The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

smalisorn,+{$userGroup},+กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดผ้าไหมทอมือพื้นถิ่นจังหวัดสุรินทร์+(หน้า+1-13)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by baac63644301009, 2022-06-08 03:04:49

smalisorn,+{$userGroup},+กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดผ้าไหมทอมือพื้นถิ่นจังหวัดสุรินทร์+(หน้า+1-13)

smalisorn,+{$userGroup},+กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดผ้าไหมทอมือพื้นถิ่นจังหวัดสุรินทร์+(หน้า+1-13)

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

กลยทุ ธก์ ารส่งเสริมการตลาดผา้ ไหมทอมือพนื้ ถ่ินจงั หวดั สรุ ินทร์

Marketing Strategy for Local Hand-woven Silk of Surin Province

อลิศรา ธรรมบตุ ร1* , พชั ราวรรณ อาจหาญ2 และ ทศั นียา นิลฤทธ์ิ3

Alissara Thammabutr1* , Patcharawan Ardharn2 and Thatsaneeya Nillit3

Received: April 22, 2021; Revised: July 13, 2021; Accepted: July 27, 2021

บทคดั ยอ่

บ ท ค ว า ม ฉ บับ น้ี มีวัต ถุ ปร ะส ง ค์ เพ่ือ เ ผย แ พร่ อง ค์คว าม รู้ ด้า น ภู มิปั ญ ญ า ท้อ ง ถิ่น เ ก่ีย ว กับ ผ้าไห ม ท อมือข อง
จงั หวดั สุรนิ ทร์ และนาแนวทางสว่ นประสมทางการตลาด 8P’s มากาหนดกลยุทธก์ ารตลาดของผา้ ไหมทอมอื พน้ื ถน่ิ ภายใน
จงั หวดั สุรนิ ทร์ท่ีกาลงั ประสบปัญหาหลงั จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โควดิ -19 ท่ีส่งผลกระทบต่อการ
ท่องเท่ยี ว ในพ้นื ท่ีชุมชนทาให้จานวนนักท่องเท่ยี วมปี ริมาณลดลง ชุมชนขาดรายได้จากการท่องเท่ยี วและขาดรายได้
จากการจดั จาหน่ายผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหม โดยหากสามารถสง่ เสรมิ หรอื พฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากใหม้ กี ารกระจายตวั และทาให้
เกดิ เครอื ขา่ ยแลว้ กจ็ ะเป็นการถกั ทอไปส่เู ศรษฐกจิ ของภูมภิ าคและเศรษฐกจิ ของชาตใิ นลาดบั ต่อไป เน่ืองจากผา้ ไหมทอมอื
เป็นผลติ ภณั ฑท์ ส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ อตั ลกั ษณ์ทางศลิ ปวฒั นธรรมของคนในชุมชน เป็นภูมปิ ัญญาพน้ื บา้ นทอ่ี นุรกั ษ์สบื ต่อกนั
มาจากรุ่นสู่รุ่น ดงั นัน้ เพ่อื เพิม่ ศกั ยภาพทางการตลาดให้ผลติ ภัณฑ์ผ้าไหมเป็นแกนหลกั ทางเศรษฐกิจในทอ้ งถ่นิ ท่ผี ลติ
และจาหน่ายสนิ คา้ จงึ จาเป็นตอ้ งอาศยั แนวทางสว่ นประสมทางการตลาด 8P’s มากาหนดกลยุทธท์ างการตลาดเพอ่ื สง่ เสรมิ
ผลติ ภณั ฑ์ผ้าไหมใหเ้ ป็นอตั ลกั ษณ์ของชุมชน พฒั นาด้านช่องทางการจดั จาหน่ายสนิ ค้าท่สี ามารถตดิ ต่อได้ทงั้ ช่องทาง
ออนไลน์ (Online Marketing) และช่องทางออฟไลน์ (Offline Marketing) สง่ เสรมิ การตลาดโดยเน้นการสรา้ งความแขง็ แกรง่
ของตลาดภายในชุมชน ฝึกอบรมบคุ ลากรใหม้ ที กั ษะในการการขายและการบรกิ าร สรา้ งคุณค่าและภาพลกั ษณ์ของผา้ ไหม
ให้โดดเด่นมรี ะบบด้านการบริการท่ถี ูกต้องและรวดเร็ว ซ่งึ จะเป็นการกระตุ้นให้ผู้ประกอบการภายในชุมชนพยายาม
ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพและคุณภาพธุรกจิ ของตนอยา่ งต่อเน่อื งเพ่อื ใหส้ ามารถแขง่ ขนั และอยรู่ อดไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ต่อไป

คาสาคญั : กลยทุ ธ์ การสง่ เสรมิ การตลาด ผา้ ไหมทอมอื พน้ื ถน่ิ จงั หวดั สรุ นิ ทร์

_______________________________

1 สาขาการทอ่ งเทย่ี วและการโรงแรม คณะเทคโนโลยกี ารจดั การ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ Department of

Tourism and Hotel, Faculty of Management Technology, Rajamangala University of Technology Isan Surin Campus

2 สาขาการบญั ชี คณะเทคโนโลยีการจดั การ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรนิ ทร์ Department of Accounting,

Faculty of Management Technology, Rajamangala University of Technology Isan Surin Campus

3 สาขาพชื ศาสตรส์ ง่ิ ทอและการออกแบบ คณะเกษตรศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์

Department of Plant Science, Textile and Design, Faculty of Agriculture and Technology, Rajamangala University
of Technology Isan Surin Campus
*Corresponding author e-mail: [email protected]

-1-

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

Abstract

This article aims to disseminate knowledge on folk wisdom of local hand-woven silk fabrics of Surin Province
and to apply the 8P's of marketing mix guidelines to formulate marketing strategy for these local products that are
experiencing sales difficulties after the coronavirus pandemic. The outbreak has had significant impacts on tourism in
the community, causing the number of tourists to slump, and has consequentially caused the community to lack income
from tourism and sales of their magnificent handmade silk fabrics. Hand- woven silk is a signature product that
illustrates art and cultural identity and heritages that has been handed down from generation to generation of the locals.
This artefact, therefore, can be an important steppingstone for regional and national economic growth, if it gains
sufficient promotion or is developed to have a strong distribution base or business network. Therefore, to increase the
market potential of silk products as a core of the local economy, it is highly recommended that the 8 P’s marketing
mix approach be employed to formulate a marketing strategy to promote silk products as the identity of the community.
Moreover, it is expected that the proposed marketing approach can develop distribution channels for online and offline
markets, promote marketing by enhancing community market strength, provide personnel training in sales and
services, create value and outstanding image of the products, improve the service system. This will encourage
entrepreneurs in the community to continually improve the efficiency and quality of their businesses to be competitive
and to survive in a sustainable manner.

Keywords: Strategy, Marketing Promotion, Local Hand -Woven Silk in Surin

บทนา

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 เกดิ ขน้ึ อย่างรวดเรว็ และกวา้ งขวางส่งผลใหป้ ระเทศไทย
อยู่ในสภาวะวิกฤตซ่งึ มีผลกระทบต่อการใช้ชวี ิตของประชาชนทวั่ ประเทศ (ศูนย์บริหารสถานการณ์ โควิด-19, 2564)
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ต่อประชาชนผมู้ รี ายไดน้ ้อยและผปู้ ระกอบการรายย่อยซง่ึ ถอื ไดว้ ่าเป็นผผู้ ลติ ผจู้ าหน่ายทเ่ี ป็นรากฐาน
เศรษฐกิจของประเทศนัน้ เพ่ือเป็นการรณรงค์และกระตุ้นให้เกิดการกระจายรายได้สู่ชุมชนอย่างรวดเร็วและทัว่ ถึง
และก่อใหเ้ กดิ ค่านิยมการใชผ้ ลติ ภณั ฑท์ ท่ี าจากผา้ ทอซง่ึ เป็นภูมปิ ัญญาของคนไทย อนั จะนาไปส่กู ารยกระดบั คุณภาพชวี ติ
ของกลุ่มอาชพี สตรใี นชุมชนทวั่ ประเทศ อกี ทงั้ ยงั ช่วยลดปัญหาการว่างงาน ปัญหาการยา้ ยถนิ่ ฐานและลดความเหล่อื มล้า
ในสงั คมได้ เน่ืองจาก “ผา้ ” เป็นหน่ึงในปัจจยั 4 ของการดารงชวี ติ ของมนุษย์ ซง่ึ ในสงั คมการเกษตรจะมกี ารทอผา้ เพ่อื ใช้
ภายในครวั เรอื น นบั ว่าเป็นมรดกทางวฒั นธรรมทม่ี มี าแต่โบราณ และเป็นภูมปิ ัญญาทถ่ี ่ายทอดสบื ต่อกนั มาจนถงึ ปัจจุบนั
การทอผ้ามีวิวัฒนาการทงั้ รูปแบบ เทคนิคการย้อมสี การออกแบบลวดลาย ซ่ึงพบว่าการทอผ้าตามกลุ่มชนต่าง ๆ
ของประเทศไทย เช่น สว่ ย กระโส้ ขา่ กระเลงิ เป็นตน้ (สานักหอสมุดกลาง มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง, 2553) สาหรบั ประเทศไทย
เป็นแหล่งผลติ ผา้ ไหมทม่ี คี ุณภาพและมชี อ่ื เสยี งเป็นทย่ี อมรบั แห่งหน่ึงของโลก เน่ืองจากผา้ ไหมและผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมของ
ประเทศไทย มเี อกลกั ษณ์ทไ่ี ด้รบั การกล่าวถึงในดา้ นฝีมอื การทอผา้ ท่ไี ดร้ บั การถ่ายทอดจากบรรพบุรุษมาจนถึงปัจจุบนั
มคี วามงดงาม สสี นั ลวดลาย รวมถึงแหล่งผลติ ผ้าไหมท่ีสาคญั อยู่ท่จี งั หวดั ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือหรือภาคอสี าน
และขยายไปทุกภาคของประเทศไทย เพราะผ้าไหมไทยมคี วามโดดเด่น มอี ตั ลกั ษณ์ของตัวเองท่ไี ม่เหมอื นกบั ผ้าไหม
จากประเทศอ่นื ๆ มเี น้ือผา้ เป็นมนั วาวเป็นประกาย สาหรบั ผา้ ไหมและผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมทผ่ี ลติ ขน้ึ ไดแ้ ก่ เสอ้ื ผา้ กระเป๋ า
รองเทา้ ผา้ พนั คอ ผา้ คลมุ ไหล่ เขม็ กลดั เนคไท ปลอกหมอน พรม เป็นตน้ (กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม, 2549)

อาชีพของคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสานส่วนใหญ่คือเกษตรกรรม เม่ือหมดจากฤดูกาล
ทาไร่ไถนา กจ็ ะทาการซ่อมแซมเคร่อื งมอื ทใ่ี ชป้ ระกอบอาชพี หรอื หาอาชพี เสรมิ เช่น การเลย้ี งสตั ว์ และสาหรบั การทอผ้า

-2-

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

ถือเป็นอกี กิจกรรมหน่ึงท่ชี าวบ้านทาข้นึ ใชใ้ นครวั เรอื นเพ่อื เป็นเคร่อื งนุ่งห่ม หรือเพ่อื ถวายพระในงานบุญ รวมทงั้ ขาย
เป็นรายไดเ้ สรมิ ใหค้ รอบครวั โดยทกั ษะการทอผา้ ไดร้ บั การถ่ายทอดสบื ต่อกนั ส่วนลายผา้ ทเ่ี กดิ ขน้ึ นนั้ ไดม้ าจากเร่อื งราว
ทเ่ี กย่ี วกบั ความเช่อื ของคนในทอ้ งถนิ่ อสี าน (ศลิ ปวฒั นธรรม, 2564) การแต่งกายของชาวอสี านมเี อกลกั ษณ์เฉพาะตน คอื
ผหู้ ญงิ จะนุ่งผา้ ซนิ่ ทอดว้ ยฝ้ายมเี ชงิ คลุมยาวคลุมเข่าเลก็ น้อย สวมใส่เสอ้ื แขนสนั้ ผชู้ ายไม่มรี ปู แบบการแต่งกายทแ่ี น่นอน
ส่วนใหญ่มกั นุ่งกางเกงมขี าครง่ึ น่องหรอื นุ่งโสร่งผา้ ไหม ซ่งึ การทอผา้ สาหรบั ใชท้ าเคร่อื งนุ่งห่ม (ประทบั ใจ สกิ ขา, 2554)
จากความสาคัญและประวัติอันยาวนานของการทอผ้าในประเทศไทย จังหวัดสุรินทร์เป็ นจังหวัดหน่ึงท่ีตัง้ อยู่ใน
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือท่มี ีความเจริญรุ่งเรอื งทางอารยธรรมเป็นระยะเวลาอนั สบื เน่ืองยาวนาน มีหลกั ฐานท่ปี รากฏ
ในรูปแบบของศลิ ปหตั ถกรรม วฒั นธรรม หรอื ประเพณีพน้ื บ้าน ท่แี สดงใหเ้ หน็ ถงึ พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละสงั คม
ทม่ี มี าอย่างต่อเน่ืองและยงั คงสบื ทอดมาจนถงึ ปัจจุบนั เอกลกั ษณ์และภูมปิ ัญญาของชาวสุรินทรท์ ค่ี วรค่าแก่การภาคภูมใิ จ
คอื “ผา้ ไหมสรุ นิ ทร”์ ซง่ึ เป็นเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมทป่ี รากฏเด่นชดั ทส่ี ดุ (ธมนพนั ชร์ ศรษี ะพลภมู สิ ทิ ธ,ิ วทิ ยาธร ท่อแกว้ ,
กมลรฐั อินทรทศั น์, 2564) สาหรับผ้าทอมือพ้ืนบ้านในจงั หวดั สุรินทร์ได้รับการยอมรับว่าเป็นภูมปิ ัญญาท่คี วรค่าแก่
การอนุรกั ษ์ ทงั้ ลวดลาย สสี นั และกระบวนการผลติ ทม่ี คี วามโดดเด่น มีอตั ลกั ษณ์ จนทาใหเ้ ป็นผลติ ภณั ฑ์ท่มี ชี ่อื เสยี งท่สี ุดของ
จงั หวดั สรุ นิ ทรต์ งั้ แต่อดตี มาจนถงึ ปัจจบุ นั (เมธว์ ดี พยฆั ประโคน, พฤทธิ์ศุภเศรษฐศริ ,ิ นพดล อนิ ทรจ์ นั ทร,์ กติ ตกิ รณ์ นพอุดมพนั ธ,์
2559) นอกจากน้ีในดา้ นความเชย่ี วชาญการทอผา้ ไหมกม็ มี ายาวนาน ไดส้ บื ทอดมาเป็นมรดกทางวฒั นธรรม และมคี วาม
เป็นเอกลกั ษณ์ ลกั ษณะเด่นของผา้ ไหมสรุ นิ ทร์ คอื มลี วดลายทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากวฒั นธรรมของเขมร และมคี วามหมายท่ี
เป็นมงคล ซง่ึ นิยมนาเสน้ ไหมขนั้ หน่ึงหรอื ไหมน้อยมาทอผา้ (ไหมน้อย ในภาษาเขมร เรยี ก “โซกซกั ” คอื ไหมทส่ี าวมาจาก
เสน้ ใยในรงั ไหมมลี กั ษณะเสน้ เลก็ นุ่ม เรยี บ และเงางาม เวลาสวมใสจ่ ะรสู้ กึ เยน็ สบาย) โดยใชส้ ธี รรมชาตแิ ละนาเอามาย้อม
ตามขบวนการมดั ยอ้ มเพ่อื ใหเ้ กดิ ลวดลายสวยงาม การทอผา้ ไหมลายมดั หมท่ี เ่ี กดิ ขน้ึ ในจงั หวดั สรุ นิ ทร์ คอื ผา้ ไหมมดั หม่ี
ลายอมั ปรม ซ่งึ ผ้าไหมมดั หม่ใี นประเทศไทย มปี ระมาณ 800 กว่าลวดลาย และในส่วนทม่ี อี ยู่ในท้องถ่ินจงั หวดั สุรนิ ทร์
มมี ากกว่า 500 ลวดลาย โดยเฉพาะตาบลสวาย อาเภอเมอื งสรุ นิ ทร์ เป็นหน่ึงในแหล่งอารยธรรมทเ่ี ก่าแก่ทเ่ี ป็นแหล่งผลติ
ผา้ ไหมมดั หม่ี มศี ลิ ปะวฒั นธรรมมาแต่โบราณ และไดร้ บั การถ่ายทอดความรทู้ ไ่ี ดร้ บั สบื ทอดกนั มาในการประกอบอาชพี จาก
รุ่นสรู่ ุน่ จนมาถงึ ปัจจุบนั

แต่ถงึ แมว้ ่าศลิ ปะการทอผา้ ไหมในประเทศไทยจะมปี ระวตั อิ นั ยาวนาน แต่กย็ งั มปี ัญหาในการส่งเสรมิ และพฒั นา
ศิลปะการทอผ้าไหมไทยอยู่ ได้แก่ 1. ลายผ้าไหมยงั ขาดความหลากหลายและความทนั สมัย 2. ราคาผ้าไหมไทย
ยงั ไม่เหมาะสมกบั คุณภาพ 3. ขาดช่องทางดา้ นกจิ กรรมการกระจายตวั สนิ ค้าซง่ึ ประกอบไปด้วย การขนส่ง คลงั สนิ ค้า
การเกบ็ รกั ษาสนิ ค้า และการสนับสนุนการกระจายตวั สนิ คา้ ส่ตู ลาด 4. ขาดการจดั กจิ กรรมแสดงสนิ คา้ เช่น การออกรา้ น
แสดงผลติ ภณั ฑ์ตามงานต่าง ๆ 5. ช่างฝีมอื ท่มี คี ุณภาพมกั ทางานไดช้ ้าขายยาก เพราะต้องขายราคาแพงให้คุม้ กบั เวลา
หมดกาลงั ใจ ขาดการสง่ เสรมิ และช่างทอฝีมอื ดบี างรายยงั ไม่เป็นทร่ี จู้ กั 6. ชอ่ งทางการจดั จาหน่ายสนิ คา้ ยงั คงมบี รกิ ารแคท่ ่ี
OTOP ทเ่ี ดยี วเท่านนั้ และ 7. ไมม่ กี ารอปั เดตขอ้ มลู ผา้ ไหมไทยใหเ้ ป็นปัจจบุ นั (สธุ ดิ า ราศร,ี ตระกลู จติ วฒั นากร, ประภาศร์ เหกิ ขนุ ทด,
และกนกกร เกดิ เงนิ , 2563) ประกอบกบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 ท่กี าลงั แพร่ระบาดในปัจจุบนั
ซง่ึ มขี อ้ หา้ มในการเขา้ พน้ื ทเ่ี สย่ี ง หา้ มคนต่างดา้ วเดนิ ทางเขา้ ราชอาณาจกั ร งดการเดนิ ทางขา้ มจงั หวดั เพ่อื เป็นการปกป้อง
สขุ ภาพของประชาชนจากการแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั ทาใหผ้ ปู้ ระกอบการธุรกจิ ผา้ ทอมอื ลว้ นไดร้ บั ผลกระทบ การดาเนิน
ธุรกจิ หยุดชะงกั ชวั่ คราว สง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางพฤตกิ รรมของผซู้ อ้ื ยอดการซอ้ื สนิ คา้ ลดลง ซง่ึ อาจเกดิ จากการ
เข้าถึงแหล่งผลิตสนิ ค้าได้ไม่สะดวกเน่ืองจากผูบ้ รโิ ภคใส่ใจเร่อื งความปลอดภยั ของสุขภาพมากขน้ึ โดยผู้ประกอบการ

