ท่ี 19 กมุ ภาพนั ธ-์ 20 มนี าคม 2545 ทรงเล่าว่า "การเรยี นไมไ่ ดเ้ ป็นไปดงั ทคี่ ดิ ไวท้ กุ
ประการ เนือ่ งจากมเี วลาไปเขา้ เรยี นเพยี ง 3 สปั ดาห์ แทนทจี่ ะเป็น 3 เดอื น ในระหวา่ ง 3 สปั ดาห์ กม็ กี จิ กรรม
ตา่ งๆ แทรกอยู่ ทาใหข้ าดเวลา ทจี่ ะใชท้ บทวนบทเรยี น กจิ กรรมนอกหลกั สตู รเหล่านนั้ บางสว่ นกช็ ว่ ยใหม้ ี
โอกาสใชภ้ าษาเยอรมนั มากขน้ึ บางอยา่ งไมช่ ว่ ยการเรยี นภาษาเยอรมนั แต่ชว่ ยใหม้ คี วามรกู้ วา้ งขวางขน้ึ ทงั้
ในดา้ นความรเู้ กยี่ วกบั เยอรมนั นี และความรอู้ นื่ ๆ"
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษ หรอื ภาษาเยอรมนั ได้
7
เรอ่ื งท่ี 25: ประพาสอทุ ยาน
เรื่องย่อ
เรอ่ื งประพาสอทุ ยานเลม่ น้บี นั ทกึ เรอ่ื งราวการเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นประเทศองั กฤษ สกอ็ ตแลนด์ และ
สวติ เซอรแ์ ลนด์ ระหว่างวนั ท่ี 4-17 กรกฎาคม 2536 การเสดจ็ ฯ ครงั้ น้ี ชว่ งเวลาเกอื บ 2 สปั ดาห์ ทป่ี ระทบั ใน
ยโุ รป ทรงใชช้ วี ติ ในสวนเสยี เป็นสว่ นมาก นอกจากน้ี ไดเ้ สดจ็ ฯ ทอดพระเนตรสวนพฤกศาสตรห์ ลายแหง่ ทงั้
ในองั กฤษและสกอ็ ตแลนด์ รวมไปถงึ การเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรทศั นียธรรมทางธรรมชาตทิ ง่ี ดงามของบรเิ วณ
Lake District ในประเทศองั กฤษอกี ดว้ ย อกี ทงั้ เน้ือหาในพระราชนิพนธท์ น่ี อกจากจะทรงสอดแทรกสาระและ
เกรด็ ความรเู้ กย่ี วกบั พชื พรรณไมแ้ ละธรรมชาตไิ วอ้ ยา่ งน่าสนใจแลว้ ยงั มภี าพประกอบทส่ี วยงามเป็นจานวนมาก
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เรื่องท่ี 26: ปริศนาดวงดาว
เรอ่ื งย่อ
ปรศิ นาดวงดาว บนั ทกึ สาระความรู้ ความสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ และภาพประกอบทส่ี วยงามจากสถานท่ี
ตา่ งๆ จากการเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นฝรงั่ เศส เนเธอรแ์ ลนด์ และเบลเยย่ี ม เพอ่ื ทรงศกึ ษาดงู านเกย่ี วกบั
การสารวจขอ้ มลู ระยะทางไกล รวมถงึ พระฉายาลกั ษณ์ในพระอริ ยิ าบถต่างๆ
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
เรือ่ งที่ 27: ป่ าสงู น้าใส
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 16 จากบนั ทกึ การเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื น “เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม” ระหว่างวนั ท่ี
7-14 กนั ยายน 2534 ทรงพระราชนิพนธไ์ วใ้ น “ความนา” มใี จความตอนหน่ึงว่า “เรอื่ งน้ีอาจถอื ไดว้ า่ เป็นภาค
2 ของเรอื่ ง “ลดั ฟ้าลา่ วชิ าหาอาจารย”์ เพราะว่าเมอื่ วนั ที่24 มกราคม (2534) ขา้ พเจา้ ไดไ้ ปทรี่ าชสมาคม
ภมู ศิ าสตร์ (The Royal Geographical Society) ตอนนนั้ ไดท้ ราบเรอื่ งโครงการศกึ ษาปา่ ดบิ เมอื งรอ้ นทบี่ รไู น
พอไดย้ นิ เขา้ ขา้ พเจา้ กเ็ กดิ ความสนใจขน้ึ มาทนั ที เพราะเขาศกึ ษาปา่ ในหลายแงห่ ลายมมุ นกั วชิ าการหลาย
สาขามาศกึ ษาและแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และประสบการณ์ ทางสมาคมมี Dr. John Hemming ผอู้ านวยการ
ของสมาคม เขาบอกวา่ ถา้ ไทยจะสง่ นกั ศกึ ษามารว่ มโครงการกไ็ ด้ ขา้ พเจา้ เลยถามวา่ ถา้ ขา้ พเจา้ จะไปดเู อง
กอ่ นจะเป็นไปไดไ้ หม เขาบอกว่า “ไมม่ ปี ญั หา” ขา้ พเจา้ กเ็ ลยตกลงใจจะไป”
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
8
เรอ่ื งที่ 28: เปิ ดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว
เร่อื งย่อ
หนงั สอื เปิดสะพานมติ รภาพไทย–ลาว พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
สะพานมติ รภาพไทย-ลาวเปิดเมอ่ื วนั ท่ี 8 เมษายน 2537 สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
โดยเสดจ็ ฯ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ การเสดจ็ ฯ ครงั้ น้ี โดย
เครอ่ื งบนิ พระทน่ี งั่ จากทา่ อากาศยานกองบญั ชาการกองทพั อากาศ ไปยงั ทา่ อากาศยานอุดรธานี ประทบั
เฮลคิ อปเตอรพ์ ระทน่ี งั่ ไปสนามกองรอ้ ยตารวจตระเวนชายแดนท่ี 245 จงั หวดั หนองคายประทบั รถยนต์
พระทน่ี งั่ เสดจ็ ฯ ไปยงั สะพานมติ รภาพไทย-ลาว
เร่ืองที่ 29: มนต์รกั ทะเลใต้
เรอ่ื งย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 37 จากบนั ทกึ การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นหมเู่ กาะทะเลใต้ เรม่ิ จากสาธารณรฐั
สงิ คโปร์ สปู่ าปวั นวิ กนิ ี ราชอาณาจกั รตองกา หมเู่ กาะคุก สาธารณรฐั หมเู่ กาะฟิจิ และหมเู่ กาะโซโลมอน
ระหวา่ งวนั ท่ี 15-25 เมษายน 2539
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
เรอื่ งที่ 30: มว่ นซื่นเมืองลาว
เรอ่ื งย่อ
หนงั สอื พระราชนิพนธ์ มว่ นซน่ื เมอื งลาว เป็นบนั ทกึ การเสดจ็ ฯ เยอื นสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ครงั้ แรกในวนั ท่ี 11 เมษายน 2535 เสดจ็ ฯ ทอดพระเนตร
เมอื งปากเซ แขวงจาปาสกั โดยผา่ นทางชอ่ งเมก็ อาเภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี ครงั้ ทส่ี อง ระหว่างวนั ท่ี
