ความผิดทางอาญา ลักษณะ13
ค ว า ม ผิ ด เ กี่ ย ว กั บ ท รั พ ย์
กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด
ห น้ า 1
เ รื่ อ ง ข อ ง
ห ลั ก ค ว า ม ผิ ด เ กี่ ย ว
กั บ ท รั พ ย์
เอาไม่บอก = ลักทรัพย์ แล้วถ้า เอาซึ่งหน้า เขา
เรียกว่าอะไร?
ม า รู้จั ก ห ลั ก ก า ร จำ ง่ า ย ๆ ใ น ก ฎ ห ม า ย ค ว า ม ผิ ด เ กี่ ย ว
กับทรัพย์ในคดีอาญา แล้วต่อไปคุณจะดูข่าวหรืออ่าน
หนังสือพิมพ์ได้สนุกขึ้นนะครับ กฎหมายจะไม่ใช่เรื่องที่
น่าเบื่ ออีกต่อไป
ลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่ นเป็นเจ้าของ
ร่วมอยู่ด้วยโดยทุจริต เช่นการเอาสี่งของที่ของบุคคล
อื่ นวางไว้ไปขาย
ชิงทรัพย์ เป็นการลักทรัพย์โยประทุษร้าย หรือ
ขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าน ถือว่ารุนแรง
กว่าลักทรัพย์ธรรมดา เช่นการใช้อาวุ ธจี้บังคับ
ปล้นทรัพย์ คือการชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทำผิด
ตั้งแต่3คนขึ้นไป ถือเป็นความผิดรุนแรงกว่าชิงทรัพย์
ยักยอกทรัพย์ คือการที่ผู้กระทำผิดครอบครอง
ทรัพย์ของผู้อื่ น หรือผู้อื่ นเป็นเจ้าของร่วมอยู่ด้วย เบียด
บั ง เ อ า ท รัพ ย์ นั้ น ไ ป
ฉ้อโกงทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่ นโดย
หลอกลวงให้เขาหลงเชื่อ และส่งมอบทรัพย์สินให้
วิ่งราวทรัพย์ คือ การลักทรัพย์ของผู่อื่ นโดย
ฉกฉวยเอาไปซึ่งหน้า ถือว่าอุ กอาจกว่าการลักทรัพย์
ธรรมดา เช่น การกระชากสร้อยคอผู้อื่ น
กรรโชกทรัพย์ คือ การข่มขู่ให้ผู้อื่ นให้ทรัพย์แก่ตน
รีดเอาทรัพย์ คือ การข่มขู่เอาประโยชน์ในลักษณะที่
เป็นทรัพย์สินของผู้อื่ น โดยการเปิดเผยความลับของผู้
อื่ น หรือบุคคลที่ 3
ทำให้เสียทรัพย์ คือ การทำให้ผู้อื่ น หรือผู้อื่ นเป็น
เ จ้ า ข อ ง ร่ว ม ด้ ว ย นั้ น เ สี ย ห า ย
ห น้ า 2
ก า ร ลั ก ท รั พ ย์
การลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่ นหรือที่ผู้อื่ น
เป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป โดยต้องการจะครอบครอง
ทรัพย์นั้นไว้ เพื่ อตนเองเอาไปขายหรือให้กับบุคคลอื่ น
ก็ตามแต่ ผู้ที่กระทำความผิดฐานลักทรัพย์จะต้องถูก
ระวางโทษไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 6 พันบาท
ก า ร ลั ก ท รัพ ย์ นั้ น ถ้ า ผู้ ก ร ะ ทำ ไ ด้ ก ร ะ ทำ ใ น เ ว ล า ก ล า ง คื น
หรือในบริเวณที่มีเหตุเพลิงไหม้ การระเบิด หรือในบริเวณ
ที่มีอุ บัติเหตุผู้ที่เข้าไปลักทรัพย์ในบริเวณดังกล่าวจะต้อง
ถูกระวางโทษหนักขึ้นกว่าการลักทรัพย์ในเวลา สถานที่
หรือเหตุการณ์ปกติ เหตุที่เป็นเช่นนี้ เพราะเหตุการณ์
หรือช่วงเวลาดังกล่าวเจ้าของทรัพย์กำลังได้รับความ
เ ดื อ ด ร้อ น ไ ม่ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ดู แ ล ท รัพ ย์ ข อ ง ต น เ อ ง ไ ด้ แ ล ะ
ก า ร ก ร ะ ทำ ใ น เ ห ตุ ก า ร ณ์ ห รือ ช่ ว ง เ ว ล า ดั ง ก ล่ า ว เ ป็ น ก า ร
ก ร ะ ทำ ที่ ซ้ำ เ ติ ม เ จ้ า ข อ ง ท รัพ ย์ ที่ กำ ลั ง ไ ด้ รับ ค ว า ม เ ดื อ ด ร้อ น
มาตรา 334 ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่ น หรือที่ผู้อื่ นเป็น
เจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริต ผู้นั้นกระทำความผิดฐาน
ลักทรัพย์ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่
เกินหกหมื่ นบาท
ห น้ า 3
ก า ร วิ่ ง ร า ว ท รั พ ย์
เป็นการลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า หมายถึง
เ ป็ น ก า ร ข โ ม ย เ จ้ า ข อ ง รู้ตั ว แ ล ะ ท รัพ ย์ จ ะ ต้ อ ง อ ยู่ ใ ก ล้ ชิ ด ตั ว
เจ้าทรัพย์ ผู้กระทำการวิ่งราวทรัพย์จะต้องถูกระวาง
โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 1 หมื่ นบาท อย่างไร
ก็ตามถ้าการวิ่งราวทรัพย์ทำให้ผู้อื่ นได้รับอันตรายหรือ
เสียชีวิต เช่น กระชากสร้อยจากเจ้าของแล้วสร้อยบาดคอ
เจ้าของสร้อย ผู้ที่กระทำจะต้องถูกระวางโทษหนักขึ้นด้วย
มาตรา 336 ผู้ใดลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า ผู้
นั้นกระทำความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ต้องระวางโทษจำคุก
ไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่ งแสนบาท
ถ้าการวิ่งราวทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่ นรับอันตรายแก่
กายหรือจิตใจ ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สองปี
ถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่สี่หมื่ นบาทถึงหนึ่ งแสนสี่หมื่ นบาท
ถ้าการวิ่งราวทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่ นรับอันตราย
สาหัส ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบปี
และปรับตั้งแต่หกหมื่ นบาทถึงสองแสนบาท
ถ้าการวิ่งราวทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่ นถึงแก่ความตาย
ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบห้าปี และ
ปรับตั้งแต่หนึ่ งแสนบาทถึงสามแสนบาท
ห น้ า 4
ชิงทรัพย์ คือ การลักทรัพย์ที่ประกอบ
ด้วยการใช้กำลังเข้าทำร้ายหรือขู่เข็ญว่า
จะใช้กำลังเข้าทำร้ายในทันที ทั้งนี้ เพื่ อให้
ผู้ ที่ ค ร อ บ ค ร อ ง ท รัพ ย์ นั้ น อ ยู่ ยิ น ย อ ม ใ ห้
ทรัพย์ไป หรือกระทำไปเพื่ อให้เกิดความ
สะดวกในการนำทรัพย์นั้นไป เช่น ขณะที่
นายเอกกำลังเดินเล่นอยู่ นาย โท ก็เข้า
ม า บ อ ก ใ ห้ ส ร้อ ย ท อ ง ใ ห้ ถ้ า ไ ม่ ใ ห้ จ ะ ทำ ร้า ย