-3-

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

จาเป็นต้องปรบั ตวั รองรบั การเปล่ยี นแปลง มกี ารนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเพ่อื พฒั นาและดงึ ดูดผูบ้ รโิ ภค
ในยคุ ปัจจบุ นั ได้ เชน่ ชอ่ งทางการขายสนิ คา้ ออนไลน์ การบรกิ ารจดั สง่ สนิ คา้ หรอื รายการสง่ เสรมิ การขาย เป็นตน้

ดงั นัน้ เพ่อื ท่จี ะเสนอแนวทางใหก้ บั ผู้ประกอบการท่ผี ลิตผ้าไหมในชุมชนจงั หวดั สุรินทร์ท่กี าลงั ประสบปัญหา
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 ซง่ึ สง่ ผลกระทบต่อการทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชนทาใหจ้ านวนนกั ทอ่ งเทย่ี ว
มปี รมิ าณลดลง ชุมชนขาดรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี วและขาดรายไดก้ ารจดั จาหน่ายผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหม ดงั นนั้ ผปู้ ระกอบการ
จาเป็นตอ้ งศกึ ษาการส่งเสรมิ การตลาดซง่ึ ถอื ว่าเป็นเร่อื งสาคญั เพราะการตดั สนิ ใจซอ้ื สนิ คา้ และบรกิ ารจากขอ้ มลู ขา่ วสาร
ในยุคประเทศไทย 4.0 มกี ารส่งต่อถงึ กนั อย่างรวดเรว็ ไดส้ ่อื สงั คมออนไลน์มบี ทบาทต่อการตดั สนิ ใจเป็นอย่างมาก (ฤดี เสรมิ ชยุต,
2563) โดยกรมพฒั นาธุรกจิ การคา้ กระทรวงพาณิชย์ ไดผ้ ลกั ดนั ใหผ้ ลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมเป็นทย่ี อมรบั เพมิ่ มากยง่ิ ขน้ึ ในตลาด
แฟชนั่ และเพ่อื ดารงไวซ้ ง่ึ วฒั นธรรมทท่ี รงคุณค่าของประเทศไทย ไดจ้ ดั ทา “โครงการยกระดบั การตลาดผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหม
สู่แหล่งท่องเท่ียว” โดยการส่งเสริมและสร้างความเข้มแขง็ แก่ผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะ “ผ้าไหม” ท่ีรฐั บาลให้
ความสาคัญเป็นลาดบั ต้น ๆ อีกทงั้ ยังเป็นส่วนสาคญั ในการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากของประเทศให้มคี วามเข้มแขง็
โดยการผลกั ดนั ให้ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมของไทยประสบความสาเร็จด้านการค้าและการตลาด มกี ารเช่อื มโยงกบั แนวคดิ
ดา้ นการสง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วในการจดั เสน้ ทางการท่องเทย่ี ว คอื “เสน้ ทางสายไหม” เพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรดู้ า้ นการประกอบ
ธุรกจิ การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ พรอ้ มทงั้ นานวตั กรรมเขา้ มาชว่ ยในการเพมิ่ มลู คา่ ใหแ้ กผ่ ลติ ภณั ฑ์ อาทิ การออกแบบสนิ คา้ หรอื
บรรจุภณั ฑ์ (ไทยรฐั , 2562) จากนโยบายขา้ งตน้ ทาใหก้ ารส่งเสรมิ การตลาดผา้ ไหมทอมอื พน้ื ถน่ิ จาเป็นต้องประกอบดว้ ย
การพฒั นาผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมทอมอื ใหม้ คี วามโดดเด่นเป็นอตั ลกั ษณ์ ราคาทเ่ี หมาะสมเป็นมาตรฐานเดยี วกนั มกี ารโฆษณา
ประชาสมั พนั ธ์ผ่านช่องทางท่หี ลากหลาย มีการนาเสนอวิถีชวี ติ ภูมิปัญญา ความเป็นรากเหง้าของชุมชน มกี จิ กรรม
การแลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พ่อื นาเสนอผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมทอมอื ใหม้ คี วามยงั่ ยนื ในอนาคต

นอกจากการสนับสนุนจากภาครฐั แล้วกลุ่มผู้ประกอบการจาเป็นต้องศกึ ษาหาเคร่อื งมอื หรือกลยุทธ์ในการทา
การตลาดเพ่อื ใหส้ ามารถดาเนินธรุ กจิ ต่อไป ซง่ึ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 ผบู้ รโิ ภคไดเ้ รยี นรู้
การใช้เทคโนโลยมี ากขน้ึ เน่ืองจากการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของผู้บรโิ ภค ในอดตี การซ้อื สนิ ค้าสามารถเดนิ ทางไปท่ี
ร้านค้าหรือแหล่งผลิตสนิ ค้าได้โดยตรง แต่ปัจจุบนั สามารถซ้ือสนิ ค้าได้เพียงอาศยั เทคโนโลยีทางโซเชยี ลมีเดียเเละ
แอปพลเิ คชนั่ แช็ตเป็นช่องทางหลกั เพ่อื รบั ขา่ วสารมากขน้ึ เช่น ผบู้ รโิ ภคนิยมซอ้ื สนิ คา้ ออนไลน์เพมิ่ ขน้ึ ผบู้ รโิ ภคจองสนิ คา้
(Confirm หรอื CF) ผ่านการซอ้ื ขายออนไลน์ (Live Commerce) มากขน้ึ ผบู้ รโิ ภคตอ้ งการความพเิ ศษเฉพาะตวั ซง่ึ แนวคดิ
4Ps แบบเดิมอาจไม่เพียงพอ และเพ่อื ให้สามารถแข่งขนั กบั ผู้ประกอบรายอ่นื และดาเนินธุรกจิ ต่อไปได้ จงึ จาเป็นต้อง
เผยแพร่องค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถ่ินเก่ียวกบั ผ้าไหมทอมือของจงั หวดั สุรินทร์ และนาแนวทางส่วนประสมทาง
การตลาด 8P’s มาสง่ เสรมิ ดา้ นการตลาดของผา้ ไหมทอมอื พ้นื ถน่ิ ภายในจงั หวดั สรุ นิ ทร์ เพ่อื ช่วยส่อื สารและสรา้ งการรบั รู้
คุณค่าของผา้ ไหมใหก้ บั ผบู้ รโิ ภคในยุคปัจจุบนั อาทิ การพจิ ารณาช่องทางการสอ่ื สารทางตลาดเพ่อื ปรบั ใหร้ า้ นขายสนิ ค้า
มคี ุณค่าสอดรบั กบั การรบั รูส้ นิ ค้าและความต้องการของผบู้ รโิ ภค การสรา้ งพลงั บวกใหก้ บั สนิ คา้ เพ่ือกระตุ้นความตอ้ งการ
ซอ้ื สนิ คา้ จากแหล่งผลติ สนิ คา้ โดยตรง สรา้ งจุดเด่นใหผ้ ลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมโดยการสนบั สนุนการใชช้ วี ติ แบบ New Normal คอื
การเผยแพร่เร่อื งราวความเป็นมาของผา้ ไหม การผลติ ผา้ ไหมทถ่ี ่ายทอดวถิ ีชวี ติ และท่มี าจากธรรมชาติ การผสมผสาน
เทคโนโลยี 2 ช่องทาง ทงั้ ช่องออนไลน์และชอ่ งทางออฟไลน์ ดงั นนั้ ผปู้ ระกอบการผา้ ไหมทอมอื พน้ื เมอื งจาเป็นตอ้ งแสวงหา
โอกาสทางธุรกจิ ปรบั เปลย่ี นกลยุทธก์ ารบรกิ ารการตลาดทเ่ี หมาะสมเพ่อื ตอบสนองต่อตลาดดว้ ยวธิ กี ารนาเสนอผลติ ภณั ฑ์

-4-

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

อย่างมคี ุณค่าด้วยการบรกิ ารช่องทางการจดั จาหน่าย วธิ ีในการส่อื สารเพ่อื นาเสนอข่าวสารกระตุ้นการรบั รู้คุณค่าของ
ผลติ ภณั ฑก์ ่อใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมการซอ้ื อยา่ งต่อเน่อื งสรา้ งรายไดไ้ ดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื

ภมู ิปัญญาท้องถ่ินเกี่ยวกบั ผา้ ไหม
การทอผา้ ไหม
ชาวจงั หวดั สรุ นิ ทรเ์ ป็นกลุ่มคนไทยเชอ้ื สายเขมรและไทยอสี านซง่ึ มหี ม่บู า้ นทอผา้ ตามประเพณสี บื ทอดต่อมาตงั้ แต่

อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยทัว่ ไปชาวบ้านจะทอในส่ิงท่ีตนเองถนัดและสนใจ บางคนทอเฉพาะส่วนเชิงหรือตีนซิ่น
โดยชาวสุรนิ ทรเ์ ชอ้ื สายเขมรเช่อื ว่าผา้ ไหมเป็นสงิ่ ทม่ี คี ่ามรี าคาแลกเปล่ยี นเป็นเงนิ ได้ ดงั นัน้ ชาวสุรนิ ทรเ์ ชอ้ื สายเขมรจงึ
ทอผา้ เพ่อื ไวใ้ ชส้ อยเองและเกบ็ สะสมในหบี ทบึ หรอื บางครงั้ ผา้ ไหมยงั ถูกใชเ้ ป็นหลกั ทรพั ยใ์ นการจานาและเอาเงนิ ไวใ้ ช้สอย
ไดอ้ กี ดว้ ย ในปัจจุบนั ปรมิ าณการผลติ ผา้ ไหมของจงั หวดั สรุ นิ ทรม์ จี านวนมากและหลากหลาย โดยการผลติ ผ้าไหมสุรนิ ทร์
ถอื เป็นอุตสาหกรรมในครวั เรอื น ซง่ึ หม่บู า้ นหตั ถกรรมผ้าไหมมจี านวนมากถงึ 800 หม่บู า้ น กระบวนการผลติ ผา้ ไหมตงั้ แต่
กระบวนการตน้ น้า เรม่ิ ตงั้ แต่การปลกู หมอ่ นเลย้ี งไหม การสาวไหม กระบวนการกลางน้า เรมิ่ โดยการมดั หม่ี การยอ้ มสไี หม
ซง่ึ มที งั้ วธิ กี ารยอ้ มดว้ ยสธี รรมชาตแิ ละสเี คมี การทอผา้ ไหมดว้ ยมอื สุดทา้ ยกระบวนการปลายน้า คอื การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์
ผา้ ไหม การพฒั นารปู แบบบรรจุภณั ฑผ์ ลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหม การพฒั นารปู แบบลวดลายใหม่ ๆ แต่คงไวด้ ว้ ยความเป็นอตั ลกั ษณ์
เฉพาะถน่ิ เช่น ลายมดั หม่ี ลายรูปชา้ ง ลายดอกมะเขอื ลายลูกแก้ว และลายต่าง ๆ ทส่ี ่อื แสดงถงึ วถิ ชี วี ติ ของคนพน้ื เมอื ง
แม้จะมกี ารเปลย่ี นแปลงรูปแบบไปบ้างตามความต้องการของตลาด ในการทอลายผ้าไหมของสุรินทร์แบ่งตามลกั ษณะ
การทอไดห้ ลายประเภท ไดแ้ ก่

1. มัดหม่ีโฮล (จองโฮล) คาว่า “โฮล” เป็นคาในภาษาเขมรเป็นช่ือเรียกวิธีการผลิตผ้าไหม ท่ีสร้างลวดลาย
จากกระบวนการมดั ยอ้ มเสน้ ไหมใหเ้ กดิ สสี นั และลวดลายต่าง ๆ แลว้ จงึ นามาทอเป็นผนื ผา้ โดยผา้ โฮลมี 5 สี ไดแ้ ก่ สดี า แดง
เหลอื ง น้าเงนิ และ เขยี ว ซง่ึ จะเป็นการยอ้ มดว้ ยสธี รรมชาติ โดยเน้ือผา้ จะมี 2 สี ดา้ นหน่ึงจะเป็นสอี ่อน สว่ นอกี ดา้ นจะเป็น
สเี ขม้ มดั หมแ่ี ม่ลายโฮล ถอื เป็นแม่ลายหลกั ของผา้ มดั หมส่ี ุรนิ ทรท์ ม่ี กี รรมวธิ กี ารมดั ยอ้ มด้วยวธิ เี ฉพาะ ไม่เหมอื นท่ใี ดๆ
ความโดดเด่นของการมดั ยอ้ มแบบจองโฮล คอื ในการมดั ยอ้ มแบบเดยี วน้ี สามารถทอได้ 2 ลาย คอื โฮลผหู้ ญงิ (โฮลแสรย็ )
หรอื ผา้ โฮลธรรมดา และสามารถทอเป็นผา้ โฮลผชู้ าย (โฮลเปราะฮ)์ ไวน้ ุ่งในงานพธิ ตี ่าง ๆ

2. มัดหม่ีอัมปรม (จองกรา) เป็นการมัดหม่ีทงั้ เส้นพุ่งและเส้นยืนซ่ึงมีการทาเฉพาะในจังหวัดสุรินทร์
เอกลกั ษณ์ของผา้ อมั ปรม คอื ลวดลายทป่ี รากฏเป็นลายตารางสเ่ี หลย่ี มจตั ุรสั เลก็ ๆ ทเ่ี กดิ จากการมดั ยอ้ มเสน้ ไหมทงั้ เสน้ พงุ่
และเสน้ ยนื เม่อื นามาทอเป็นผนื ผ้าแล้ว ลายขดี สขี าวน้ีจะลอยเด่นข้นึ มาจากสพี ้นื ซ่งึ เส้นยืนและเส้นพุ่งท่ี ตดั กนั เป็น
เคร่อื งหมายบวกหรอื กากบาท นนั้ จะเรยี กวา่ “ลายกราประ”

3. มดั หมจ่ี องซนิ เป็นมดั หมล่ี ายต่างๆ ทเ่ี หมอื นกนั กบั จงั หวดั อน่ื ๆ ทวั่ ๆ ไป แบง่ ไดด้ งั น้ี
3.1 มดั หมล่ี ายกนก ไดแ้ ก่ ลายพุ่มขา้ วบณิ ฑ์ ลายสบั ปะรด ลายพระตะบอง ลายกา้ นแย่ง ลายพนมเปญ

ลายดอกมะเขอื
3.2 มดั หมล่ี ายรปู สตั ว์ ตน้ ไม้ และลายผสมอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ รปู นก ไก่ ผเี สอ้ื ชา้ ง มา้ นกยงู ปลาหมกึ พญานาค

สามารถนามาผสมกบั ลายตน้ ไมด้ อกไมห้ รอื ทอลายสตั วเ์ ดย่ี ว ๆ ตลอดผนื กไ็ ด้
3.3 มดั หมล่ี ายธรรมดา ไดแ้ ก่ หมค่ี นั่ หมโ่ี คม ลายหมข่ี อ้

4. ผ้ายกดอกลายดอกพกิ ุล หรอื ปกาปกุน ผ้ายกดอกลายน้ีจะย้อมเส้นด้ายยนื สเี ดยี ว และอาจใชส้ อี ่นื คนั่
ระหวา่ งดอก การทอลายน้จี ะทอทลี ะตะกอ (การทอ่ งเทย่ี วแห่งประเทศไทย สานกั งานสรุ นิ ทร,์ 2560)

-5-

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

สหี ลกั หรอื มดั หม่ี ประกอบดว้ ย
- สแี ดง ไดจ้ ากมะเกลอื
- สเี หลอื ง ไดจ้ ากเข
- สฟี ้า สนี ้าเงนิ ไดจ้ ากคราม
- สเี ขยี วหวั เป็ด ไดจ้ ากการยอ้ มใหไ้ ดส้ เี หลอื งแลว้ ยอ้ มทบั ดว้ ยคราม
- สดี า ไดจ้ ากมะเกลอื แลว้ ยอ้ มทบั ดว้ ยคราม
- สขี าว ไดจ้ ากการนาเสน้ ไหมไปฟอกสี
- สมี ่วง ไดจ้ ากมะเกลอื แลว้ ยอ้ มทบั ดว้ ยคราม
- สเี ขยี ว ไดจ้ ากประโฮด แลว้ ยอ้ มทบั ดว้ ยคราม

การแต่งกาย
การแต่งกายผชู้ าย ตามแบบเดมิ และแต่งกายเวลาประกอบพธิ กี รรม คอื จะนุ่งผา้ โจงกระเบนไหมควบ เกดิ จาก

การนาเสน้ ไหม 3 เสน้ มาตเี กลยี วควบกนั เพ่อื ให้เกดิ สเี หลอื บ เรยี กว่า “ผา้ ควบ” หรอื “ผา้ ไหมหางกระรอก” ชาวบา้ นนิยม
เรยี กว่า “อนั ลูนกะนิว” นอกจากน้ียงั มผี า้ ลายบาเพญ็ เป็นผ้าโฮลเป๊ าะ คลา้ ยผ้าปูมทม่ี ลี ายทอ้ งผา้ เป็นลายใหญ่และมเี ชงิ
ในตัวเป็นลายแฉกแหลม ซ่ึงผ้าแบบน้ีจะใช้ในเวลาทาบุญโดยจะนามาคลุมบายศรี ตรงบริเวณลายโจง หรือเรียกว่า
ยอดบายศรี และยงั มผี า้ อน่ื ๆ คอื ผา้ โสรง่ จะนุ่งอย่บู า้ นและมผี า้ ขาวมา้ และผา้ ไหมโฮล สาหรบั การแต่งกายของผชู้ ายทเ่ี ขา้
พธิ บี วช ขณะอย่ใู นสภาวะเป็นนาค จะนุ่งผา้ โฮลแบบนุ่งซน่ิ ไม่นุ่งโจงกระเบน และถ้านุ่ง ผา้ โสร่งจะไม่มกี ารทาเชงิ ทข่ี อบผา้
จะใชผ้ า้ ขาวมา้ คาดเอวหรอื พาดไหล่