16-19 ตลุ าคม 2535 ทรงพบประธานประเทศ และผนู้ ารฐั บาลลาว และเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรสถานทส่ี าคญั
ต่างๆ ในแขวงพงสาลี และแขวงหลวงพระบาง ครงั้ ทส่ี าม ในวนั ท่ี 27 พฤศจกิ ายน 2543 ตามเสดจ็ สมเดจ็
พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ไปทรงรว่ มพธิ ฌี าปนกจิ ศพ ทา่ นไกสอน พมวหิ าน อดตี ประธาน
ประเทศ และครงั้ ทส่ี ่ี ระหวา่ งวนั ท่ี 9-14 พฤศจกิ ายน 2536 ทรงประกอบพธิ ถี วายผา้ พระกฐนิ ทงั้ ในกรุงเวยี งจนั ทน์
และแขวงหลวงพระบาง และเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรสถานทส่ี าคญั ต่างๆ อกี ดว้ ย
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
9
เรอ่ื งที่ 31: มงุ่ ไกลในรอยทราย
เรื่องย่อ
เรอ่ื ง “มงุ่ ไกลในรอยทราย” พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 11 ในชดุ เสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นต่างประเทศ และเป็น
ครงั้ ท่ี 2 ของการเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจนี ทรงบนั ทกึ ไวเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดาเนนิ
เยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจนี ระหว่างวนั ท่ี 7 เมษายน–21 เมษายน 2533 ในครงั้ น้ไี ดเ้ สดจ็ พระราชดาเนนิ
ตามเสน้ ทางสายแพรไหม (Silk Road) ซง่ึ เป็นเสน้ ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศ เชอ่ื มการตดิ ตอ่ คา้ ขายระหว่าง
จนี กบั แควน้ ต่างๆ ในเอเชยี และยโุ รป
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เรื่องท่ี 32: เมือ่ ข้าพเจ้าเป็นนักเรียนนอก
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 44 ในชดุ เสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นตา่ งประเทศ ทรงบนั ทกึ ไวเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราช
ดาเนนิ ไปทรงศกึ ษาภาษาจนี ณ สาธารณรฐั ประชาชนจนี ระหวา่ งวนั ท่ี 14 กมุ ภาพนั ธ-์ 15 มนี าคม 2544
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
เรื่องท่ี 33 : ยามลมหนาว เล่ม 1
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 35 บนั ทกึ เรอ่ื งราวหลากหลายทน่ี ่าสนใจระหว่างการเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื น
สาธารณรฐั โปแลนด์ สาธารณรฐั เชก็ สาธารณรฐั อติ าลี สาธารณรฐั สโลวกั และสาธารณรฐั ฝรงั่ เศส ระหวา่ งวนั ท่ี
13-23 กมุ ภาพนั ธ์ 2539 อนั เป็นการเสดจ็ พระราชดาเนินแทนพระองคเ์ ยอื นสาธารณรฐั โปแลนด์ ตามคากราบ
บงั คมทลู เชญิ ของประธานาธบิ ดโี ปแลนด์
เรอ่ื งท่ี 33: ยามลมหนาว เล่ม 2
เร่ืองย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 35 บนั ทกึ เรอ่ื งราวหลากหลายทน่ี ่าสนใจระหว่างการเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื น
สาธารณรฐั โปแลนด์ สาธารณรฐั เชก็ สาธารณรฐั อติ าลี สาธารณรฐั สโลวกั และสาธารณรฐั ฝรงั่ เศส ระหว่าง
วนั ท1่ี 3-23 กมุ ภาพนั ธ์ 2539 อนั เป็นการเสดจ็ พระราชดาเนนิ แทนพระองคเ์ ยอื นสาธารณรฐั โปแลนด์ ตามคา
กราบบงั คมทลู เชญิ ของประธานาธบิ ดโี ปแลนด์
10
เรอ่ื งที่ 35: เยน็ สบายชายน้า
เรอ่ื งย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เรอ่ื งเยน็ สบายชายน้าเลม่ น้ี บนั ทกึ
เรอ่ื งราวการเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจนี ระหว่างวนั ท่ี 14-27 สงิ หาคม 2539 โดยเรม่ิ
จากคนุ หมงิ ถงึ ฉงชงิ่ แลว้ ประทบั เรอื พระทน่ี งั่ ลอ่ งไปตามแมน่ ้าแยงซเี กยี ง หรอื ฉางเจยี ง ซง่ึ เป็นแมน่ ้าทย่ี าว
ทส่ี ดุ ในประเทศจนี และของทวปี เอเซยี และการทอดพระเนตรโครงการซานเสยี ซง่ึ เป็นโครงการกอ่ สรา้ งเขอ่ื นท่ี
ใหญ่ทส่ี ดุ ในโลก
เรื่องท่ี 36: โรมนั สญั จร
เร่ืองย่อ
พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 7 จากบนั ทกึ การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั อติ าลี ระหว่างวนั ท่ี 3-16
เมษายน 2531 เพอ่ื ทรงเขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการคดั เลอื กผสู้ มควรไดร้ บั รางวลั ฮนั ส์ ครสิ เตยี น แอนเดอร์
สนั จดั โดย IBBY (International Board on Books for Young People) และเสดจ็ ฯ ไปทรงเยย่ี มชมสถานทท่ี ่ี
น่าสนใจตา่ งๆ ในอติ าลี
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
เรื่องที่ 37: ลดั ฟ้ าล่าวิชาหาอาจารย์
เรอ่ื งย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรอ่ื ง ลดั ฟ้าล่าวชิ าหาอาจารย์ เล่มน้ีทรงเล่า
ถงึ การเสดจ็ ฯ เยอื น 4 ประเทศในทวปี ยโุ รป ไดแ้ ก่ ประเทศองั กฤษ ฝรงั่ เศส เบลเยย่ี ม และ สวติ เซอรแ์ ลนด์
ระหวา่ งวนั ท่ี 8-30 มกราคม 2534 กลา่ วถงึ การทรงเขา้ รว่ มฟงั บรรยายในสถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆ ของ
ประเทศเหล่านนั้ เพอ่ื ทรงศกึ ษาคน้ ควา้ ความรเู้ พม่ิ เตมิ และทรงพบปะผเู้ ชย่ี วชาญและนกั วชิ าการในแขนงวชิ า