ห รือ จ ะ เ อ า ปื น ยิ ง ใ ห้ ต า ย จ น น า ย เ อ ก ต้ อ ง
ยอมถอดสร้อยของตนให้ เป็นต้น
เป็นความผิดที่ต่อเนื่ องจากความผิดฐาน
ลักทรัพย์ ถ้าไม่เป็นความผิดฐานลัก
ทรัพย์ แม้มีการใช้กำลังประทุษร้าย หรือ
ขู่ เ ข็ ญ ว่ า ทั น ใ ด นั้ น จ ะ ใ ช้ กำ ลั ง ป ร ะ ทุ ษ ร้า ย
ก็ ไ ม่ เ็ น ค ว า มิ ด ฐ า น ชิ ง ท รัพ ย์
มาตรา 339 ผู้ใดลักทรัพย์โดยใช้กำลัง ก า ร ชิ ง ท รั พ ย์
ประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะ
ใช้กำลังประทุษร้าย เพื่ อ
(1) ให้ความสะดวกแก่การลัก
ท รัพ ย์ ห รือ ก า ร พ า ท รัพ ย์ นั้ น ไ ป
(2) ให้ยื่ นให้ซึ่งทรัพย์นั้น
(3) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้
(4) ปกปิดการกระทำความผิดนั้น
หรือ
(5) ให้พ้นจากการจับกุม
ผู้ นั้ น ก ร ะ ทำ ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ชิ ง ท รัพ ย์
ต้ อ ง ร ะ ว า ง โ ท ษ จำ คุ ก ตั้ ง แ ต่ ห้ า ปี ถึ ง สิ บ ปี
และปรับตั้งแต่หนึ่ งแสนบาทถึงสองแสน
บาท
ถ้ า ค ว า ม ผิ ด นั้ น เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ ที่
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น
อนุมาตราหนึ่ งอนุมาตราใดแห่งมาตรา
335 หรือเป็นการกระทำต่อทรัพย์ที่เป็น
โค กระบือ เครื่องกลหรือเครื่องจักรที่ผู้
มีอาชีพกสิกรรมมีไว้สำหรับประกอบ
กสิกรรม ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุก
ตั้งแต่สิบปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่
ส อ ง แ ส น บ า ท ถึ ง ส า ม แ ส น บ า ท
ถ้าการชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่ นรับ
อันตรายแก่กายหรือจิตใจ ผู้กระทำต้อง
ร ะ ว า ง โ ท ษ จำ คุ ก ตั้ ง แ ต่ สิ บ ปี ถึ ง ยี่ สิ บ ปี
แ ล ะ ป รับ ตั้ ง แ ต่ ส อ ง แ ส น บ า ท ถึ ง สี่ แ ส น
บาท
ถ้าการชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่ นรับ
อันตรายสาหัส ผู้กระทำต้องระวาง
โทษจำคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี และ
ป รับ ตั้ ง แ ต่ ส า ม แ ส น บ า ท ถึ ง สี่ แ ส น บ า ท
ถ้าการชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่ น
ถึงแก่ความตาย ผู้กระทำต้องระวางโทษ
ประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต
ห น้ า 5
การปล้นทรัพย์ มีลักษณะเช่นเดียวกับ
ก า ร ชิ ง ท รัพ ย์ ต่ า ง กั น เ พี ย ง ว่ า มี ผู้ ร่ว ม ชิ ง
ทรัพย์ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ผู้ที่กระทำความ
ผิ ด ฐ า น ป ล้ น ท รัพ ย์ จ ะ ต้ อ ง ถู ก ร ะ ว า ง โ ท ษ
ตั้งแต่ 10 ปี ถึง 15 ปี และปรับตั้งแต่ 2
หมื่ นบาท ถึง 3 หมื่ นบาท หากการปล้น
ทรัพย์ผู้ปล้นคนใดคนหนึ่ งมีอาวุ ธติดตัว
ไปด้วย หรือในการปล้นเป็นเหตุให้เจ้า
ทรัพย์หรือบุคคลอื่ นได้รับถูกทำร้ายหรือ
เสียชีวิต ผู้กระทำความผิดทุกคนแม้จะไม่
ได้พกอาวุ ธหรือร่วมทำร้ายเจ้าทรัพย์หรือ
บุคคลอื่ น กฎหมายก็ถือว่าทุกคนมีส่วน
ร่วมในการกระทำความผิดด้วย ซึ่งมีผล
ใ ห้จ ะ ต้ อ ง รับ โ ท ษ ห นั ก ขึ้ น ก ว่ า ก า ร ป ล้ น
ทรัพย์โดยไม่มีอาวุ ธหรือไม่ได้มีการ
ทำร้ายผู้ใด
ก า ร ป ล้ น ท รั พ ย์
มาตรา 340 ผู้ใดชิงทรัพย์โดยร่วมกัน
ก ร ะ ทำ ค ว า ม ผิ ด ด้ ว ย กั น ตั้ ง แ ต่ ส า ม ค น ขึ้ น
ไป ผู้นั้นกระทำความผิดฐานปล้นทรัพย์
ต้ อ ง ร ะ ว า ง โ ท ษ จำ คุ ก ตั้ ง แ ต่ สิ บ ปี ถึ ง สิ บ ห้ า
ปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงสาม
แสนบาท
ถ้าในการปล้นทรัพย์ ผู้กระทำ
แม้แต่คนหนึ่ งคนใดมีอาวุ ธติดตัวไปด้วย
ผู้ ก ร ะ ทำ ต้ อ ง ร ะ ว า ง โ ท ษ จำ คุ ก ตั้ ง แ ต่ สิ บ
สองปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองแสน
สี่หมื่ นบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้าการปล้นทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่ น
รับอันตรายสาหัส ผู้กระทำต้องระวาง
โทษจำคุกตลอดชีวิต หรือจำคุกตั้งแต่สิบ
ห้ า ปี ถึ ง ยี่ สิ บ ปี
ถ้ า ก า ร ป ล้ น ท รัพ ย์ ไ ด้ ก ร ะ ทำ โ ด ย
แสดงความทารุณจนเป็นเหตุให้ผู้อื่ นรับ
อันตรายแก่กายหรือจิตใจ ใช้ปืนยิง ใช้
วัตถุระเบิด หรือกระทำทรมาน ผู้กระทำ
ต้องระวางโทษจำคุกตลอดชีวิต หรือจำ
คุ ก ตั้ ง แ ต่ สิ บ ห้ า ปี ถึ ง ยี่ สิ บ ปี
ถ้าการปล้นทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่ น
ถึงแก่ความตาย ผู้กระทำต้องระวางโทษ
ประหารชีวิต
ห น้ า 6
ก า ร ก ร ร โ ช ก ท รั พ ย์
การกรรโชกทรัพย์ หากจะยกตัวอย่างให้เห็นได้อย่าง
ชั ด เ จ น ค ง ต้ อ ง ย ก ตั ว อ ย่ า ง
กรณีที่พบเห็นได้บ่อย คือ การที่รุ่นที่บังคับเอาเงิน
จากรุ่นน้องหรือที่เรียกกันว่า “แก็งค์ดาวไถ่”
พ ว ก แ ก็ ง ด า ว ไ ถ่ มั ก จ ะ บั ง คั บ ขู่ เ ข็ ญ ใ ห้ รุ่น น้ อ ง เ อ า เ งิ น
หรือสิ่งของที่มีค่ามาให้ ถ้าไม่เอามาให้ก็มักจะถูกขู่หรือถูก
ทำร้าย ทำให้ต้องยอมตามที่แก็งค์ดาวไถ่บังคับ ผู้ที่กระทำ
ค ว า ม ผิ ด ใ น เ รื่ อ ง นี้ นั้ น ก ฎ ห ม า ย ไ ด้ กำ ห น ด โ ท ษ ใ ห้ ต้ อ ง จำ คุ ก
ไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 1 แสนบาท
แต่ถ้าผู้ที่กระทำการกรรโชกขู่ว่าจะฆ่า ทำให้ได้รับ
อันตรายอย่างสาหัสหรือมีอาวุ ธมาขู่ด้วยก็จะได้รับโทษ
หนักขึ้น จำคุก 6 เดือน ถึง 7 ปี และปรับ 10,000 –
140,000 บาท