การแต่งกายผ้หู ญิง ผหู้ ญงิ จะนุ่งผา้ ซน่ิ ทอดว้ ยไหมทม่ี ลี วดลายต่าง ๆ เช่น ผา้ ซน่ิ โฮลหรอื หมค่ี นั่ ใชเ้ ฉพาะผหู้ ญงิ
เท่านนั้ เป็นผา้ มดั หมท่ี เ่ี ป็นลายทางยาวเลก็ ๆ เป็นการเลยี นแบบลายน้าไหล (โฮล แปลว่า น้าไหล) โดยผา้ ซนิ่ จะมกี ารต่อเชงิ
หรอื ตนี เพ่อื ใหไ้ ดค้ วามยาวทพ่ี อเหมาะ นอกจากซน่ิ แลว้ ผหู้ ญงิ จะห่มผา้ สไบทอยกดอกลายลกู แกว้ มที งั้ สขี าวและสดี า

ขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรม
จงั หวดั สุรินทร์มปี ระเพณีและวฒั นธรรมท่สี ืบทอดกนั มา ได้แก่ ประเพณีบวชนาคช้าง ประเพณีแซนโฎนตา
กนั ตรมึ งานประเพณขี น้ึ เขาสวาย การกวนขา้ วทพิ ย์ เคาะระฆงั พนั ใบ การแต่งงาน หรอื แซนการก์ ะโน้ปตงิ ตอง เรอื มอนั เร
(การราสาก) หรอื ลดู อนั เรเรอื มตรด เรอื มอายยั โชง สะบา้ ลเิ กเขมร มโหรี เจรยี ง เจรยี งเบรนิ งานชา้ งและกาชาดสุรนิ ทร์
โดยมวี ฒั นธรรมการเล้ยี งช้างเสมอื นเป็นสตั ว์เลย้ี งภายในครอบครวั เป็นวฒั นธรรมการอยู่ร่วมกนั ของคนกบั ชา้ งซ่งึ เป็น
เอกลกั ษณ์อนั โดดเด่นไม่เหมอื นท่ใี ดในโลก (สานักงานจงั หวดั สุรนิ ทร,์ 2561) กระบวนการผลติ ผา้ ไหมภายในชุมชนถูก
เชอ่ื มโยงกบั ประเพณีความเชอ่ื และฤดกู าลเกบ็ เกย่ี ว ดงั น้ี

-6-

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

ตารางที่ 1 ความสอดคลอ้ งการใชผ้ า้ ไหมกบั ประเพณีในจงั หวดั สรุ นิ ทร์

เดือน ประเพณี การใช้ผา้ การทอผา้
มกราคม (ย)ี
กุมภาพนั ธ์ (สาม) บญุ ขา้ วเปลอื ก ผา้ สาหรบั แต่งกาย หม่อนผลดั ใบ (ลดการเลย้ี งไหม)
มนี าคม (ส)่ี เซ่นป่ตู าเปิด ป่าดง
- งานบญุ พะเวส ผา้ สาหรบั แต่งกาย หม่อนผลดั ใบ (ลดการเลย้ี งไหม)
เมษายน (หา้ ) - พธิ แี กมอ แกออ
พฤษภาคม (หก) สงกรานต/์ ผา้ ป่า - ผา้ สาหรบั ทาบุญพธิ ี หมอ่ นผลดั ใบ (ลดการเลย้ี งไหม)
มถิ ุนายน (เจด็ ) พธิ แี กมอ แกออ
กรกฎาคม (แปด) เซ่นป่ตู าเปิด ไรน่ า - ผา้ สาหรบั พธิ กี รรม
กนั ยายน (สบิ ) เขา้ พรรษา
ตุลาคม (สบิ เอด็ ) แซนโฏณตา ผา้ สาหรบั ทาบญุ พธิ ี หมอ่ นผลดั ใบ (ลดการเลย้ี งไหม)
พฤศจกิ ายน (สบิ สอง) ออกพรรษา
ธนั วาคม (อา้ ย) บุญกฐนิ ผา้ สาหรบั พธิ กี รรม หมอ่ นผลใิ บ (เลย้ี งไหมมากขน้ึ )

ผา้ สาหรบั แต่งกาย เลย้ี งไหม/ทอผา้

ชว่ งเทขายผา้ เลย้ี งไหม/ทอผา้

ผา้ สาหรบั พธิ กี รรม เลย้ี งไหม/ทอผา้

ผา้ พธิ งี านแต่ง เลย้ี งไหม/ทอผา้

ผา้ พธิ งี านแต่ง เลย้ี งไหม/ทอผา้

ฤดกู าลเกบ็ เกย่ี วขา้ วนาปี

ที่มา : เมธว์ ดี พยฆั ประโคน และคณะ (2559)

เอกลกั ษณ์ของผา้ ไหมสรุ ินทร์

ผา้ ไหมของจงั หวดั สรุ นิ ทรเ์ ป็นผา้ ไหมทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั ว่าเป็นผา้ ไหมทม่ี คี ุณภาพดี มีอตั ลกั ษณ์ทโ่ี ดดเด่น ซง่ึ ผา้ ไหม
ของจงั หวดั สุรนิ ทรท์ ่ไี ดร้ บั การกล่าวขานมากทส่ี ุด คอื ผ้าไหมยกทองโบราณท่ผี ลติ จากบา้ นท่าสว่าง อาเภอเมอื งสุรนิ ทร์
ได้รบั การคดั เลอื กใหเ้ ป็นผา้ ไหมทใ่ี ช้สาหรบั ตดั เสอ้ื ใหผ้ ูน้ าเขตเศรษฐกจิ เอเปค (APEC Economic Leaders) ซง่ึ นับไดว้ ่า
ไดส้ รา้ งความภาคภูมใิ จใหก้ บั ชาวจงั หวดั สรุ นิ ทร์ ทาใหเ้ ป็นทร่ี จู้ กั ถงึ ความงดงามของผา้ ไหม และในปีมหามงคลงานเฉลมิ
ฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 60 ปี พุทธศกั ราช 2549 ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ในรชั กาลท่ี 9 อาจารยว์ รี ธรรม ตระกลู เงนิ ไทย
จากบา้ นทา่ สว่าง อาเภอเมอื งสรุ นิ ทร์ ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ป็นผอู้ อกแบบ และทอผา้ คลุมพระองั สา (ไหล)่ ไหมยกทอง เพอ่ื เป็น
ทร่ี ะลกึ แด่พระราชอาคนั ตุกะ ทเ่ี สดจ็ มารว่ มในงานพระราชพธิ ฉี ลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 60 ปี (สานกั งานจงั หวดั สรุ นิ ทร,์ 2561)

จากข้อมูลขา้ งต้นแสดงให้เหน็ ว่าผ้าไหมสุรนิ ทร์เป็นผ้าไหมทม่ี คี ุณภาพและช่อื เสยี ง ซ่งึ นอกจากน้ีแลว้ ผ้าไหม
สรุ นิ ทรย์ งั มคี วามหลากหลายในด้านลวดลายเน่ืองจากประกอบดว้ ยคนหลากหลายชาตพิ นั ธุ์ ซง่ึ แต่ละชาตพิ นั ธุไ์ ดส้ บื สาน
ป ร ะ เ พ ณี วัฒ น ธ ร ร ม ก า ร ท อ ผ้า ไ ห ม ข อ ง ต น วิธีก า ร ท อ ผ้า ไ ห ม แ ล ะ ล ว ด ล า ย บ น ผืน ผ้า ไ ห ม ข อ ง ก ลุ่ ม ค น ท่ีอ า ศั ย อ ยู่ใ น
จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ดงั น้ี

กลุ่มเชอ้ื สายลาว คนกลมุ่ น้นี ยิ มทอผา้ ดว้ ยวธิ กี ารมดั หมแ่ี ละการขดิ
กลุ่มเชอ้ื สายภูไท คนกลุม่ น้นี ยิ มทอผา้ ดว้ ยวธิ กี ารขดิ
กล่มุ เชอ้ื สายเขมร คนกลมุ่ น้เี ป็นคนกล่มุ ใหญ่ของจงั หวดั และยงั คงผลติ ผา้ ไหมอยใู่ นปัจจบุ นั
คนกลมุ่ น้นี ยิ มทอผา้ ไหมมดั หม่ี หรอื “ผา้ โฮล”

-7-

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

ลกั ษณะเดน่ ของผา้ ไหมจงั หวดั สุรินทร์
ด้ว ย คว ามมีเอกลักษณ์ ท่ีโดดเด่น แ ละเส้นไหมท่ีงดงามของ ผ้าไหมจังหวัดสุรินทร์ ท่ีได้บ่งบ อกถึง ความเป็ น
เอกลกั ษณ์เฉพาะพ้นื ท่ีและวฒั นธรรมประเพณีประจาท้องถิ่นท่ถี ูกถ่ายทอดลงบนผืนผ้า ทาให้ผ้าไหมจงั หวดั สุรนิ ทร์
มลี กั ษณะโดดเด่น คอื