ตา่ งๆ ทม่ี หาวทิ ยาลยั ออ๊ กซฟอรด์ เสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรพพิ ธิ ภณั ฑ์ และหอสมดุ ต่างๆ ทงั้ ทรงเยย่ี มพพิ ธิ ภณั ฑ์
และสถาบนั น่าสนใจอน่ื ๆ เป็นตน้
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษ ภาษาฝรงั่ เศส ภาษาจนี หรอื ภาษาเยอรมนั ได้
11
เรอ่ื งที่ 38: ลาวใกล้บา้ น
เรื่องย่อ
เรอ่ื งลาวใกลบ้ า้ นเล่มน้ี ทรงพระราชนิพนธไ์ วเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ ฯ เยอื นสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
ระหวา่ งวนั ท่ี 28 ตลุ าคม-1 พฤศจกิ ายน 2537 ทรงทอดพระเนตรกจิ การและสถานทต่ี า่ งๆ ทเ่ี วยี งจนั ทน์
แขวงไชยะบุลี เขตพเิ ศษเชยี งฮ่อนหงสา แขวงบ่อแกว้ เป็นอกี ประเทศหน่ึงทส่ี มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ
สยามบรมราชกมุ ารที รงใหค้ วามสนพระราชหฤทยั และไดเ้ สดจ็ ฯ เยอื นหลายครงั้ นอกจากนนั้ ไดเ้ สดจ็ ฯ เยย่ี ม
โครงการศนู ยพ์ ฒั นาและบรกิ ารดา้ นการเกษตร หลกั 22 ซง่ึ เป็นโครงการตามพระราชดารขิ องพระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อยหู่ วั ทพ่ี ระราชทานแกร่ ฐั บาลและประชาชนลาวอกี ดว้ ย
เรอ่ื งที่ 39: ลาวตอนใต้
เร่ืองย่อ
"ลาวตอนใต"้ เล่มน้ี เป็นพระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 36 ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ท่ี
ทรงพระราชนพิ นธไ์ วเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นประเทศลาวทางตอนใต้ เพอ่ื นบา้ นทส่ี าคญั และมคี วาม
ผกู พนั ทางดา้ นศลิ ปะและวฒั นธรรมกบั ไทยมายาวนาน
เร่ืองท่ี 40: ลาวเหนือเม่ือปลายหนาว
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรอ่ื งลาวเหนือเมอ่ื ปลายหนาวเลม่ น้ี
บนั ทกึ เรอ่ื งราวการ เสดจ็ ฯ เยอื นลาวในครงั้ น้ี (ระหว่างวนั ท่ี 21-24 มกราคม 2540) สมเดจ็ พระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดเ้ สดจ็ ฯ เยอื นครบหมดทกุ แขวงของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชน
ลาวแลว้ โดยไดเ้ สดจ็ ฯ เยอื นแขวงทางตอนเหนอื ของลาว ไดแ้ ก่ แขวงอดุ มไซและแขวงหลวงน้าทา เพอ่ื
ทอดพระเนตรและศกึ ษาสภาพวถิ ี ชวี ติ ความเป็นอยู่ ตลอดจนศลิ ปวฒั นธรรมของประชาชนลาวในพน้ื ท่ี
ดงั กล่าว และเสดจ็ ฯ เยย่ี มกจิ การของโรงพยาบาลและโรงเรยี นของทอ้ งถน่ิ อกี ดว้ ย
เร่อื งท่ี 41: ลยุ ป่ าฝ่ าฝน
เรอ่ื งย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรอ่ื ง ลยุ ปา่ ฝา่ ฝน เมอ่ื ครงั้ เสดจ็ ฯ เยอื น
ประเทศมาเลเซยี ระหวา่ งวนั ท่ี 11-15 เมษายน 2537 การเสดจ็ ฯ เยอื นในครงั้ นนั้ นอกจากกาหนดการเขา้ เฝ้า
ฯ สมเดจ็ พระราชาธบิ ดี และพระราชนิ ีแหง่ มาเลเซยี และทรงพบผนู้ ารฐั บาลมาเลเซยี แลว้ ไดเ้ สดจ็ ฯ ไปยงั เมอื งคู
ชงิ และเมอื งมริ ิ ในรฐั ซาราวกั เพอ่ื ทอดพระเนตรและทรงทศั นศกึ ษาสถานทส่ี าคญั ทางธรรมชาตแิ ละ
พฤกษศาสตร์ อกี ทงั้ ประเทศมาเลเซยี ยงั เป็นเพอ่ื นบา้ นทส่ี าคญั และมคี วามผกู พนั ทางดา้ นศลิ ปะวฒั นธรรมกบั
ไทยมายาวนานโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กบั ภาคใตข้ องประเทศไทย
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
12
เรื่องที่ 42: สวนสมทุ ร
เรื่องย่อ
"สวนสมทุ ร" เลม่ น้ี เป็นชดุ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นต่างประเทศ ลาดบั ท่ี 33 ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกมุ ารี ทท่ี รงพระราชนิพนธไ์ วเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นประเทศฝรงั่ เศส เมอ่ื พ.ศ. 2538
ทรงเสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปยงั สถานทท่ี ย่ี งั ไมเ่ คยทอดพระเนตรเลย เชน่ ศนู ยอ์ นุรกั ษ์พรรณพชื แหง่ ชาติ
ปอรเ์ กอรอลส์ พพิ ธิ ภณั ฑป์ ระวตั ศิ าสตรธ์ รรมชาติ สานกั งานกาชาดฝรงั่ เศส และอน่ื ๆ อกี มากมาย รวมทงั้ นอร์
มงั ดอี นั เป็นสถานทส่ี าคญั ทางประวตั ศิ าสตรส์ มยั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ซง่ึ ผอู้ า่ นจะไดร้ บั ความเพลดิ เพลนิ
เสมอื นหน่ึงไดต้ ามเสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปฝรงั่ เศสดว้ ยตวั เองเลยทเี ดยี ว
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษ ภาษาฝรงั่ เศส หรอื ภาษาเยอรมนั ไดภ้ าษาใดภาษาหน่ึง
เรอ่ื งที่ 43: หวงเหออ่อู ารยธรรม
เรื่องย่อ
"หวงเหออ่อู ารยธรรม" พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 43 ในชดุ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นตา่ งประเทศ ซง่ึ สมเดจ็
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงบนั ทกึ ไวเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั
ประชาชนจนี ระหวา่ งวนั ท่ี 7-20 มนี าคม 2543 ครงั้ น้ที รงบนั ทกึ เป็นจดหมาย 14 ฉบบั ตามจานวนวนั ของการ