มาตรา 337 ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่ นให้ยอมให้หรือยอมจะ
ให้ตนหรือผู้อื่ นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดย
ใช้กำลังประทุษร้าย หรือโดยขู่เข็ญว่าจะทำอันตรายต่อ
ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของผู้ถูก
ขู่เข็ญหรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่า
นั้น ผู้นั้นกระทำความผิดฐานกรรโชก ต้องระวางโทษจำ
คุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่ งแสนบาท
ถ้ า ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ก ร ร โ ช ก ไ ด้ ก ร ะ ทำ โ ด ย
(1) ขู่ว่าจะฆ่า ขู่ว่าจะทำร้ายร่างกายให้ผู้ถูกข่มขืนใจ
หรือผู้อื่ นให้ได้รับอันตรายสาหัส หรือขู่ว่าจะทำให้เกิดเพลิง
ไหม้แก่ทรัพย์ของผู้ถูกข่มขืนใจหรือผู้อื่ น หรือ
(2) มีอาวุ ธติดตัวมาขู่เข็ญ
ผู้ ก ร ะ ทำ ต้ อ ง ร ะ ว า ง โ ท ษ จำ คุ ก ตั้ ง แ ต่ ห ก เ ดื อ น ถึ ง เ จ็ ด
ปี และปรับตั้งแต่หนึ่ งหมื่ นบาทถึงหนึ่ งแสนสี่หมื่ นบาท
ห น้ า 7
ก า ร ยั ก ย อ ก ท รั พ ย์
การยักยอกทรัพย์ เป็นกรณีที่ทรัพย์นั้นได้ตกมาอยู่
ในความครอบครองของบุคคลหนึ่ ง แล้วบุคคลนั้นได้ยึด
เพื่ อไว้เป็นประโยชน์กับตนเอง ซึ่งทำให้เจ้าของทรัพย์ได้
รับความเสียหาย เช่น นาย ก ยืมยางลบ นาย ข ไว้ใช้ แต่
เห็นว่าสวยดีจึงไม่คืน ในกรณีเช่นนี้ นาย ก มีความผิด
ฐานยักยอกทรัพย์ ซึ่งจะต้องถูกระวางโทษไม่เกิน 3 ปี
หรือปรับไม่เกิน 2 พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับข้อควรระวัง
สำ ห รับ ผู้ ที่ เ ก็ บ ก ร ะ เ ป๋ า ตั ง ค์ ต ก ไ ด้ ห รือ ข อ ง ที่ มี ค น ม า ลื ม ไ ว้
(โดยที่เจ้าของยังติดตามทรัพย์นั้นอยู่) หากนำกลับไป
เ พ ร า ะ ต้ อ ง ก า ร ยึ ด ถื อ ไ ว้ เ อ ง แ ล้ ว ก็ มี ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ลั ก ท รัพ ย์
ได้
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ภ า ย น อ ก
1.ครอบครอง
2.ทรัพย์ซึ่งเป็นของผู้อื่ น หรือซึ่งผู้อื่ นเป็นเจ้าของ
รวมอยู่ด้วย
3 . เ บี ย ด บั ง เ อ า ท รัพ ย์ นั้ น เ ป็ น ข อ ง ต น ห รือ บุ ค ค ล ที่ ส า ม
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ภ า ย ใ น
1.เจตนาธรรมดา
2.เจตนาพิเศษ โดยทุจริต
มาตรา 352 ผู้ใดครอบครองทรัพย์ซึ่งเป็นของผู้อื่ น
หรือซึ่งผู้อื่ นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย เบียดบังเอาทรัพย์
นั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริต ผู้นั้นกระทำ
ความผิดฐานยักยอก ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี
หรือปรับไม่เกินหกหมื่ นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้ า ท รัพ ย์ นั้ น ไ ด้ ต ก ม า อ ยู่ ใ น ค ว า ม ค ร อ บ ค ร อ ง ข อ ง ผู้
กระทำความผิด เพราะผู้อื่ นส่งมอบให้โดยสำคัญผิดไป
ด้วยประการใด หรือเป็นทรัพย์สินหายซึ่งผู้กระทำความผิด
เก็บได้ ผู้กระทำต้องระวางโทษแต่เพียงกึ่ งหนึ่ ง
มาตรา 357 “ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วย ห น้ า 8
จำหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจำนำ ค ว า ม ผิ ด ฐ า น รับ ข อ ง โ จ ร เ ป็ น ค ว า ม ผิ ด
ที่เกื้ อหนุนการกระทำความผิดฐานต่างๆ
ห รือ รับ ไ ว้ โ ด ย ป ร ะ ก า ร ใ ด ซึ่ ง ท รัพ ย์ อั น ไ ด้ ม า ตามที่บัญญัติไว้รวม 9 ฐานความผิด
กล่าวคือ ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ กรรโชก
โดยการกระทำความผิด ถ้าความผิดนั้น รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง
เข้าลักษณะลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ยักยอก หรือเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์
กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้น แ ต่ จ ะ มี โ ท ษ ห นั ก ก ว่ า ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ลั ก
ทรัพย์ ยักยอก หรือฉ้อโกง ความผิดฐาน
ทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอก หรือเจ้าพนักงาน รับ ข อ ง โ จ ร มี ส่ ว น ใ ก ล้ เ คี ย ง กั บ ค ว า ม ผิ ด
ฐานเป็นผู้สนับสนุน แต่ความผิดฐานเป็นผู้
ยักยอกทรัพย์ ผู้นั้นกระทำความผิดฐาน ส นั บ ส นุ น นั้ น ต้ อ ง เ ป็ น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ห รือ ใ ห้
รับของโจร ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้า ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ก ร ะ ทำ ค ว า ม ผิ ด ก่ อ น
หรืออย่างช้าในขณะกระทำความผิด แต่ถ้า
ปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่ นบาท หรือทั้ง เ ป็ น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ห รือ ส นั บ ส นุ น ผู้ ก ร ะ ทำ
จำ ทั้ ง ป รับ ความผิดในภายหลังจากการกระทำความ
ผิดนั้นสำเร็จลงแล้ว เช่น ช่วยพาทรัพย์ที่
ถ้ า ก า ร ก ร ะ ทำ ค ว า ม ผิ ด ฐ า น รับ ได้จากการกระทำผิดไปเสีย ก็ไม่เป็นความ
ผิดฐานเป็นผู้สนับสนุน แต่อาจมีความผิด
ของโจรนั้น ได้กระทำเพื่ อค้ากำไรหรือได้ ฐ า น รับ ข อ ง โ จ ร ไ ด้ ห า ก ท รัพ ย์ นั้ น ไ ด้ ม า จ า ก
ก ร ะ ทำ ต่ อ ท รัพ ย์ อั น ไ ด้ ม า โ ด ย ก า ร ลั ก การกระทำความผิดฐานใดฐานหนึ่ งใน 9
ฐ า น ค ว า ม ผิ ด ดั ง ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น
ทรัพย์ตามมาตรา 335 (10) ชิงทรัพย์
ก า ร รั บ ข อ ง โ จ ร