1. มลี วดลายเป็นเอกลกั ษณ์ทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลทางวฒั นธรรมจากเขมร และมคี วามหมายทส่ี อ่ื ถงึ ความเป็นสริ มิ งคล
2. นิยมใชไ้ หมน้อยในการทอเน่ืองจากเป็นไหมท่มี คี ุณภาพดี เป็นไหมทส่ี าวมาจากเสน้ ใยภายในรงั ไหม เสน้ ใย
สม่าเสมอ เรยี บ นุ่ม และเงางาม
3. นิยมใช้สจี ากธรรมชาติทาให้มสี ไี ม่ฉูดฉาด มสี สี นั ลกั ษณะเฉพาะตัว คอื สจี ะออกโทนสเี ข้ม เช่น ดา
น้าตาล แดง เขยี ว เหลอื ง และเน้อื ผา้ ยงั มกี ลนิ่ หอมจากเปลอื กไม้
4. การทอผา้ ไหมจะทอแน่นมคี วามละเอยี ดอ่อนในการทอและประณตี มกี ารผสมผสานลวดลายต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั
แสดงถงึ ศลิ ปะทส่ี วยงาม
5. การทอผา้ ไหมสว่ นใหญ่ของชาวบา้ นทาเพอ่ื ไวเ้ พอ่ื ใชใ้ นครวั เรอื น และสวมใสใ่ นงานพธิ ที าบญุ และงานพธิ ี
ต่าง ๆ
จากทก่ี ล่าวมาผา้ ไหมสุรนิ ทรเ์ ป็นหน่ึงในจงั หวดั ทผ่ี ลติ ผา้ ไหมแห่งวฒั นธรรมทม่ี เี อกลกั ษณ์เฉพาะตวั มคี วามหลากหลาย
ดา้ นวฒั นธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี โดยเฉพาะการแต่งกายและการทอผา้ ไหมของชาวบา้ นจงั หวดั สรุ นิ ทร์ ซง่ึ ได้
แสดงออกมาบนลวดลายผนื ผา้ ไหมสรา้ งวฒั นธรรมการแต่งกายใหก้ บั จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ไดอ้ ยา่ งน่าภาคภูมใิ จ

กลยุทธก์ ารส่งเสริมการตลาด
การตลาด (Marketing)
การตลาดเป็นกิจกรรมอย่างหน่ึงท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การดาเนินธุรกิจ สามารถพฒั นาปรับปรุงธุรกิจให้เหมาะสม
ตอบสนองต่อพฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคและยงั ทาใหส้ ามารถทาการตลาดไดเ้ หมาะสมกบั ผปู้ ระกอบการ โดยนักวชิ าการไดใ้ ห้
ความหมายของการตลาดท่ีมีบทบาทสาคญั ต่อการพฒั นาธุรกจิ ไว้ คอตเลอร์ (Kotler, 2000) ได้กล่าวว่าการตลาดคือ
“กิจกรรมท่ีมนุษย์ดาเนินการจดั ขน้ึ เพ่อื ให้มกี ารตอบสนองความพอใจและความต้องการต่างๆ โดยอาศยั กระบวนการ
แลกเปลย่ี น” นอกจากน้ี คณะกรรมการสมาคมการตลาดแห่งสหรฐั อเมรกิ า (AMA, 2008) ไดก้ ล่าวว่าการตลาดวา่ เป็น “การปฏบิ ตั กิ าร
ดา้ นธรุ กจิ ทเ่ี กย่ี วกบั กจิ กรรมในการใหส้ นิ คา้ และบรกิ ารผา่ นจากผผู้ ลติ ไปยงั ผบู้ รโิ ภค” สรุปไดว้ ่า กจิ กรรมทม่ี กี ารแลกเปลย่ี น
สนิ ค้าหรอื บรกิ าร ทม่ี คี วามต้องการซอ้ื สนิ ค้าและบรกิ าร เพ่อื ตอบสนองความพงึ พอใจของตนเอง สาหรบั แนวความคิด
ทางการตลาดในปัจจุบันนัน้ เน้นท่ีผู้บริโภคเป็ นเกณฑ์ เน่ืองจากมีการผลิตสินค้ามากมายแต่ผู้บริโภคมีเงินจากัด
จากสถานการณ์แพร่ระบาดโควดิ ท่กี ระจายวงกวา้ งและยอ้ื เย้อื ยาวนาน จงึ ต้องมกี ารดาเนินกจิ กรรมทางการตลาดอย่าง
เหมาะสม เพอ่ื สนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค แนวคดิ การตลาดแบบองคร์ วม (Holistic Marketing Concept) (Kotler and
Keller, 2006, p. 18) ดงั รปู ท่ี 1

-8-

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

รปู ที่ 1 : แนวคดิ การตลาดแบบองคร์ วม
เป็นแนวคดิ ท่พี ฒั นาต่อยอดทเ่ี ช่อื มโยงระบบอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละการสรา้ งความสมั พนั ธ์กบั ลูกค้าเป็นการตลาดเพ่อื สงั คม
ซง่ึ ประกอบดว้ ย 4 สว่ น ไดแ้ ก่ 1. การตลาดภายในกลมุ่ ผผู้ ลติ (Internal Marketing) คอื การทางานทเ่ี ป็นระบบและเช่อื มโยง
กนั ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ ภายในองคก์ ร 2. การตลาดแบบบรู ณาการ (Integrated Marketing) คอื การนาสว่ นประสม
ทางการตลาด 8P’s มาส่งเสรมิ กจิ กรรมต่าง ๆ ทางการตลาดเพ่อื ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ 3. การตลาดสร้างความสมั พนั ธ์
(Relationship Marketing) คอื การสรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี กี บั กลุ่มผบู้ รโิ ภคในระยะยาว สามารถตอบสนองความตอ้ งการของ
ผู้บรโิ ภคได้ตรงเป้าหมายและตรงกบั ความต้องการของแต่ละบุคคล และ 4. การตลาดท่มี ุ่งรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม (Social
Responsibility Marketing) คอื การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมการแต่งกายทอ่ี นุรกั ษ์ความเป็นไทย ความเป็นคนพน้ื ถน่ิ และ
ทาใหค้ นในชุมชนมรี ายได้ ทาใหช้ วี ติ ความเป็นอย่ขู องชุมชนดขี น้ึ โดยมุ่งประโยชน์ของสงั คมเป็นหลกั โดยวตั ถุดบิ ทใ่ี ชใ้ น
การผลติ ไม่สง่ ผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม (Environment) ผผู้ ลติ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม (Ethics)

ส่วนประสมการตลาด (Marketing mix)
การพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วและผลติ ภณั ฑก์ ารทอ่ งเทย่ี วนนั้ จาเป็นต้องอาศยั กลไกทางการตลาดมาเป็นเครอ่ื งมอื ใน
การขบั เคล่ือนให้แหล่งท่องเท่ียวได้นาเสนอและสามารถตอบสนองความต้องการทัง้ ของชุมชนและนักท่องเท่ียว
ซง่ึ จาเป็นตอ้ งอาศยั สว่ นประสมทางการตลาดมาเป็นเคร่อื งมอื ในการช่วยสง่ เสรมิ กจิ กรรมทส่ี ามารถสรา้ งชอ่ งทางการสง่ ผ่าน
ขอ้ มลู โดยการชกั ชวนเพอ่ื ใหส้ ามารถขายสนิ คา้ หรอื บรกิ าร เป็นกจิ กรรมต่าง ๆ ทางการตลาดทน่ี อกเหนือจากการโฆษณา
การประชาสมั พนั ธ์ และการขายโดยพนกั งานขาย เป็นการใหข้ อ้ มลู ชกั ชวน จูงใจใหก้ ลุ่มเป้าหมายตดั สนิ ใจซอ้ื ผลติ ภณั ฑ์
โดยจากขอ้ มลู ขา้ งตน้ จงึ ไดเ้ สนอแนวทางในการกาหนดสว่ นผสมทางการตลาดบรกิ ารเพ่อื สามารถเขา้ ใจถงึ ความต้องการ

-9-

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

และลดช่องว่างในการจดั การท่องเท่ียวของชุมชนได้ โดยได้นาส่วนผสมทางการตลาด ( Marketing Mix) หรือ 8P’s
(Lovelock and Wright, 2002, p. 13-15) มาเป็นเคร่อื งมอื ทใ่ี ชร้ ว่ มกนั เพ่อื ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ ไดด้ งั น้ี

1. ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ผ้าไหมจงั หวดั สุรินทร์มีช่ือเสียงและได้รับความนิยมจากเอกลักษณ์
ท่ีโดดเด่นของตัวผ้าไหม ท่ีนาเอาไหมน้อยมาใช้ในการทอผ้า มีเอกลกั ษณ์ของการออกแบบท่โี ดดเด่นสวยงาม ทนั สมยั และ
มคี วามหลากหลายของลายผา้ ไหม

2. ดา้ นราคา (Price) ราคามคี วามเหมาะสมเม่อื เทยี บกบั คุณค่าความประณีตและคุณภาพของผ้าไหม
มเี กณฑร์ าคาในการจดั สง่ สนิ คา้ ทม่ี คี วามเหมาะสม

3. ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย (Place) พฒั นาดา้ นช่องทางการจดั จาหน่ายสนิ คา้ ซง่ึ สามารถตดิ ต่อได้
ทงั้ ช่องทางออนไลน์ (Online Marketing) และชอ่ งทางออฟไลน์ (Offline Marketing) เพ่อื ใหเ้ ขา้ ถงึ กล่มุ ลกู คา้ เพมิ่ มากยงิ่ ขน้ึ
โดยอาจจะทาการตลาดแบบเฉพาะเจาะจงในพ้นื ทน่ี ัน้ ๆ เน้นกลุ่มลูกค้าท่ีมกั จะชอบเลอื กดูสนิ ค้าหรือเลอื กจบั สนิ คา้ จรงิ
จากทางหน้าร้านก่อนทจ่ี ะตดั สนิ ใจเลอื กซ้อื ผลติ ภณั ฑ์ นอกจากน้ียงั สามารถซอ้ื /ขายสนิ ค้า หรอื การประมลู สนิ คา้ ผ่านทางเวบ็ ไซต์
ส่วนตวั ของรา้ นค้า เป็นต้น ดงั ตารางท่ี 2 ช่องทางการจดั จาหน่าย ช่องทางออนไลน์ (Online Marketing) กบั ช่องทางออฟไลน์
(Offline Marketing)