เสดจ็ ฯ เยอื นจนี ในคราวน้ี ไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนนิ ทอดพระเนตรสถานทต่ี ่างๆ ทน่ี ่าสนใจ ในมณฑล
สา่ นซี มณฑลซานตง มณฑลเหอหนาน อนั เป็นบรเิ วณทแ่ี มน่ ้าหวงเหอไหลผา่ น เป็นออู่ ารยธรรมของจนี
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เรื่องที่ 44: แอนตารก์ ติกา: หนาวหน้าร้อน
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็นบนั ทกึ เมอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดาเนิน
เยอื นทวปี แอนตารก์ ตกิ า ประเทศนวิ ซแี ลนด์ หรอื ขวั้ โลกใต้ ดนิ แดนแหง่ ความหนาวเยน็ และทวิ ทศั น์อนั
งดงาม ระหวา่ งวนั ท่ี 17-24 พฤศจกิ ายน 2536 ทรงทอดพระเนตรหน่วยงานต่างๆ ภายใน Scott Base
พพิ ธิ ภณั ฑข์ องศนู ยแ์ อนตารก์ ตกิ าระหวา่ งประเทศ ถ้าน้าแขง็ Erebus Glacier Tongue เทย่ี วชมนก
เพนกวนิ ฯลฯ ซง่ึ ทรงเลา่ เหตุ การณ์ว่าเป็นการเดนิ ทางทต่ี อ้ งผจญภยั ครงั้ ยงิ่ ใหญ่ สดู่ นิ แดนทม่ี คี วามแตกต่าง
ทางภมู ศิ าสตรแ์ ละภมู อิ ากาศจากประเทศไทยเป็นอยา่ งมาก
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
เรอ่ื งที่ 45: ไอรกั คืออะไร?
เร่อื งย่อ
ไอรกั คอื อะไร? เลม่ น้ี เป็นพระราชนิพนธล์ าดบั ท่ี 19 ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ทท่ี รงพระราชนพิ นธไ์ วเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจนี และสาธารณรฐั ประชาชน
มองโกเลยี สองดนิ แดนทม่ี วี ฒั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณที น่ี ่าสนใจ และถอื เป็นตน้ กาเนิดหน่ึงของ
อารยธรรมตะวนั ออกอนั เกา่ แกท่ แ่ี พรก่ ระจายไปในหลายประเทศ ระหว่างวนั ท่ี 3-12 ตุลาคม 2535
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
13
หนังสือพระราชนิพนธท์ วั่ ไป
เรอ่ื งที่ 46: เกาะในฝนั
เร่ืองย่อ
หนงั สอื พระราชนิพนธบ์ นั ทกึ การเสดจ็ ฯ เยอื นเกาะต่างๆ ในจงั หวดั ภเู กต็ พงั งาและกระบ่ี ระหวา่ งวนั ท่ี 16-21
เมษายน 2516 ในการน้ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ สมเดจ็ พระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟ้าจฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ
ไปทรงเยย่ี มโรงเรยี น อาเภอ หมบู่ า้ น และสถานทส่ี าคญั ต่างๆ ทรงเยย่ี มและพระราชทานของแกร่ าษฎร นกั เรยี น
เดก็ ผปู้ ว่ ย และคนยากจนดว้ ย
เรื่องท่ี 47: สปั ดาหส์ บายๆ ใกล้ชายหาด
เรื่องย่อ
เป็นหนงั สอื พระราชนพิ นธบ์ นั ทกึ การเสดจ็ ฯ ไปปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ณ จงั หวดั เพชรบรุ ี และจงั หวดั
ประจวบครี ขี นั ธ์ ระหว่างวนั อาทติ ยท์ ่ี 14–วนั ศกุ รท์ ่ี 19 สงิ หาคม 2537 ในการน้ี ไดเ้ สดจ็ ฯ ไปทรงปลกู ตน้ ไม้
และปล่อยปลาลงในอา่ งเกบ็ น้าคา่ ยพระราม 6 ทอดพระเนตรพระราชนิเวศน์มฤคทายวนั ทรงฟงั การบรรยาย
สรปุ เกย่ี วกบั ภมู ปิ ระเทศบรเิ วณปา่ ละอู ทรงพระดาเนินเขา้ ปา่ ไปทท่ี า่ น้าเพชรบรุ ี ระหวา่ งทางทอดพระเนตร
พรรณไมต้ ่างๆ ทรงเยย่ี มศนู ยส์ ง่ เสรมิ การศกึ ษาบา้ นโปง่ ลกึ ทอดพระเนตรเขอ่ื นแกง่ กระจานและทรงฟงั คา
บรรยายประกอบสไลดม์ ลั ตวิ ชิ นั่ เกย่ี วกบั อทุ ยานแหง่ ชาตแิ กง่ กระจาน ทรงเยย่ี มโรงเรยี นวงั ไกลกงั วล วทิ ยาลยั
การอาชพี วงั ไกลกงั วล โรงเรยี นวงั ไกลกงั วลฝา่ ยประถมศกึ ษา อนุบาล และชนั้ เดก็ เลก็ เสดจ็ ฯ ไปยงั คา่ ย
พระราม 6 เพอ่ื ทรงปลกู ปา่ ชายเลน ทรงประกอบพธิ ผี กู พทั ธสมี าพระอโุ บสถ ณ วดั เขาน้อย อาเภอปราณบุรี
จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ทรงประกอบพธิ เี ปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอบางสะพาน จงั หวดั
ประจวบครี ขี นั ธ์ ทรงเยย่ี มศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทราย อนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ อาเภอชะอา จงั หวดั
เพชรบรุ ี และทอดพระเนตรโครงการศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ มแหลมผกั เบย้ี ตาบลผกั เบย้ี อาเภอ
บา้ นแหลม จงั หวดั เพชรบรุ ี
เรือ่ งที่ 48: บหุ งาราไป
เร่อื งย่อ
เป็นหนงั สอื พระราชนพิ นธป์ ระกอบนิทรรศการเรอ่ื งศลิ ปะอนิ โดนีเซยี ณ พระทน่ี งั่ อศิ ราวนิ ิจฉยั
พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ กรงุ เทพมหานคร ระหวา่ งวนั ท่ี 1 เมษายน–31 พฤษภาคม 2528
กรมศลิ ปากรจดั ขน้ึ เน่ืองในวโรกาสวนั คลา้ ยวนั พระราชสมภพครบ 30 พระชนั ษา หนงั สอื พระราชนพิ นธเ์ ล่มน้ี
เป็นสว่ นขยายของหนงั สอื พระราชนพิ นธช์ ดุ เสดจ็ ฯ เยอื นต่างประเทศเรอ่ื ง ชมชอ่ มาลตี ซง่ึ ทรงบนั ทกึ
เรอ่ื งราวการเดนิ ทางคราวเสดจ็ ฯ เยอื นสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี ในปี 2527
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
14
หนังสือพระราชนิพนธบ์ ทกวี
เรื่องที่ 49: กาลเวลาที่ผา่ นเลย
เรอ่ื งย่อ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระราชานุญาต
แกบ่ รษิ ทั หนงั สอื สรุ วิ งศบ์ ๊คุ เซนเตอร์ จากดั จดั พมิ พห์ นงั สอื พระราชนพิ นธ์ "กาลเวลาทผ่ี า่ นเลย" เพอ่ื จดั พมิ พ์
เป็นทร่ี ะลกึ เปิดอาคารเลขท่ี 54 ถนนศรดี อนไชย อาเภอเมอื งเชยี งใหม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ เมอ่ื วนั ท่ี 12 มนี าคม
2540 และจาหน่ายเพอ่ื นารายไดห้ ลงั หกั คา่ ใชจ้ ่ายทลู เกลา้ ฯ ถวายโดยเสดจ็ พระราชกศุ ลสมทบทนุ สรา้ ง
โรงเรยี นทจ่ี งั หวดั ตาก หนงั สอื รวมพระราชนิพนธบ์ ทกวี "กาลเวลาทผ่ี า่ นเลย" รองศาสตราจารย์ ศภุ รตั น์
เลศิ พาณชิ ยก์ ลุ เป็นผรู้ วบรวม ซง่ึ ไดค้ ดั บทรอ้ ยกรองและบทเพลงพระราชนิพนธ์ 60 บท มาจดั พมิ พใ์ น
ครงั้ น้ี สาหรบั ชอ่ื หนงั สอื "กาลเวลาทผ่ี า่ นเลย" นามาจากชอ่ื บทกวแี ปลภาษาฝรงั่ เศส “กาลเวลาทผ่ี า่ นเลย”
(Le temps qui passe) จากพระราชนิพนธค์ วามคดิ คานึง
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษได้
เรือ่ งที่ 50: ความคิดคานึง
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธบ์ ทกวภี าษาฝรงั่ เศส “Réflexions ความคดิ คานึง” ฉบบั พมิ พค์ รงั้ แรก 2522 เป็นการจดั พมิ พ์
รวมพระราชนพิ นธบ์ ทกวภี าษาฝรงั่ เศส 14 บท ทส่ี มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารที รงพระ
ราช-นพิ นธร์ ะหวา่ ง พ.ศ. 2514 -2519 ต่อมาในการจดั พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2 ไดเ้ พมิ่ พระราชนิพนธบ์ ทกวอี กี 6 บท
รวมเป็น 20 บท หลงั จากนนั้ กไ็ ดพ้ ระราชทานพระราชานุญาตใหจ้ ดั พมิ พอ์ กี หลายครงั้ และในการพมิ พใ์ หม่
ครงั้ ท่ี 5 เมอ่ื พ.ศ. 2545 สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารไี ดพ้ ระราชทานพระราชนพิ นธบ์ ท
กวี ชอ่ื “Châteaux de sable” หรอื “ปราสาททราย” ทท่ี รงแตง่ ใน พ.ศ. 2525 ใหน้ ามารวมพมิ พเ์ ป็นครงั้ แรก
ใน พ.ศ. 2550 สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทานพระราชานุญาตให้
จดั พมิ พ์ Réflexions ความคดิ คานงึ ฉบบั พมิ พค์ รงั้ ท่ี 10 พรอ้ มบทแปลภาษาองั กฤษ โดยรองศาสตราจารย์
สจุ ติ รา จงสถติ ยว์ ฒั นา และดอ็ กเตอรป์ ีเตอร์ สกลิ ลงิ่ (Dr. Peter Skilling)
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอ่านภาษาองั กฤษ และภาษาฝรงั่ เศสได้
เรอื่ งท่ี 51: คาฉันทด์ ษุ ฎีสงั เวยและกาพยข์ บั ไม้
เร่ืองย่อ
เป็นพระราชนพิ นธท์ ท่ี รงพระราชนิพนธเ์ มอ่ื ครงั้ ยงั ทรงดารงพระยศเป็นสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟ้าสริ นิ ธร
เทพรตั นสดุ า กติ วิ ฒั นาดลุ โสภาคย์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ มิ พ์
พระราชทานในงานพระราชพธิ รี บั สมโภชและขน้ึ ระวางพระศรนี รารฐั ราชกริ ณิ ี ในวนั ท่ี 24 สงิ หาคม 2520
ณ จงั หวดั นราธวิ าส เน้ือหาแบง่ ออกเป็น 2 สว่ นคอื คาฉนั ทด์ ษุ ฎสี งั เวยพระศรนี รารฐั ราชกริ ณิ ี ซง่ึ พระครู
พราหมณ์อา่ นในงานพระราชพธิ ี และกาพยข์ บั ไมก้ ลอ่ มพระศรนี รารฐั ราชกริ ณิ ซี ง่ึ ศลิ ปินกรมศลิ ปากร
ขบั กลอ่ มในงานพระราชพธิ ี
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นคาฉนั ทแ์ ละกาพยข์ บั ไมไ้ ดถ้ กู ตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณ์
15
เรอ่ื งที่ 52: ฉันท์ดษุ ฎีสงั เวยสมโภชพระพทุ ธมหามณีรตั นปฏิมากร
เรื่องย่อ
เป็นพระราชนิพนธท์ พ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ มิ พพ์ ระราชทานในการ
พระราชพธิ ยี กชอ่ ฟ้าฉลองวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เน่ืองในการพระราชพธิ สี มโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ 200 ปี
5-6 เมษายน 2525 เน้ือหาประกอบดว้ ย 2 สว่ น คอื ฉนั ทด์ ุษฎสี งั เวยสมโภชพระพทุ ธมหามณีรตั น
ปฏมิ ากรและกาพยข์ บั ไมส้ มโภช
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน:ตอ้ งอา่ นคาฉนั ทไ์ ดถ้ ูกตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณ์
เรื่องที่ 53: ฝากฝนั กลอนกานท์: รวมพระราชนิพนธร์ อ้ ยกรองในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
เรอ่ื งย่อ
หนงั สอื รวมพระราชนพิ นธร์ อ้ ยกรองเล่มน้ีประกอบดว้ ยบทพระราชนพิ นธร์ อ้ ยกรองบทสนั้ ๆ ทม่ี เี น้ือหา
หลากหลายจานวน 16 บท อาทิ นกขมน้ิ รกั จนี เดด็ ดอกไม้ เมนูไข่ สนั โดษ ลมุ พนิ ี และปรนิ ิพพาน เป็นตน้
นอกจากนนั้ แลว้ ยงั มภี าพการต์ นู และจติ รกรรมฝีพระหตั ถท์ ข่ี อพระราชทานอญั เชญิ มาประกอบบทพระราช
นพิ นธร์ อ้ ยกรองต่างๆ อาทิ ภาพนก ความฝนั สคี ราม ทอสเี ทยี บฝนั แมน่ ้าโขง และภาพจากบตั รอวยพร
วนั วสิ าขบชู า เป็นตน้
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณ์
เรื่องที่ 54: พทุ ธศาสนสภุ าษิต คาโคลง
เร่อื งย่อ
เป็นบทกวพี ระราชนิพนธท์ ท่ี รงพระราชนิพนธต์ งั้ แตเ่ มอ่ื ครงั้ ยงั ทรงศกึ ษาอยทู่ ค่ี ณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั ทรงศกึ ษาพทุ ธศาสนสภุ าษติ จากหนงั สอื พทุ ธศาสนสภุ าษติ ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้
กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส แลว้ ทรงผกู เป็นโคลงขน้ึ ธนาคารนครหลวงไทย จากดั จดั พมิ พข์ น้ึ เพอ่ื ทลู เกลา้ ฯ
ถวายโดยเสดจ็ พระราชกศุ ลในมลู นธิ สิ ายใจไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นบทกวไี ดถ้ กู ตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณ์
หนังสือพระราชนิพนธว์ ิชาการ
เร่ืองท่ี 55: การพฒั นานวตั กรรมเสริมทกั ษะการเรียนการสอนภาษาไทย สาหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย
เรอ่ื งย่อ
เป็นปรญิ ญานพิ นธท์ ท่ี รงเสนอต่อมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร เพอ่ื เป็นสว่ นหน่ึงของ
การศกึ ษาตามหลกั สตู รปรญิ ญาการศกึ ษาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพฒั นศกึ ษาศาสตร์ เม่อื เดอื นตลุ าคม
พ.ศ. 2529 มลู นธิ สิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าจดั พมิ พเ์ น่ืองในวโรกาสทส่ี มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกมุ ารี องคอ์ ปุ ถมั ภข์ องมลู นิธิ ทรงมพี ระชนมายคุ รบ 3 รอบ และเน่ืองในโอกาสครบรอบ 10 ปี
ของมลู นิธสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าใน พ.ศ. 2534
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
16
เร่อื งท่ี 56: การศึกษากบั การพฒั นาประเทศ
เรอ่ื งย่อ
ปาฐกถาพระราชทานเน่ืองใน “วนั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ครงั้ ท่ี 9” ณ
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร ในวนั ท่ี 7 พฤศจกิ ายน 2538 โดยมหาวทิ ยาลยั
ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒจดั งาน “วนั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ าร”ี เป็นประจาทกุ ปี เพอ่ื สานึก
ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ทพ่ี ระราชทานแกม่ หาวทิ ยาลยั และปวงชนชาวไทย และเพอ่ื เป็นอนุสรณ์ระลกึ ถงึ โอกาส
ทท่ี รงสาเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพฒั นศกึ ษาศาสตร์ จากมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ
เมอ่ื พ.ศ. 2529
เร่ืองท่ี 57: การศึกษาของผดู้ ้อยโอกาส
เรือ่ งย่อ
ปาฐกถาพระราชทานเน่ืองใน “วนั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ครงั้ ท่ี 15 ประจาปี
พ.ศ. 2544” ณ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร วนั จนั ทรท์ ่ี 12 พฤศจกิ ายน 2544 โดยมหาวทิ ยาลยั
ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒจดั งาน “วนั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ าร”ี เป็นประจาทกุ ปี เพอ่ื สานึกใน
พระมหากรณุ าธคิ ณุ ทพ่ี ระราชทานแกม่ หาวทิ ยาลยั และปวงชนชาวไทย และเพอ่ื เป็นอนุสรณ์ระลกึ ถงึ โอกาสท่ี
ทรงสาเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพฒั นศกึ ษาศาสตร์ จากมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ เมอ่ื
พ.ศ. 2529
เร่ืองท่ี 58: ข้าวไทย
เรื่องย่อ
พระราชนพิ นธท์ ท่ี รงจดั ทาขน้ึ ไวเ้ มอ่ื ครงั้ เสดจ็ ฯ ไปทรงบรรยายเรอ่ื งขา้ วไทยทส่ี ถาบนั International Rice
Institute เมอ่ื วนั ท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2537 ณ กรงุ โตเกยี ว ประเทศญป่ี นุ่ กระทรวงพาณิชยจ์ ดั พมิ พเ์ ผยแพร่
และจาหน่ายหารายไดท้ ลู เกลา้ ฯ ถวาย โดยเสดจ็ พระราชกศุ ลตามพระราชอธั ยาศยั เน้อื หาของบทพระราช
นิพนธม์ ที งั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ไดแ้ ก่ "ขา้ พเจา้ มโี อกาสไดศ้ กึ ษาและทดลองทานามาบา้ ง และทราบดี
ว่าการทานานนั้ มคี วามยากลาบากเป็นอปุ สรรคอยไู่ มใ่ ชน่ ้อย จาเป็นตอ้ งอาศยั พนั ธขุ์ า้ วทดี่ แี ละตอ้ ง
ใชว้ ชิ าการตา่ งๆ ดว้ ย จงึ จะไดผ้ ลเป็นลา่ เป็นสนั อกี ประการหนงึ่ ทนี่ านนั้ เมอื่ ส้นิ ฤดทู านาแลว้ ควรจะปลกู พชื
อนื่ ๆ บา้ ง เพราะจะเพมิ่ รายไดใ้ หอ้ กี ไมน่ ้อย ทงั้ จะชว่ ยใหด้ นิ รว่ น ชว่ ยเพมิ่ ป๋ ยุ กากพชื ทาใหล้ กั ษณะเน้อื ดนิ ดี
ขน้ึ เหมาะสาหรบั จะทานาในฤดูตอ่ ไป’ ขอ้ ความขา้ งตน้ เป็นพระราชดารสั ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระราชทานแกก่ ล่มุ ผนู้ าชาวนา แสดงถงึ ความสนพระทยั ทที่ รงมตี อ่ พสกนกิ รอนั เป็น
ชาวนาชาวไรโ่ ดยตรง”
คณุ สมบตั ิของผอู้ า่ น: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
17
เรอื่ งท่ี 59: งานของสภากาชาดไทย
เรื่องย่อ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในฐานะอปุ นายกิ าผอู้ านวยการสภากาชาดไทย ทรง
บรรยายพเิ ศษ “งานของสภากาชาดไทย” ในพธิ เี ปิดงานชมุ นุมกาชาด ครงั้ ท่ี 7 เฉลมิ พระเกยี รตเิ น่ืองใน
วโรกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธนั วาคม 2542 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซติ ้ี
จอมเทยี น จงั หวดั ชลบุรี เมอ่ื วนั ท่ี 24 มถิ ุนายน 2552