หรือปล้นทรัพย์ ผู้กระทำต้องระวาง
โทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี และปรับ
ตั้งแต่หนึ่ งพันบาทถึงสองหมื่ นบาท
ถ้ า ก า ร ก ร ะ ทำ ค ว า ม ผิ ด ฐ า น รับ ข อ ง โ จ ร นั้ น
ไ ด้ ก ร ะ ทำ ต่ อ ท รัพ ย์ อั น ไ ด้ ม า โ ด ย ก า ร ลั ก
ทรัพย์ตามมาตรา 335 ทวิ การชิงทรัพย์
ตามมาตรา 339 ทวิ หรือการปล้นทรัพย์
ตามมาตรา 340 ทวิ ผู้กระทำต้องระวาง
โทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบห้าปี และปรับ
ตั้งแต่หนึ่ งหมื่ นบาทถึงสามหมื่ นบาท”
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ค ว า ม ผิ ด ฐ า น รับ
ของโจร
1. ผู้ใด
2. ช่วยซ่อนเร้น ช่วยจำหน่าย ช่วย
พาเอาไปเสีย ซื้อ รับจำนำหรือรับไว้โดย
ประการใด
3. ทรัพย์อันได้มาโดยการกระ
ทำความผิด ถ้าความผิดนั้นเข้าลักษณะ
ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ กรรโชก รีดเอา
ทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง
ยักยอก หรือเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์
4. เจตนา (องค์ประกอบภายใน)
ห น้ า 9
ม าตรา 337 ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่ นให้
ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่ นได้
ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดย
ใช้กำลังประทุษร้าย หรือโดยขู่เข็ญว่าจะ
ทำอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อ
เสียงหรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญหรือ
ของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอม
เช่นว่านั้น ผู้นั้นกระทำความผิดฐาน
กรรโชก ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี
และปรับไม่เกินหนึ่ งแสนบาท
ถ้ า ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ก ร ร โ ช ก ไ ด้ ก ร ะ ทำ
โดย
(1) ขู่ว่าจะฆ่า ขู่ว่าจะทำร้ายร่างกาย
ให้ผู้ถูกข่มขืนใจ หรือผู้อื่ นให้ได้รับ
อันตรายสาหัส หรือขู่ว่าจะทำให้เกิดเพลิง
ไหม้แก่ทรัพย์ของผู้ถูกข่มขืนใจหรือผู้อื่ น
หรือ
(2) มีอาวุ ธติดตัวมาขู่เข็ญ
ผู้ ก ร ะ ทำ ต้ อ ง ร ะ ว า ง โ ท ษ จำ คุ ก ตั้ ง แ ต่
หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่หนึ่ ง
หมื่ นบาทถึงหนึ่ งแสนสี่หมื่ นบาท
ก า ร รี ด เ อ า ท รั พ ย์
ความผิดฐานรีดเอาทรัพย์
ม.337 เป็นการขู่ว่าจะใช้กำลัง
ป ร ะ ทุ ษ ร้า ย ห รือ ขู่ เ ข็ ญ ว่ า ทำ อั น ต ร า ย ต่ า ง
ๆ ซึ่งอาจเป็นชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน
ชื่อเสียง เสรีภาพ แต่การขู่เข็ญตาม
ม.338 เป็นการขู่เข็ญว่าจะเปิดเผยความ
ลับและเมื่ อเปิดเผยแล้วก็ไม่คำนึงว่าจะ
เ สี ย ห า ย ต่ อ อ ะ ไ ร
ความผิดฐานรีดเอาทรัพย์มีองค์
ป ร ะ ก อ บ ค ว า ม ผิ ด เ ห มื อ น กั บ ค ว า ม ผิ ด
ฐานกรรโชกทรัพย์ทุกประการ แตกต่าง
กั น แ ต่ เ พี ย ง ใ น ค ว า ม ผิ ด ฐ า น รีด เ อ า ท รัพ ย์
เ ป็ น ก า ร ขู่ เ ข็ ญ ว่ า จ ะ เ ปิ ด เ ผ ย ค ว า ม ลั บ
(Disclose the secret) ไม่ได้เป็นการ
ขู่เข็ญในเรื่องทั่วๆ ไป
Disclose the secret เปิดเผย
ความลับ
ซึ่งความลับ (Secret) หมายถึง ข้อ
เ ท็ จ จ ริง ที่ ไ ม่ ป ร ะ จั ก ษ์ แ ก่ ค น ทั่ ว ไ ป แ ล ะ
เ จ้ า ข อ ง ค ว า ม ลั บ นั้ น ป ร ะ ส ง ค์ จ ะ ป ก ปิ ด
หรือให้รู้ในวงจำกัด เพราะฉะนั้นสิ่งไหน
จ ะ เ ป็ น ค ว า ม ลั บ ห รือ ไ ม่ ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า ตั ว
บุคคลเป็นสำคัญ เช่น การมีภริยาน้อย
การเป็นหญิงขายบริการ การหลบเลี่ยง
ภาษี
โ ด ย ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ค ว า ม ลั บ นั้ น จ ะ ทำ ใ ห้
ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลที่สามเสียหาย และ
ผู้ ก ร ะ ทำ ไ ด้ ก ร ะ ทำ ไ ป โ ด ย ป ร ะ ส ง ค์ จ ะ ไ ด้
ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ เ ป็ น ท รัพ ย์ สิ น
ห น้ า 1 0
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ทำ ใ ห้ เ สี ย
ทรัพย์ มาตรา 358
1.ผู้ใด
2.ทำให้เสียหาย ทำลาย ทำให้เสื่ อม
ค่า หรือทำให้ไร้ประโยชน์
3.ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่ นหรือผู้อื่ นเป็น
เจ้าของรวมอยู่ด้วย
4.เจตนา (องค์ประกอบภายใน)
ส่ ว น ข อ ง ก า ร ก ร ะ ทำ คื อ มาตรา 358 “ผู้ใดทำให้เสียหาย
1.ทำให้เสียหาย หมายถึง ทำให้ ทำลาย ทำให้เสื่ อมค่าหรือทำให้ไร้
ทรัพย์ชำรุด บุบสลาย หรือทำให้ทรัพย์ ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่ นหรือผู้อื่ น
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ใ น ท า ง ที่ เ ล ว ล ง เป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย ผู้นั้นกระทำ
2.ทำลาย คือ การทำให้ทรัพย์สิ้น ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ต้องระวาง
สภาพไปเลย โทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน
3.ทำให้เสื่ อมค่า คือ การทำให้ทรัพย์ หกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”
ราคาลดลง
4.ทำให้ไร้ประโยชน์ คือ ทำให้ทรัพย์ มาตรา 359 “ถ้าการกระทำความ
นั้นหมดประโยชน์ไป แม้เพียงชั่วคราว ผิดตามมาตรา 358 ได้กระทำต่อ
ก็ ต า ม (1) เครื่องกลหรือเครื่องจักรที่ใช้ในการ
ประกอบกสิกรรมหรืออุ ตสาหกรรม
ก า ร ทำ ใ ห้ เ สี ย ท รั พ ย์ (2) ปศุสัตว์
(3) ยวดยานหรือสัตว์พาหนะ ที่ใช้ในการ