ตารางท่ี 2 ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย ชอ่ งทางออนไลน์ (Online Marketing) กบั ช่องทางออฟไลน์ (Offline Marketing)

Online Marketing Offline Marketing

- เวบ็ ไซต์ - โทรทศั น์, วทิ ยุ
- การตลาดผา่ นช่องทางอเี มล - สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ เชน่ หนงั สอื พมิ พ,์ นติ ยสาร เป็นตน้
- Social Media เชน่ Facebook, Line, Twitter, - ป้ายโฆษณา, ป้ายประกาศ
Instagram เป็นตน้

ผู้ประกอบการสามารถปรบั ใช้ช่องทางออฟไลน์กับออนไลน์ให้เป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั ซ่งึ ถ้าเน้น
ออฟไลน์มากเกนิ ไปกจ็ ะทาใหก้ ลุ่มลูกคา้ รจู้ กั ในวงแคบเท่านนั้ และถ้าเน้นออนไลน์มากเกนิ ไปผลติ ภณั ฑห์ น้ารา้ นกจ็ ะลด
ความน่าเช่อื ถอื ลง ดงั นนั้ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ควรจะปรบั ใหท้ งั้ สองชอ่ งทางไปดว้ ยกนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

4. ดา้ นสง่ เสรมิ การตลาด (Promotion) เน้นการสรา้ งความแขง็ แกร่งของตลาดภายในชุมชน ก่อนพง่ึ พงิ
ตลาดภายนอก โดยคนในชมุ ชนสามารถจดั การทรพั ยากรใหเ้ กดิ ผลคมุ้ ค่าทางเศรษฐกจิ และสงั คมเพ่อื ยกระดบั คุณภาพชวี ติ
เศรษฐกจิ และสงั คมโดยรวม นอกจากน้สี ามารถชกั จงู ใหเ้ กดิ ทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมการใชบ้ รกิ ารกระตุน้ ใหเ้ กดิ ความตอ้ งการ
ซอ้ื สนิ คา้ และบรกิ ารเพม่ิ ขน้ึ เป็นตน้

5. ดา้ นบุคคล (People) มรี ะบบการคดั เลอื กบคุ คลเขา้ รบั การฝึกอบรม ทม่ี คี วามสามารถจะพฒั นาทกั ษะ
การจงู ใจเพ่อื สรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั กล่มุ ลกู คา้ มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ มวี ธิ กี ารสรา้ งความสนใจหรอื ดงึ ดดู ความสนใจ
ท่แี ตกต่างจากผู้ประกอบการในลกั ษณะเดยี วกนั มคี วามสามารถในการแก้ไขปัญหา และมีทศั นคติท่ีดี มีการให้ขอ้ มูล
และใหค้ าแนะนาลกู คา้ อยา่ งเหมาะสม มกี ารตดิ ตามหลงั การขายอย่างสม่าเสมอ มมี นุษยสมั พนั ธ์ และมมี ารยาทดี

6. ด้านการสร้างและนาเสนอลกั ษณะทางกายภาพ (Physical Evidence and Presentation) เป็นการสร้าง
คุณภาพใหก้ บั ผลติ ภณั ฑ์และรปู แบบการใหบ้ รกิ ารทไ่ี ดม้ าตรฐาน เช่น การแต่งกายสะอาดเรยี บรอ้ ย การเจรจาตอ้ งสภุ าพ

- 10 -

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

อ่อนโยน และการให้บริการท่ีรวดเร็ว มีการใช้รูปสนิ ค้าจริงในการนาเสนอทุกครงั้ มีการแสดงราคาสินค้าต่อหน่วย
อยา่ งชดั เจน มกี ารใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั รายละเอยี ดสนิ คา้ และราคาอย่างครบถว้ น

7. ด้านกระบวนการ (Process) เป็นกิจกรรมท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั ด้านการบริการ เพ่ือมอบการให้บรกิ าร
อย่างถูกตอ้ งและรวดเรว็ ทาให้ลกู คา้ เกดิ ความประทบั ใจ เช่น มรี ะบบการตอบกลบั ขอ้ มลู ทร่ี วดเรว็ ช่องทางการชาระสนิ คา้
หลากหลาย อาทิ การชาระเงนิ ผา่ นการโอนจากแอพพลเิ คชนั่ มอื ถอื ผ่านบตั รเครดติ เป็นตน้

8. ด้านคุณภาพและผลผลติ (Productivity and Quality) เป็นการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพกระบวนการผลิต
ผ้าไหมตามภูมิปัญญาบรรพบุรุษ เป็นการสบื ทอดความรู้ รูปแบบของศลิ ปะพ้นื บ้านตามประเพณีความเช่อื ในท้องถ่นิ
มรี ูปแบบของความเรยี บง่ายตรงตามประโยชน์ใชส้ อย มกี ารปรบั ปรุง ดดั แปลงตามการเปลย่ี นแปลงของวถิ ชี วี ติ ของคนใน
สงั คมชมุ ชน เพ่อื สรา้ งความแตกต่างและสรา้ งความภกั ดตี ่อสนิ คา้ ได้

กล่าวไดว้ ่า ส่วนประสมทางการตลาดนนั้ เป็นกลยุทธด์ า้ นการตลาด ประกอบดว้ ย 8 องคป์ ระกอบ ทเ่ี ป็น
ตวั แปรทางการตลาดของการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ผา้ ไหมในชุมชนโดยการนากลยุทธม์ าใชเ้ พ่อื ตอบสนองความพงึ พอใจแก่
กลุ่มนกั ท่องเทย่ี ว นอกจากน้ียงั จาเป็นต้องมีการพฒั นาคุณภาพแหล่งท่องเทย่ี วและบรกิ าร เพ่อื ใหน้ ักท่องเทย่ี วไดร้ บั รูถ้ ึง
ความจรงิ แท้ หรอื อตั ลกั ษณ์ของแหล่งท่องเทย่ี ว รวมถงึ การสรา้ งนวตั กรรมใหม่ ๆ อย่างสรา้ งสรรค์ เป็นการเพม่ิ มูลค่าของ
ผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมและสรา้ งความแตกต่างทแ่ี ข่งขนั ได้ อย่างไรกต็ ามการแขง่ ขนั กจ็ าเป็นตอ้ งอาศยั การประสานงานการบูรณาการ
ทางานรว่ มกนั เพอ่ื ขยายขอบเขตของแหลง่ ท่องเทย่ี วใหเ้ ป็นทร่ี จู้ กั และเป็นแหล่งเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ผา้ ไหมในพน้ื ทเ่ี พมิ่ มากยงิ่ ขน้ึ

สรปุ

จากการนาเสนอขอ้ มลู เร่อื ง กลยุทธก์ ารสง่ เสรมิ การตลาดผา้ ไหมทอมอื พน้ื ถน่ิ จงั หวดั สุรนิ ทร์ สามารถอธบิ ายสรุป
ไดด้ งั น้ี

การทอผ้าไหมจงั หวดั สุรนิ ทรม์ จี ุดเด่นในด้านวตั ถุดบิ คอื ผา้ ไหม ประกอบกบั การผลติ ท่มี คี ุณภาพสูงปราศจาก
สารเคมี เน่ืองจากผ้าไหมสุรนิ ทรใ์ ชไ้ หมน้อย หรอื ใจไหมชนั้ หน่ึง (ภาษาเขมรเรียกว่า “โซคไซ”) เป็นวตั ถุดบิ ในการผลติ
ผ้าไหม การได้มาซ่ึงเส้นไหมน้อยน้ีต้องพ่งึ พิงกระบวนการเล้ียงหนอนไหม โดยผู้เล้ียงหนอนไหมต้องใช้วิธกี ารตาม
ธรรมชาตแิ ละปราศจากสารเคมี มฉิ ะนัน้ ตวั หนอนไหมจะไม่อาจผลติ เสน้ ใยไหมท่มี คี ุณภาพได้ และเม่อื นาเสน้ ไหมน้อย
มาเป็นวตั ถุดบิ ในการผลติ ผา้ ไหมจงึ เป็นเสน้ ไหมทป่ี ราศจากสารพษิ ทาใหเ้ สน้ ไหมน้อยมคี วามปลอดภยั ต่อผสู้ วมใส่และไม่
สรา้ งความระคายเคอื งต่อผวิ หนงั ผใู้ ช้

ลวดลายผา้ ไหมของจงั หวดั สรุ นิ ทรม์ เี อกลกั ษณ์เฉพาะตวั โดยลวดลายเหล่าน้เี ป็นลวดลายทม่ี าจากวฒั นธรรมความ
เป็นอยู่ของชาวกุยและชาวเขมร นอกจากน้ียังมีสสี นั ท่ผี สมผสานกนั อย่างหลากหลายในผ้าไหมผนื เดียวกนั ภายใต้
กระบวนการมดั ย้อมสี โดยมีลวดลายท่เี ป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตัวอยู่ 5 จาพวกด้วยกนั ได้แก่ ผ้าโฮล ผ้าสาคู ผ้าสระมอ
ผา้ อนั ลนู เสยี ม (ผา้ ลายไทย) ผา้ อมั ปรม ซง่ึ ลวดลายเหล่าน้มี คี วามละเอยี ด ซบั ซอ้ นยากเกนิ กวา่ เครอ่ื งจกั รจะลอกเลยี นแบบได้