เรื่องท่ี 60: จารึกปราสาทหินพนมวนั
เรอื่ งย่อ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระราชนพิ นธ์ จารกึ ปราสาทหนิ พนมวนั ครงั้ ยงั ทรง
ดารงพระยศเป็นสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟ้าสริ นิ ธรเทพรตั นราชสดุ าฯ นบั เป็นงานพระราชนพิ นธช์ น้ิ แรก
ทท่ี รงอา่ นและทรงแปลจารกึ ภาษาเขมรโบราณ กรมศลิ ปากร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั พมิ พใ์ นโอกาสเปิด
นทิ รรศการพเิ ศษ เมอ่ื วนั ท่ี 2 สงิ หาคม 2520 คาแปลจารกึ บางสว่ นทงั้ ในสว่ นของภาษาไทยและภาษาฝรงั่ เศส
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอ่านภาษาฝรงั่ เศส และภาษาเขมรได้
เรือ่ งที่ 61: ทศบารมีในพทุ ธศาสนาเถรวาท
เรอื่ งย่อ
วทิ ยานพิ นธเ์ ล่มน้ีเป็นสว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รปรญิ ญาอกั ษรศาสตรมหาบณั ฑติ ภาควชิ าภาษา
ตะวนั ออก บณั ฑติ วทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2524 ทรงวจิ ยั เรอ่ื งบารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท
ทรงศกึ ษาความเปลย่ี นแปลงทางความหมายของศพั ทว์ า่ บารมี ตามทป่ี รากฎในคมั ภรี ท์ างพทุ ธศาสนาเถรวาท
ทแ่ี ต่งขน้ึ ในยคุ ตา่ งๆ มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ จดั พมิ พเ์ ผยแพรเ่ น่ืองในโอกาสสมโภชเฉลมิ
200 ปี พระบรมราชวงศจ์ กั รแี ละกรงุ รตั นโกสนิ ทร์
เรอ่ื งท่ี 62: เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของคนพิการ
เรอื่ งย่อ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ ไปทรงเป็นประธานในพธิ เี ปิดงานและทรงแสดง
ปาฐกถาพเิ ศษเรอ่ื ง “เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของคนพกิ าร” ในวนั พฤหสั บดที ่ี 23
พฤษภาคม 2539 ณ หอ้ งเพลนิ จติ ต์ โรงแรมอมิ พเี รยี ล ถนนวทิ ยุ กรงุ เทพมหานคร ในงานสมั มนาและ
นทิ รรศการเรอ่ื ง “เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื คนพกิ าร ครงั้ ท่ี 1” ระหวา่ งวนั ท่ี 23-27 พฤษภาคม 2539
ณ โรงแรมอมิ พเี รยี ล ซง่ึ ทางโครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชดารสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกมุ ารี วทิ ยาลยั ราชสดุ า มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล คณะกรรมการเทคโนโลยี
สารสนเทศแหง่ ชาติ และศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ รว่ มกนั จดั ขน้ึ
18
เรอ่ื งท่ี 63: เทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาประเทศ
เรอ่ื งย่อ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ ไปทรงเป็นประธานในพธิ เี ปิดงาน “ไอทเี ฉลมิ พระ
เกยี รต:ิ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื ประชาชน” วนั พฤหสั บดที ่ี 1 มถิ ุนายน 2538 และทรงบรรยายปาฐกถา
พเิ ศษเรอ่ื ง “เทคโนโลยสี ารสนเทศทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาประเทศ” วนั ศกุ รท์ ่ี 2 มถิ ุนายน 2538 ณ ศนู ย์
ประชมุ สหประชาชาติ กรงุ เทพมหานคร คณะกรรมการอานวยการปีแหง่ เทคโนโลยสี ารสนเทศไทย
ไดจ้ ดั งานขน้ึ เพอ่ื รว่ มเฉลมิ ฉลองเน่ืองในวโรกาสทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงครองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ
50 ปี และทางศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาตไิ ดจ้ ดั พมิ พแ์ ละเผยแพรป่ าฐกถาน้ีเพอ่ื ให้
เป็นเอกสารทบ่ี นั ทกึ เหตกุ ารณ์ประวตั ศิ าสตรค์ รงั้ หน่ึงของปีแหง่ เทคโนโลยสี ารสนเทศไทยทจ่ี ะ
เผยแพรแ่ กห่ น่วยงานและผทู้ ส่ี นใจเน่ืองในโอกาสขน้ึ ปีใหม่ 2539 และเพอ่ื รว่ มเฉลมิ ฉลองในวโรกาสท่ี
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงครองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 50 ปี
คณุ สมบตั ิของผอู้ ่าน: ตอ้ งอา่ นภาษาองั กฤษได้
เร่อื งที่ 64: บนั ทึกเรอ่ื งการปกครองของไทยสมยั อยธุ ยาและต้นรตั นโกสินทร์
เรอ่ื งย่อ
เมอ่ื ครงั้ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงศกึ ษาอยชู่ นั้ ปีท่ี 1 คณะอกั ษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ทรงศกึ ษาเพมิ่ เตมิ เรอ่ื งการเมอื งการปกครอง กฎหมาย เศรษฐกจิ สงั คม
และวฒั นธรรม กบั หมอ่ มราชวงศค์ กึ ฤทธิ ์ปราโมช หนงั สอื เลม่ น้ีเป็นพระราชนิพนธท์ ท่ี รงเรยี บเรยี ง
เน้ือหาจากคาสอนในเรอ่ื งดงั กลา่ ว
เรอื่ งที่ 65: ประวตั ิศาสตรไ์ ทยสมยั รตั นโกสินทร:์ การปฏิรปู การปกครอง
เรือ่ งย่อ
เป็นหนงั สอื ประกอบการสอนวชิ า HI 452 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ณ โรงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้
จงั หวดั นครนายก
เรื่องท่ี 66: ภมู ิปัญญาไทยด้านอาหารและโภชนาการ
เรอื่ งย่อ
ปาฐกถาพระราชทานเน่ืองใน “วนั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ครงั้ ท่ี 16 ประจาปี พ.ศ.