ขนส่งสาธารณ หรือในการประกอบ
กสิกรรม หรืออุ ตสาหกรรม หรือ
(4) พืชหรือพืชผลของกสิกร
ผู้ ก ร ะ ทำ ต้ อ ง ร ะ ว า ง โ ท ษ จำ คุ ก ไ ม่ เ กิ น ห้ า ปี
หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่ นบาท หรือทั้งจำ
ทั้ ง ป รับ ”
มาตรา 360 “ผู้ใดทำให้เสียหาย
ทำลาย ทำให้เสื่ อมค่าหรือทำให้ไร้
ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ที่ใช้หรือมีไว้เพื่ อ
สาธารณประโยชน์ ต้องระวางโทษจำคุก
ไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่ นบาท
ห รือ ทั้ ง จำ ทั้ ง ป รับ ”
มาตรา 360 ทวิ “ผู้ใดทำให้เสียหาย
ทำลาย ทำให้เสื่ อมค่า หรือทำให้ไร้
ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ตามมาตรา 335 ทวิ
วรรคหนึ่ ง ที่ประดิษฐานอยู่ในสถานที่
ตามมาตรา 335 ทวิ วรรคสอง ต้อง
ระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี หรือปรับไม่
เกินสองหมื่ นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”
มาตรา 361 “ความผิดตามมาตรา
358 และมาตรา 359 เป็นความผิดอัน
ยอมความได้”
ห น้ า 1 1
ก า ร บุ ก รุ ก
มาตรา 362 ผู้ใดเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่ น
เพื่ อถือการ ครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือ
แต่บางส่วน หรือเข้าไป กระทำการใด ๆ อันเป็นการ
รบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ ของเขาโดยปกติ
สุข ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับ ไม่เกิน
สองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 363 ผู้ใดเพื่ อถือเอาอสังหาริมทรัพย์ของผู้
อื่ นเป็นของตน หรือของบุคคลที่สาม ยักย้ายหรือทำลาย
เครื่องหมายเขตแห่ง อสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือแต่
บางส่วน ต้องระวางโทษจำคุก ไม่เกินสามปี หรือปรับไม่
เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 364 ผู้ใดโดยไม่มีเหตุอันสมควรเข้าไป หรือ
ซ่อนตัวอยู่ใน เคหสถาน อาคารเก็บรักษาทรัพย์หรือ
สำนักงานในความครอบครอง ของผู้อื่ น หรือไม่ยอมออก
ไปจากสถานที่เช่นว่านั้น เมื่ อผู้มีสิทธิที่จะ ห้ามมิให้เข้าไปได้
ไล่ให้ออก ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่ งปี หรือ ปรับไม่
เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 365 ถ้าการกระทำความผิดตาม มาตรา 362
มาตรา 363 หรือ มาตรา 364 ได้กระทำ
(1) โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลัง
ประทุษร้าย
(2) โดยมีอาวุ ธหรือโดยร่วมกระทำความผิดด้วยกัน
ตั้งแต่สองคน ขึ้นไป หรือ
(3) ในเวลากลางคืน
ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน
หนึ่ งหมื่ นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 366 ความผิดในหมวดนี้ นอกจากความผิด
ตาม มาตรา 365 เป็นความผิดอันยอมความได้
ห น้ า 1 2
ตั ว อ ย่ า ง
ก า ร ก ร ะ ค ว า ม ผิ ด เ กี่ ย ว
กั บ ท รั พ ย์ แ ล ะ
คำ พิ พ า ก ษ า ศ า ล ฎี ก า
ที่ ผ่ า น ม า เ ร า ไ ด้ ดู ห ลั ก ข อ ง ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ค ว า ม แ ต ก
ต่ า ง ข อ ง ก า ร ก ร ะ ทำ ค ว า ม ผิ ด ที่ เ กี่ ย ว กั บ ท รัพ ย์ กั น แ ล้ ว น ะ
ครับ
ต่ อ ไ ป จ ะ ม า แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ตั ว อ ย่ า ง ก า ร ก ร ะ ทำ ค ว า ม
ผิ ด เ กี่ ย ว กั บ ท รัพ ย์ แ ล ะ ตั ว อ ย่ า ง คำ พิ พ า ก ษ า ว่ า ค ว า ม ผิ ด
แ ต่ ล ะ อ ย่ า ง นั้ น มี อ ะ ไ ร บ้ า ง แ ล ะ เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ ใ น ก ร ณี ใ ด บ้ า ง ทั้ ง
การลักทรัพย์
การวิ่งราวทรัพย์
การชิงทรัพย์
การปล้นทรัพย์
การกรรโชกทรัพย์
การยักยอกทรัพย์
การรับของโจร
การรีดเอาทรัพย์
การทำให้เสียทรัพย์
แ ล ะ ก า ร บุ ก รุ ก
ห น้ า 1 3
คำ พิ พ า ก ษ า ศ า ล ฎี ก า ที่
4932/2561
ก า ร ลั ก ท รั พ ย์
คืนเกิดเหตุ จำเลยกับผู้เสียหายเจรจาเรื่องหนี้สินกัน
แ ล้ ว ต่ อ ม า จำ เ ล ย นำ ร ถ ย น ต์ แ ล ะ กุ ญ แ จ ร ถ ย น ต์ ข อ ง ผู้ เ สี ย
หายไป ซึ่งต่อมาเจ้าพนักงานตำรวจเข้าตรวจยึดรถยนต์
คันดังกล่าวได้จากร้านรับซื้อของเก่า รถยนต์ยังคงอยู่ใน
สภาพเดิม ไม่มีการดัดแปลงเปลี่ยนสภาพ แสดงว่าจำเลย
ต้องการนำรถยนต์ไปเก็บไว้เป็นการประกันหนี้เพื่ อให้ผู้
เสียหายมาชำระหนี้คืนแก่จำเลย แต่การบังคับชำระหนี้คืน
จ า ก ลู ก ห นี้ มี ก ฎ ห ม า ย กำ ห น ด ขั้ น ต อ น ใ ห้ ฟ้ อ ง ร้อ ง ดำ เ นิ น ค ดี
และบังคับคดีไว้อยู่แล้ว หากจำเลยต้องการบังคับชำระหนี้
จากผู้เสียหาย จำเลยย่อมจะต้องดำเนินการภายใต้กรอบ
หรือหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ การที่จำเลยนำ
รถยนต์ของผู้เสียหายไปเพื่ อเป็นการ ประกันหนี้โดย
พลการเช่นนี้จึงเป็นการกระทำโดยไม่มีอำนาจใดๆ ตาม
กฎหมาย ถือได้ว่าเป็นการแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดย
ชอบด้วยกฎหมายสำหรับตนเอง อันเป็นการเอาทรัพย์
ของผู้เสียหายไปโดยทุจริตแล้ว การกระทำของจำเลยกับ
พ ว ก จึ ง เ ป็ น ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ลั ก ท รัพ ย์
การที่จำเลยตบศีรษะผู้เสียหายนั้น ไม่ได้ตบเพื่ อให้
เกิดความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือพาทรัพย์นั้นไป หรือ
ให้ผู้เสียหายยื่ นให้ซึ่งทรัพย์นั้น หรือเพื่ อยึดถือเอาทรัพย์