ดา้ นวฒั นธรรมของจงั หวดั สรุ นิ ทรป์ ระกอบดว้ ยชนชาตติ ่าง ๆ ทม่ี คี วามหลากหลาย ซง่ึ ประกอบดว้ ยเชอ้ื ชาติ 4 กลุ่มใหญ่
ได้แก่ ชาวกุย ชาวเขมร ชาวลาว ชาวไทยโคราช ส่งผลให้จงั หวดั สุรนิ ทร์มคี วามหลากหลายด้านวฒั นธรรมประเพณี
อย่างมาก โดยชนชาตติ ่าง ๆ ท่เี ขา้ มาอยู่ในจงั หวดั สุรนิ ทร์น้ียงั คงอนุรกั ษ์วฒั นธรรมของชนชาตติ นไว้ ดงั ขอ้ มูลท่ปี รากฎ
ในรูปมรดกภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ของจงั หวดั สรุ นิ ทรท์ โ่ี ดดเด่นและเป็นทร่ี ู้จกั โดยทวั่ ไป คอื งานศลิ ปหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ การทา
เคร่อื งประดบั เงนิ และการทอผ้าไหม ศลิ ปะการแสดงพน้ื บ้าน ได้แก่ การแสดงเรอื มอนั เร (การราสาก) การละเล่นเจรยี ง

- 11 -

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

รวมถงึ ดนตรพี น้ื บา้ น เช่น วงกนั ตรมึ วงมโหรี เป็นตน้ ตลอดจนวฒั นธรรมการเลย้ี งชา้ งซง่ึ เป็นเอกลกั ษณ์โดดเด่นเป็นทร่ี ูจ้ กั
ทวั่ ไป

ชุมชนในจงั หวดั สุรนิ ทร์มคี วามโดดเด่นในการทอผา้ ไหม โดยชุมชนสรา้ งรายไดจ้ ากการจาหน่ายผา้ ไหม ซง่ึ เกดิ
การกระบวนการผลติ และการสบื ทอด แต่จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 จาเป็นต้อง มกี ารประยกุ ต์
ช่องทางการส่อื สารทงั้ ช่องทางออนไลน์และออฟไลน์ โดยการส่งเสรมิ รูปแบบการสอ่ื สารทช่ี ดั เจน คอื สอ่ื บุคคล เป็นการสอ่ื สาร
ดา้ นขนั้ ตอนการผลติ โดยใชส้ ่อื บุคคลผ่านการสนทนา การสอน การอธบิ าย การสาธติ การทดลองทา การสบื ทอดเน้นใชส้ ่อื บุคคล
ส่อื กจิ กรรม การปฏบิ ตั ิใชว้ ธิ กี ารผสมผสานระหว่างการสอนแบบบอกเล่า และการปฏบิ ตั จิ รงิ เพ่อื จูงใจ ช้ใี หเ้ หน็ จุดเด่น
ของผา้ ไหมสรุ นิ ทรเ์ ป็นกระตุน้ ใหน้ ักท่องเทย่ี วเกดิ ความตอ้ งการทอ่ี ยากเดนิ ทางมาท่องเทย่ี วเพ่อื ศกึ ษาประวตั คิ วามเป็นมา
เรอ่ื งราวและวฒั นธรรมของผา้ ไหมสรุ นิ ทร์

ผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมจงั หวดั สรุ นิ ทรเ์ ป็นสงิ่ ทต่ี กทอดกนั มาแต่โบราณ ลวดลาย สสี นั ต่าง ๆ บนผนื ผา้ ไหมเป็นลวดลาย
ท่สี บื ทอดต่อกนั มาจากบรรพบุรุษ มคี วามงดงามและมคี ุณภาพดงั ช่อื เสยี งท่ปี รากฎในระยะเวลาท่ผี ่านมา แต่เน่ืองจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 ในปัจจุบนั ท่กี ่อใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงของพฤตกิ รรมการซอ้ื สนิ คา้ ของ
ผู้บรโิ ภค ทาให้ผู้ประกอบการจาเป็นต้องปรบั กลยุทธ์ทางการตลาดใหม่เพ่อื ปรบั ตัวตามสถานการ์ในปัจจุบนั ทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยเน้น
ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสารผ่านช่องออนไลน์ และออฟไลน์ เพ่อื ให้เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภค
มากยงิ่ ขน้ึ เช่น รายการส่งเสรมิ การขาย การสะสมคะแนน การจดั ส่วนลด การแลกสนิ คา้ เพ่อื ดงึ ดูดผู้บรโิ ภคกลบั มาซอ้ื
สนิ คา้ อกี ครงั้ จงึ จาเป็นตอ้ งมกี ารพฒั นาเพอ่ื เพมิ่ ศกั ยภาพทางการตลาดใหผ้ ลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมทอมอื พน้ื ถน่ิ ของจงั หวดั สรุ นิ ทร์
สามารถเป็นผลติ ภณั ฑช์ ุมชนทส่ี รา้ งรายไดใ้ หแ้ ก่ชุมชนไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื และเพ่อื เผยแพร่วฒั นธรรมและเอกลกั ษณ์ของผา้ ไหม
จงึ จาเป็นตอ้ งนาสว่ นประสมการตลาดมาเป็นเครอ่ื งมอื ในการสง่ เสรมิ และพฒั นาใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ

เอกสารอ้างอิง

กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม. (2549). ผา้ ไหมและผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหม. สบื คน้ จาก https://www.ryt9.com/s/ryt9/69571#:~:text
การท่องเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย สานกั งานสรุ นิ ทร.์ (2560). สรุ นิ ทร:์ สานกั งานฯ.

ธมนพนั ชร์ ศรษี ะพลภมู สิ ทิ ธ,ิ วทิ ยาธร ท่อแกว้ , และกมลรฐั อนิ ทรทศั น์. (2564). ใสช่ อ่ื บทความ. วารสารสงั คมศาสตร์
และมานุษยวทิ ยาเชงิ พุทธ, 6(1), 100-117.

บรษิ ทั มตชิ น จากดั (มหาชน). (2564). สบื สาน อนุรกั ษ์ศลิ ป์ ผา้ ถนิ่ ไทย ดารงไวใ้ นแผน่ ดนิ ดเู สน้ ทางเสน้ ไหมไทยอสี านใน
งานศลิ ปาชพี ประทปี ไทย. สบื คน้ จาก https://www.silpa-mag.com/advertorial/article_54127

ประทบั ใจ สกิ ขา. (2554). ผา้ ทอพ้นื เมอื งอสี านใต.้ อบุ ลราชธานี: ศริ ธิ รรมออฟเซท็ .
เมธว์ ดี พยฆั ประโคน, พฤทธิ์ ศภุ เศรษฐศริ ,ิ นพดล อนิ ทรจ์ นั ทร,์ และกติ ตกิ รณ์ นพอดุ มพนั ธ.์ (2559). ผา้ ไหมทอมอื

พน้ื บา้ นในเขตพน้ื ทจ่ี งั หวดั สรุ นิ ทร.์ วารสารสถาบนั วฒั นธรรมและศลิ ปะ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ, (18)1,
94-105.
ฤดี เสรมิ ชยตุ . (2563). กลยทุ ธก์ ารสง่ เสรมิ การตลาด สาหรบั การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน. วารสารสงั คมวจิ ยั และพฒั นา, (2)4,
51-61.
ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณ์โควดิ -19. (2564). สถานการณ์ โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019. สบื คน้ จาก
https://media.thaigov.go.th/uploads/public_img/source/250464.pdf

- 12 -

วารสารวชิ าการเทคโนโลยกี ารจดั การ. ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564
Academic Journal of Management Technology (AJMT). 2(2): July - December 2021

สานกั งานจงั หวดั สรุ นิ ทร.์ (2561). แผนพฒั นาจงั หวดั สรุ นิ ทร์ (พ.ศ.2561-2564) (ฉบบั ทบทวน รอบปี พ.ศ. 2561).
สรุ นิ ทร:์ สานกั งานฯ.

สานกั หอสมดุ กลาง มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. (2553). ผา้ ไทย: มรดกทคี่ วรอนุรกั ษ.์ สบื คน้ จาก https://www.lib.ru.
ac.th/journal/thaicloth.html.

สธุ ดิ า ราศร,ี ตระกลู จติ วฒั นากร, ประภาศร์ เหกิ ขนุ ทด, และกนกกร เกดิ เงนิ . (2563). สว่ นประสมการตลาดบรกิ ารของ
หมบู่ า้ นทอ่ งเทย่ี ว OTOP ผา้ ไหมไทยนวตั วถิ :ี กรณีศกึ ษาบา้ นตะเคยี น อาเภอสาโรงทาบ จงั หวดั สรุ นิ ทร.์ วารสาร
การบรหิ ารการปกครองและนวตั กรรมทอ้ งถนิ่ , (4)3, 219-232.

American Marketing Association. (2008). About AMA: Definition of marketing. Retrieved from
https://www.ama.org/the-definition-of-marketing-what-is-marketing/.

Kotler, P. (2000). Marketing management: Analyzing consumer marketing and buyer behavior (The Millennium),
New Jersey: Prentic-Hall.

Kotler, P., & Keller, K. L. (2006). Marketing management (12th ed.), New Jersey: Pearson Education.
Lovelock; & Wright. Principles of Service Marketing and Management, 2/E, 2002 Upper Saddle River,

New Jersey: Prentice Hall.

- 13 -


Click to View FlipBook Version