2545" ณ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ องครกั ษ์ ในวนั ศกุ รท์ ่ี 22 พฤศจกิ ายน 2545 โดยวนั สมเดจ็ พระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็นวนั ทม่ี หาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒจดั งานวชิ าการเป็นประจาทกุ ปี
ตงั้ แต่ พ.ศ.2530 เป็นตน้ มา เพอ่ื น้อมระลกึ ถงึ โอกาสทท่ี รงสาเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ า
พฒั นศกึ ษาศาสตร์ จากมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ เมอ่ื พ.ศ. 2529 และดว้ ยสานึกในพระมหากรณุ าธคิ ณุ
ทพ่ี ระราชทานแกม่ หาวทิ ยาลยั และปวงชนชาวไทย
19
เร่ืองที่ 67: ภมู ิศาสตรก์ บั วิถีชีวิตไทย
เรอ่ื งย่อ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ ไปทรงเปิดการสมั มนาเรอ่ื ง “ภมู ศิ าสตรก์ บั วถิ ชี วี ติ
ไทย” และไดท้ รงปาฐกถาพเิ ศษเรอ่ื ง “ภมู ศิ าสตรก์ บั วถิ ชี วี ติ ไทย” ณ ศนู ยม์ านุษยวทิ ยาสริ นิ ธร (องคก์ าร
มหาชน) เขตตลงิ่ ชนั กรงุ เทพมหานคร เมอ่ื วนั ท่ี 12 กนั ยายน 2543 ศนู ยม์ านุษยวทิ ยาสริ นิ ธรไดจ้ ดั สมั มนา
ขน้ึ ระหวา่ งวนั ท่ี 12-14 กนั ยายน 2543 เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กมุ ารี องคท์ ป่ี รกึ ษาคณะกรรมการบรหิ ารศนู ยฯ์ ในวโรกาสวนั คลา้ ยวนั พระราชสมภพ 2 เมษายน 2543
เร่ืองท่ี 68: วดั พระศรีรตั นศาสดาราม
เรื่องย่อ
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ไดจ้ ดั การแสดงปาฐกถาชดุ สริ นิ ธรขน้ึ เป็นประจาทกุ ปี เพอ่ื สนองวตั ถุประสงคเ์ งนิ ทนุ
เฉลมิ ฉลองสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในการทานุบารงุ สง่ เสรมิ ถา่ ยทอดความรู้
เกย่ี วกบั อารยธรรมของชนชาวไทย โดยสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี รบั เป็นองคท์ ่ี
ปรกึ ษากติ ตมิ ศกั ดใิ ์ นคณะกรรมการบรหิ ารเงนิ ทนุ รวมทงั้ เสดจ็ พระราชดาเนินทรงฟงั ปาฐกถา โดย
ผทู้ รงคุณวุฒใิ นสาขาต่างๆ ทอ่ี ยใู่ นความสนพระราชหฤทยั นอกจากน้ยี งั ไดจ้ ดั พมิ พป์ าฐกถาเป็นหนงั สอื ออก
เผยแพรท่ กุ ปี การแสดงปาฐกถาครงั้ แรก สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารพี ระราชทาน
ปาฐกถา เรอ่ื ง “วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม” เป็นประเดมิ ณ หอประชมุ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เมอ่ื วนั ท่ี
26 มนี าคม 2525
เรือ่ งท่ี 69: สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี กบั พระราชกรณียกิจพระราชจริยาวตั รด้านการศึกษา
เรือ่ งย่อ
เน่ืองในวโรกาสเฉลมิ ฉลอง 100 ปี วนั คลา้ ยวนั พระราชสมภพสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ไดจ้ ดั งานวชิ าการ “วนั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร”ี
ครงั้ ท่ี 14 ประจาปี 2543 โดยจดั นิทรรศการเพอ่ื เผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการของสถาบนั ภายใตห้ วั ขอ้ “100 ปี
สมเดจ็ ยา่ ” เมอ่ื วนั ท่ี 21 พฤศจกิ ายน 2543 ในการน้สี มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรง
พระกรณุ าพระราชทานคาบรรยายเรอ่ื ง “สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี กบั พระราชกรณียกจิ พระราช
จรยิ าวตั รดา้ นการศกึ ษา” โดยเน้ือหาสาระทท่ี รงบรรยายแสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระวริ ยิ ะ พระอตุ สาหะ และพระ
ปณธิ านอนั แน่วแน่ของสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี ในการทรงงานดว้ ยอดุ มการณ์ “การศกึ ษาเพอ่ื
ทกุ คน”
20
เรื่องที่ 70: พระราชดารสั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรื่องโครงการอาหารกลางวนั
ในโรงเรียนประถมศึกษา
เรือ่ งย่อ
เป็นพระราชดารสั พระราชทานในพระราชวโรกาสเปิดการประชมุ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทวั่ ราชอาณาจกั ร เรอ่ื ง
โครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรยี นประถมศกึ ษาและทรงบรรยายเรอ่ื งพระราชภารกจิ และพระราชกรณยี กจิ
อนั เกย่ี วกบั งานโครงการเกษตรเพอ่ื อาหารกลางวนั ในโรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน ณ ตกึ สนั ตไิ มตรี
ทาเนยี บรฐั บาล วนั ศกุ รท์ ่ี 19 มถิ ุนายน 2530
###
21