นั้นไว้แต่เป็นการตบศีรษะเพื่ อบังคับให้ผู้เสียหายเขียน
สัญญากู้ยืมเงิน ดังนั้น การตบศีรษะผู้เสียหายกับการเอา
ร ถ ย น ต์ ผู้ เ สี ย ห า ย ไ ป จึ ง เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ ที่ แ ย ก ข า ด จ า ก กั น
ไม่ใช่เป็นการใช้กำลังประทุษร้ายเพื่ อให้สะดวกแก่การพา
ทรัพย์นั้นไป หรือให้ยื่ นให้ทรัพย์นั้น หรือเพื่ อยึดถือเอา
ทรัพย์นั้นไว้ อันจะเป็นความผิดฐานชิงทรัพย์ กระทำของ
จำ เ ล ย จึ ง เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ลั ก ท รัพ ย์ ต า ม
ป.อ.มาตรา 335 (1) และทำร้ายผู้อื่ นโดยไม่ถึงกับเป็น
เหตุให้เกิดอันตรายกายหรือจิตใจตาม ป.อ.มาตรา 391
แยกต่างหากจากกัน ทั้งนี้ ความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้
อื่ นไม่ถึงกับเป็นอันตรายแก่กายหรือจิตใจกับความผิด
ฐานลักทรัพย์ต่างเป็นส่วนหนึ่ งของการกระทำหลายอย่าง
ซึ่ ง ร ว ม อ ยู่ ใ น ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ป ล้ น ท รัพ ย์ ต า ม ฟ้อ ง โ ด ย แ ต่ ล ะ
อย่างเป็นความผิดได้อยู่ในตัวเอง ซึ่งโจทก์บรรยายฟ้อง
ไว้โดยละเอียดแล้ว ศาลฎีกาจึงมีอำนาจพิพากษาลงโทษ
จำ เ ล ย ใ น ก า ร ก ร ะ ทำ ต า ม ที่ พิ จ า ร ณ า ไ ด้ ค ว า ม ไ ด้ ต า ม
ป.วิ.อ.มาตรา 192 วรรคท้าย นอกจากนี้ การกระทำของ
จำ เ ล ย กั บ พ ว ก ยั ง เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ อั น เ ป็ น ค ว า ม ผิ ด ห ล า ย
กรรมต่างกัน ซึ่งแม้โจทก์จะไม่ได้ฟ้องขอให้ลงโทษหลาย
กรรม และไม่มีคู่ความฝ่ายใดอุ ทธรณ์และฎีกาในปัญหาดัง
กล่าว แต่ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบ
เรียบร้อย ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้ ตาม
ป.วิ.อ.มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225
ห น้ า 1 4
จำ เ ล ย ท ร า บ แ ล้ ว ว่ า ธุ ร กิ จ ข า ย ข น ม
โ ด นั ท ที่ ร้า น เ กิ ด เ ห ตุ มิ ใ ช่ ธุ ร กิ จ ข อ ง
ครอบครัวจำเลยฝ่ายเดียว หรือทราบ
แ ล้ ว ว่ า ธุ ร กิ จ ข า ย โ ด นั ท ที่ ร้า น เ กิ ด เ ห ตุ เ ป็ น
ธุรกิจในรูปแบบหุ้นส่วน การที่จำเลย
แ ส ด ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ลั ก ษ ณ ะ ห ล อ ก ว่ า จ ะ ซื้ อ
เ ห ม า ข น ม โ ด นั ท ทั้ ง ห ม ด แ ล ะ เ อ า นำ ข น ม
โ ด นั ท ไ ป โ ด ย จ ง ใ จ ไ ม่ จ่ า ย เ งิ น ย่ อ ม ทำ ใ ห้
พ นั ก ง า น ข า ย ข อ ง โ จ ท ก์ ร่ว ม ต้ อ ง รับ ผิ ด ใ น
ร า ค า ข น ม โ ด นั ท จึ ง เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ โ ด ย
ทุ จ ริต อั น เ ป็ น ค ว า ม ผิ ด ฐ า น วิ่ ง ร า ว ท รัพ ย์
สำเร็จแล้ว แม้จำเลยยังถือถุงขนมโดนัท
อ ยู่ ภ า ย ใ น ศู น ย์ ก า ร ค้ า ด้ ว ย ท่ า ท า ง ก า ร
เดินเป็นปกติ ไม่มีลักษณะท่าทางว่ากำลัง
วิ่งหลบหนี ทั้งส.ไม่ได้เรียกพนักงาน
รัก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ ห้ ต า ม จำ เ ล ย ม า
จ่ า ย เ งิ น ห า ทำ ใ ห้ ค ว า ม ผิ ด ฐ า น วิ่ ง ร า ว
ท รัพ ย์ ที่ สำ เ ร็จ แ ล้ ว ไ ม่ เ ป็ น ค ว า ม ผิ ด ไ ม่
คำพิพากษาฎีกาที่ 4146/2562
ก า ร วิ่ ง ร า ว ท รั พ ย์
จำ เ ล ย จ ง ใ จ ห ยิ บ โ ด นั ส ไ ป โ ด ย ไ ม่ จ่ า ย
เ งิ น ต่ อ ห น้ า พ นั ก ง า น แ ม้ จำ เ ล ย ยั ง เ ดิ น อ ยู่
ในห้าง จำเลยผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ห น้ า 1 5
คำ พิ พ า ก ษ า ฎี ก า ที่
2073/2556
ก า ร ชิ ง ท รั พ ย์
พ ฤ ติ ก า ร ณ์ ที่ จำ เ ล ย ลั ก เ อ า เ งิ น ที่ อ ยู่ ใ น
ลิ้นชักจำนวน 1,200 บาท ของผู้เสียหายที่
1 ไป เมื่ อผู้เสียหายที่1 ทราบเรื่อง จำเลยจึง
คืนเงินจำนวนดังกล่าวให้แก่ผู้เสียหายที่ 1
ถือได้ว่าการลักทรัพย์สำเร็จลงแล้ว แต่ขณะ
ที่จำเลยกำลังจะขับรถหลบหนี ผู้เสียหายที่ 2
เข้าดึงท้ายรถจักรยานยนต์ของจำเลยไว้เพื่ อ
ไม่ให้จำเลยหลบหนี จำเลยจึงใช้หมวกนิรภัย
เหวี่ยงไปที่ผู้เสียหายที่ 2 แต่ผู้เสียหายที่ 2
หลบทัน จำเลยจึงขับรถจักรยานยนต์ออกไป
อย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้เสียหายที่ 2 เสียหลัก
ล้ ม ล ง เ ป็ น เ ห ตุ ใ ห้ ไ ด้ รับ บ า ด เ จ็ บ ไ ม่ ถึ ง กั บ เ ป็ น
อันตรายแก่กายนั้น เป็นการกระทำที่ต่อ
เนื่ องยังไม่ขาดตอนจากการกระทำความผิด
ฐานลักทรัพย์ ถือได้ว่าจำเลยใช้กำลัง
ประทุษร้ายเพื่ อให้พ้นจากการจับกุม การกระ
ทำ ข อ ง จำ เ ล ย จึ ง เ ป็ น ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ชิ ง ท รัพ ย์
โดยใช้ยานพาหนะเพื่ อให้พ้นจากการจับกุม
ตาม ป.อ. มาตรา 339 วรรคแรก ประกอบ
มาตรา 340 ตรี
ห น้ า 1 1 6
ก า ร ที่ บุ ค ค ล ห ล า ย ค น ร่ว ม
กั น ม า ป ล้ น ท รัพ ย์ บ้ า น ใ ก ล้ เ คี ย ง
กั น แ ม้ จ ะ แ ย ก กั น เ ข้ า ทำ ก า ร ใ น
หลายบ้าน แต่ละบ้านมีจำนวนไม่
ถึง 3 คน อันจะเป็นความผิด
ฐ า น ป ล้ น ท รัพ ย์ ก็ ต า ม ก็ ถื อ ว่ า
ก า ร ก ร ะ ทำ ทั้ ง ห ม ด เ ป็ น ก ร ร ม
เดียวกัน แต่ละคนย่อมมีความ
ผิดฐานปล้นทรัพย์ ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 390
ประกอบด้วยมาตรา 83 แต่เมื่ อ
ถ้ า เ กิ ด จำ เ ล ย ทำ น อ ก ข อ บ เ ข ต
เ จ ต น า ถื อ ว่ า ก า ร ก ร ะ ทำ ข อ ง
บุ ค ค ล นั้ น เ ป็ น ส่ ว น บุ ค ค ล
คำพิพากษาฎีกาที่ 1919/2514
ก า ร ป ล้ น ท รั พ ย์
ก ฎ ห ม า ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91
ผู้พิพากษา
แปลก ศิงฆมานันท์
ศริ มลิลา
วิกรม เมาลานนท์
ห น้ า 1 7
คำ พิ พ า ก ษ า ฎี ก า ที่
3058/2539
ก า ร ก ร ร โ ช ก ท รั พ ย์
จำ เ ล ย เ ล ย ข อ เ งิ น ค่ า จ อ ด ร ถ จ า ก ผู้ เ สี ย
หายทั้งสองคนละ 10 บาท ผู้เสียหายทั้ง
สองไม่ยอมให้จำเลยพู ดขู่ว่าจะชกต่อยผู้เสีย
หายที่ 1 และนำเอาอาวุ ธปลายแหลมมาจ่อ
ห่างจากไหล่ผู้เสียหายที่ 2 เพียงเล็กน้อย ผู้
เ สี ย ห า ย ทั้ ง ส อ ง เ กิ ด ค ว า ม ก ลั ว จึ ง ส่ ง เ งิ น ใ ห้
จำเลยคนละ 10 บาท แม้จำเลยจะไม่มี
อำนาจเรียกเก็บเงินจากพื้ นที่ดั่งกล่าวแต่
ก า ร ข่ ม ขู่ นั้ น ก็ มิ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น เ ฉ พ า ะ เ จ า จ ง แ ก่
ตั ว ผู้ เ สี ย ห า ย ทั้ ง ส อ ง ค น อ ย่ า ง เ ดี ย ว แ ต่
จำเลยเรียกเก็บเงิน 10 บาทจากทุกคนที่
เข้ามาจอดคนละ 10 บาท เท่าๆกันหากไม่ให้
ก็จะให้นำรถไปจอดที่อื่ นหากยังยืนยันจะ
จ อ ด ใ น ที่ ดั่ ง ก ล่ า ว ก็ จ ะ ทำ ร้า ย ก า ร ข่ ม ขู่ ดั่ ง
กล่าวจึงเป็นการขู่ที่มีเงื่ อนไขผู้เสียหายทั้ง
ส อ ง จึ ง ส า ม า ร ถ ตั ด สิ น ใ จ ไ ด้ อ ยู่ ว่ า จ ะ ใ ห้ ห รือ ไ ม่
ก็ได้ จำเลยจึงไม่ผิดฐานลักทรัพย์ และ ไม่
ผิดฐานชิงทรัพย์ เพราะมิได้มีเจตนาจะแย่ง
ก า ร ค ร อ บ ค ร อ ง เ งิ น ข อ ง ผู้ เ สี ย ห า ย ทั้ ง ส อ ง
โดยตรง แต่การกระทำของจำเลยเป็นการ
ข่ ม ขื น ใ จ ผู้ เ สี ย ห า ย ใ ห้ ย อ ม ทำ ต า ม จึ ง เ ป็ น
ความผิดฐานกรรโชกทรัพย์สำเร็จตาม ป.อ
มาตรา 337
ห น้ า 1 8
ในการวินิจฉัยอุ ทธรณ์ของโจทก์
ศาลอุ ทธรณ์ภาค 6 ต้องย้อนไปวินิจฉัย
ข้อเท็จจริงว่า การที่โจทก์แก้ฟ้องทำให้
จำเลยเสียเปรียบในการต่อสู้คดี และรถ
เ กี่ ย ว ข้ า ว คั น ที่ โ จ ท ก์ นำ สื บ อ้ า ง ว่ า จำ เ ล ย
ยักยอกนำไปขายให้แก่ อ. เป็นรถเกี่ยว
ข้ า ว คั น เ ดี ย ว กั น กั บ ที่ โ จ ท ก์ ฟ้ อ ง ห รือ ไ ม่
อุ ทธรณ์ของโจทก์ดังกล่าวจึงเป็นการ
โ ต้ เ ถี ย ง ดุ ล พิ นิ จ ใ น ก า ร วิ นิ จ ฉั ย คำ ร้อ ง
ข อ แ ก้ ฟ้ อ ง แ ล ะ ก า ร รับ ฟั ง พ ย า น ห ลั ก
ฐานของศาลชั้นต้นอันเป็นอุ ทธรณ์ใน
ปัญหาข้อเท็จจริง เมื่ อความผิดที่โจทก์
ฟ้องจำเลยมีระวางโทษจำคุกอย่างสูงไม่
เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่ นบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ จึงต้องห้ามมิให้
อุ ทธรณ์ตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวง
และวิธีพิจารณาความอาญาในศาล
แขวง ฯ มาตรา 22 ประกอบ พ.ร.บ.ให้
นำวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง
มาใช้บังคับในศาลจังหวัด ฯ มาตรา 3
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6953/2559
ก า ร ยั ก ย อ ก ท รั พ ย์
ค ดี ที่ โ จ ท ก์ ข อ ใ ห้ จำ เ ล ย ช ด ใ ช้
ค่ า เ สี ย ห า ย เ ป็ น ค ดี แ พ่ ง ที่ เ กี่ ย ว
เนื่ องกับคดีอาญา ซึ่งในการ
วิ นิ จ ฉั ย ค ดี ส่ ว น แ พ่ ง ศ า ล ต้ อ ง ถื อ
ข้ อ เ ท็ จ จ ริง ต า ม ที่ ป ร า ก ฏ ใ น คำ
พิพากษาคดีส่วนอาญา ตาม
ป.วิ.อ. มาตรา 46 ประกอบ
พ . ร . บ . จั ด ตั้ ง ศ า ล แ ข ว ง แ ล ะ วิ ธี
พิจารณาความอาญาในศาลแขวง
ฯ มาตรา 3 เมื่ อศาลชั้นต้นฟังข้อ
เ ท็ จ จ ริง ว่ า จำ เ ล ย ไ ม่ ไ ด้ ยั ก ย อ ก ร ถ
เกี่ยวข้าวคันที่โจทก์ฟ้องไป ข้อ
เ ท็ จ จ ริง จึ ง ต้ อ ง ฟั ง ยุ ติ ต า ม ที่
ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วน
อาญาดังกล่าว การกระทำของ
จำ เ ล ย จึ ง ไ ม่ เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ ล ะ เ มิ ด
ต่อโจทก์ จำเลยจึงไม่จำต้อง
ช ด ใ ช้ ค่ า เ สี ย ห า ย ใ ห้ แ ก่ โ จ ท ก์
ห น้ า 1 9
คำ พิ พ า ก ษ า ศ า ล ฎี ก า ที่
4526/2559
ก า ร รั บ ข อ ง โ จ ร
โ จ ท ก์ ไ ม่ ไ ด้ นำ สื บ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า อ ง ค์ เ ท พ เ จ้ า กิ ม อ้ ว ง
เอี๊ยะ องค์เทพเจ้าเตียงง่วยส่วย องค์เทพซำไซ
ส่วยพร้อมอุ ปกรณ์เป็นวัตถุในทางศาสนาพุ ทธ
หรือศาสนาใด เพราะเหตุใด และมีความเกี่ยวข้อง
กับทางศาสนาพุ ทธหรือศาสนาใด เพราะเหตุใด
อย่างไร จึงรับฟังไม่ได้ว่าองค์เทพเจ้าทั้งสามองค์
พร้อมอุ ปกรณ์เป็นวัตถุในทางศาสนา แม้จำเลยที่
1 ให้การรับสารภาพในความผิดฐานรับของโจร
ตามฟ้อง แต่ความผิดฐานรับของโจรโดยมีเหตุ
ฉกรรจ์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 357
วรรคสาม กฎหมายกำหนดอัตราโทษอย่างต่ำไว้ให้
จำคุกตั้งแต่ห้าปีขึ้นไป ศาลต้องฟังพยานหลักฐาน
โจทก์จนกว่าจะพอใจว่าจำเลยที่ 1 ได้กระทำผิด
จริงจึงจะลงโทษได้ ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา 176 วรรคหนึ่ ง เมื่ อ
ข้อเท็จจริงรับฟังไม่ได้ว่า องค์เทพเจ้าทั้งสาม
พร้อมอุ ปกรณ์เป็นวัตถุในทางศาสนาแล้ว ย่อมไม่
อาจลงโทษจำเลยที่ 1 ในความผิดฐานรับของโจร
โดยมีเหตุฉกรรจ์ ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 357 วรรคสาม ได้
ห น้ า 2 0
คำ พิ พ า ก ษ า ฎี ก า ที่
12685/2558
ก า ร รี ด เ อ า ท รั พ ย์
ก า ร ขู่ ว่ า จ ะ เ ปิ ด เ ผ ย ค ว า ม ลั บ อั น เ ป็ น อ ง ค์
ประกอบความผิดตาม มาตรา 338 นั้นต้องมีความ
ห ม า ย ถึ ง ก า ร ขู่ เ ข็ ญ ว่ า จ ะ เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ เ ท็ จ จ ริง ที่ ไ ม่
ป ร ะ จั ก ษ์ แ ก่ บุ ค ค ล ทั่ ว ไ ป แ ล ะ เ ป็ น ข้ อ เ ท็ จ จ ริง ที่
เ จ้ า ข อ ง ค ว า ม ลั บ ต้ อ ง ก า ร ที่ จ ะ ป ก ปิ ด เ อ า ไ ว้ ไ ม่ ใ ห้
บุคคลอื่ นรู้ถึงความลับนี้ โดยความลับนั้นไม่จำเป็น
ต้ อ ง เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ ที่ ช อ บ ด้ ว ย ก ฎ ห ม า ย ห รือ ถู ก ต้ อ ง
ต า ม ศี ล ธ ร ร ม ห า ก เ ป็ น เ ห ตุ ก า ร ณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ ริง แ ล ะ
ตั ว เ จ้ า ข อ ง ข้ อ เ ท็ จ จ ริง ต้ อ ง ก า ร จ ะ ป ก ปิ ด ไ ม่ ใ ห้ บุ ค ค ล
อื่ นรู้ก็ถือว่าเป็นความลับแล้ว เมื่ อฎีกาของจำเลย
ยอมรับข้อเท็จจริงว่าจำเลยมีภริยาอยู่แล้ว แต่
จำ เ ล ย กั บ ผู้ เ สี ย ห า ย ส มั ค ร ใ จ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ฉั น ชู้ ส า ว
กันมาประมาณ 1 ปี ข้อเท็จจริงที่จำเลยกับผู้เสีย
ห า ย มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ฉั น ชู้ ส า ว กั น จึ ง เ ป็ น ข้ อ เ ท็ จ จ ริง ที่
เ กิ ด ขึ้ น จ ริง แ ม้ เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ ที่ ผิ ด ศี ล ธ ร ร ม ซึ่ ง แ ส ด ง
ว่าผู้เสียหายประสงค์จะปกปิดไม่ให้บุคคลอื่ นโดย
เฉพาะภริยาจำเลยรู้เรื่องดังกล่าว เรื่องนั้นจึงเป็น
ความลับของผู้เสียหาย การที่จำเลยขู่เข็ญผู้เสีย
หายว่าหากผู้เสียหายไม่นำเงินจำนวน 20,000 บาท
มาให้จำเลย จำเลยจะนำเรื่องความสัมพันธ์ฉันชู้สาว
ร ะ ห ว่ า ง จำ เ ล ย ซึ่ ง มี ค ร อ บ ค รัว แ ล้ ว กั บ ผู้ เ สี ย ห า ย ไ ป
เปิดเผยต่อบุคคลอื่ น จึงเป็นการขู่เข็ญว่าจะเปิดเผย
ความลับของผู้เสียหาย ครบองค์ประกอบความผิด
ตาม ป.อ. มาตรา 338
ห น้ า 2 1
คำ พิ พ า ก ษ า ศ า ล ฎี ก า ที่
1948/2542
ก า ร ทำ ใ ห้ เ สี ย ท รั พ ย์
แ ม้ จำ เ ล ย จ ะ ใ ช้ ค้ อ น ทุ บ ก ร ะ จ ก ที่ ติ ด กั บ ตู้
เอ.ที.เอ็ม.ด้านล่างแตกขนาดแมว ลอดเข้าไปได้ แต่
ตัวจำเลยก็ไม่สามารถ ถอดเข้าไปภายในธนาคารได้
และตรงจุดที่กระจกแตกก็ไม่เกี่ยวกับ ตู้ เอ.ที.เอ็ม.
ซึ่งมีเงินเก็บอยู่ภายใน จำเลยไม่มีทางที่จะ ล้วงเอา
เงินที่เก็บอยู่ในตู้ เอ.ที.เอ็ม. ไปได้ ของกลางที่ ยึด
ได้ก็มีเพียงค้อน 1 ด้าม ถุงมือ 1 คู่ และกระเป๋า 1
ใบ ซึ่งไม่อาจใช้งัดตู้ เอ.ที.เอ็ม. เพื่ อเอาเงินที่เก็บ
อยู่ ภายในตู้ออกมาได้ หากจำเลยมีเจตนาที่จะลัก
เอาเงินที่เก็บอยู่ ในตู้ เอ.ที.เอ็ม. จำเลยก็น่าจะใช้
ค้อนทุบตู้ เอ.ที.เอ็ม. แล้วรีบหลบหนีไปโดยไม่รออยู่
นานถึง 5 นาที จนกระทั่ง ถูกจับกุมเป็นแน่ กรณี
อาจเป็นเรื่องที่จำเลยไม่มีเจตนาลักทรัพย์ แต่จำเลย
ใช้ค้อนทุบกระจกเพื่ อระบายความเครียด ดังที่
จำเลยอ้าง ก็ได้ แม้โจทก์จะมีคำให้การรับสารภาพ
ชั้นจับกุมและชั้นสอบสวน ของจำเลยมาเป็นพยาน
แต่จำเลยก็ให้การปฏิเสธในชั้นพิจารณา และอ้างว่า
เจ้าหน้าที่ตำรวจนำเอกสารที่มีข้อความแล้ว มาให้
จำเลยลงชื่อโดยไม่ได้อ่านข้อความให้ฟัง พยานหลัก
ฐาน ที่โจทก์นำสืบมายังไม่พอให้รับฟังได้ว่าจำเลย
กระทำ ความผิดฐานพยายามลักทรัพย์ แต่การที่
จำเลยใช้ค้อนทุบกระจก ของธนาคารแตกเสียหาย
ถือได้ว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิด ฐาน
ทำให้เสียทรัพย์ แม้โจทก์จะฟ้องขอให้ลงโทษจำเลย
ในความผิดฐานพยายามลักทรัพย์ผู้เสียหาย แต่
จำเลยก็นำสืบ รับว่าได้ใช้ค้อนทุบกระจกเพื่ อระบาย
ความเครียด จำเลย จึงมิได้หลงต่อสู้ ศาลย่อม
ลงโทษจำเลยในความผิดฐาน ทำให้เสียทรัพย์ได้
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 192 วรรคสาม ส่วนค้อนของกลางเป็น
ทรัพย์ที่ใช้ในการ กระทำผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ จึง
ต้ อ ง ริบ
ห น้ า 2 2
จ. ยังเป็นภริยาจำเลย
แ ต่ ก า ร ที่ จำ เ ล ย เ ข้ า ไ ป ใ น
บ้านผู้เสียหายเพื่ อตามหา
จ. โดยไม่ปรากฏว่าจำเลย
กั บ ผู้ เ สี ย ห า ย มี ค ว า ม
สัมพันธ์กันในทางใด ทั้ง
จำ เ ล ย ก็ ไ ม่ เ ค ย พั ก อ า ศั ย อ ยู่
กับผู้เสียหาย จำเลยย่อม
ไม่มีสิทธิเข้าไปในบ้านผู้เสีย
หายโดยพลการ จึงเป็นการ
เ ข้ า ไ ป โ ด ย ไ ม่ มี เ ห ตุ อั น
สมควร การกระทำของ
จำ เ ล ย จึ ง เ ป็ น ค ว า ม ผิ ด ฐ า น
บุ ก รุ ก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7146/2552
ก า ร บุ ก รุ ก
จำ เ ล ย มิ ไ ด้ มี เ จ ต น า แ ต่ แ ร ก ที่
จะเข้าไปทำร้ายร่างกายผู้เสียหาย
ทั้ ง มิ ไ ด้ ว า ง แ ผ น เ ต รีย ม มี ด ข อ ง
กลางเพื่ อที่จะไปแทงผู้เสียหายมา
ก่อนเกิดเหตุ แต่เมื่ อจำเลยบุกรุก
เข้าไปในบ้านผู้เสียหายแล้วจำเลย
ไปพบว่าผู้เสียหายอยู่ในห้องน้ำ
กับ จ. เพียงสองต่อสอง จึงหยิบ
มี ด ที่ พ บ ว า ง อ ยู่ ไ ป แ ท ง ผู้ เ สี ย ห า ย
ก า ร บุ ก รุ ก เ ข้ า ไ ป ใ น บ้ า น ผู้ เ สี ย ห า ย
กั บ ก า ร แ ท ง ผู้ เ สี ย ห า ย จึ ง เ ป็ น
เจตนาที่มิได้เกิดขึ้นพร้อมกัน แต่
เ กิ ด ขึ้ น เ ป็ น ส อ ง ค รั้ง แ ย ก จ า ก กั น
ได้ จึงเป็นความผิดสองกรรม
ต่างกัน โดยเป็นความผิดฐาน
บุกรุกในเวลากลางคืนกรรมหนึ่ ง
และพยายามฆ่าอีกกรรมหนึ่ ง
ห น้ า 2 3
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
-https://justicechannel.org/criminal/กฎหมายความผิดเกี่ยวกับ
-http://www.lawyerthailand.biz/16231893/ฎีกา
-ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และประมวลกำหมายอาญาฉบับ
สมบูรณ์ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2560
โดย รองศษสตราจารย์ พรชัย สุนทรพันธุ์