3. จดุ เดน
ระดับปฐมวยั
คณุ ภาพของเดก็
ดา นผูเรียน 1) มที ักษะการใชก ลา มเน้อื ประสาทสัมผัส / มติ ิสัมพันธ อิสระในการนาํ เสนอผลงานของ ตนเอง กลาแสดงออก 2) มสี มรรถนะทางดานรา งกายเหมาะ
สมตามวยั 3) มสี ขุ ภาพจติ ดี กระตอื รือรน ใฝเ รยี นรู มีความรบั ผดิ ชอบ 4) มีเจตคติทดี่ ีตอ ผอู ่ืน ทํางานรว มกบั ผูอ น่ื ได
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ดานผูบรหิ าร 1) มีความรู ความสามารถในการจดั ประสบการณก ารเรยี นการสอนไดดี เหมาะสมตามวยั 2) ใหความสาํ คญั ตอการพัฒนาผูเรียนใหม คี ณุ ลักษณะทพี่ ึง
ประสงคตามวยั 3) สง เสริมใหนักเรยี น ไดเรียนรูจากการเลนของเลน เพอ่ื พัฒนาเด็ก ตามแนวทางของการบรหิ ารงานพีระยานเุ คราะหม ูลนธิ ิ ในพระอปุ ถมั ภข อง
สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนแี ละตนั สังกดั ( สช. )
การจัดประสบการณท ีเ่ นนเด็กเปน สําคัญ
ดานครู 1) จดั กจิ กรรมทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงผลตอพฒั นาการของผูเ รยี น 2) ปลูกฝงใหนักเรียน มีระเบียบวนี ัย รูจกั การรอคอย การแบง ปน ชว ยเหลือตัวเองไดเหมาะ
สมตามวยั 3) ดแู ลนกั เรยี นใหมีสขุ นิสยั ท่ีดี รจู กั การปองกนั ตนเองโดยการสวมใสหนา กากอนามัย การตรวจวดั อุณหภมู ิ การลางมือ การเวนระยะหา ง ตาม
มาตรการ การปอ งกนั โรคระบาด 4) พฒั นาตนเองและแสวงหาความรผู านการอบรมออนไลนใ นสถานการณก ารแพรระบาดของโรคโควดิ 19 เพ่อื นาํ มาปรบั ใชใน
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 5) ผลติ สอ่ื และอปุ กรณก ารเรยี นการสอน เพ่อื สง เสริมทกั ษะการสงั เกต เปรยี บเทียบ
ระดบั ขั้นพืน้ ฐาน
คุณภาพของผเู รียน
ดา นผูเ รียน 1. มผี ลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการเปน ทป่ี ระจกั ษและเปน ที่ยอมรับของสถาบนั การศกึ ษาภายนอก 2. รจู กั การเปนผนู ําและผตู าม กลาแสดงออกทัง้ ทาง
รา งกายและความคิดรวมทั้งการทาํ งานรว มกับผูอ ่นื ได 3. มนี า้ํ ใจแบง ปน มคี วามเอือ้ อาทร ความซอ่ื สตั ยสจุ รติ และมีทัศนคตทิ ดี่ ีตอการมาโรงเรยี น 4. นกั เรยี นมี
ความพรอมและเขาถึงส่อื เทคโนโลยีท่ีทนั สมัย ไดอยางเหมาะมตามสถานการณ
กระบวนการบริหารและการจดั การ
ดานผบู รหิ าร 1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไดใ หค วามสาํ คญั ของ การบรหิ ารงานวชิ าการเปนอันดับแรก โดยเนนการจัดการเรียนการสอนใหผ เู รียนเกดิ ความรู
คูค ุณธรรม มีคุณลักษณะที่พงึ ประสงคน ักเรยี นมีสุขนสิ ัยสขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจิตท่ดี ี มคี วามรักความสนใจทางดา นศิลปะดนตรี และกฬี า มีความสามารถในการ
คิด วเิ คราะห คิดสังเคราะห มวี จิ ารณญาณ มีความคดิ สรา งสรรค เนอื่ งจากในการศึกษาท่ีผานมานักเรียนสวนใหญข าดการคิดวิเคราะห สงั เคราะห จงึ ทาํ ใหผลการ
ประเมนิ ภายนอก รอบแรกอยใู นระดบั พอใช ในปน ที้ างโรงเรยี นพรี ะยา นาวิน ไดจดั ทําแผนงานโครงการเนนครผู ูสอน จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ทเี่ นนผเู รียน
เปน สาํ คญั นักเรียนไดรับฝก ทกั ษะการคิดวเิ คราะห สรา งองคค วามรูดวยตนเอง สามารถนําไปใชใ นชีวติ ประจาํ วนั ได 2. ตระหนักและสงเสรมิ ใหครู มีทกั ษะท่ไี ดจ าก
การพัฒนาตนเองมาใชในการพัฒนาปรับปรุงและพัฒนาคณุ ภาพการปฏิบัติงานตามแนวทางของการบรหิ าร พรี ะยานเุ คราะห- มูลนธิ ิ ในพระอุปถมั ภข องสมเด็จพระ
ศรีนครินทราบรม-ราชชนนี และตนสงั กัด (สช.)
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ
ดา นครู 1. จดั กิจกรรมท่มี ีประสทิ ธิภาพสงผลตอพัฒนาการ เหมาะสมคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค 2. ปลกู ฝง นักเรียนใหม ีวินยั มีเหตุผล กลาแสดงออกในส่งิ ทีถ่ กู
ตอ งใหเหมาะสมคุณลักษณะอันพงึ ประสงค 3. สามารถบรู ณาการสือ่ การจัดประสบการณ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค สาระการเรียนรู สาระควรเรียนรู 4. ทาง
โรงเรียนไดม ีการจดั การพัฒนาทกั ษะการสอนของครูโดยอบรมในเรอ่ื งของการใชเทคโนโลยีการสอนแบบออนไลน โดยการใชผานระบบโปรแกรม googlemeet,
googleform,Jambord,googleslideและการทาํ เกมการศึกษาออนไลน
4. จดุ ควรพัฒนา
ระดับปฐมวัย
คณุ ภาพของเดก็
ดานผูเรยี น 1) จดั กจิ กรรมสงเสริมทกั ษะในการคิด วเิ คราะห การแกป ญหา 2) จัดกจิ กรรมสงเสริมดา นการเรียนรใู นเร่ือง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ประเพณีไทยให
สอดคลอง กบั ชุมชน 3) จดั กิจกรรมสง เสริมในเรอ่ื งการอา น เชน โครงการพี่สอนนองอาน
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ดานผบู รหิ าร 1) นาํ ขอมลู และผลการประเมนิ ใชต ดั สนิ ใจ / ปรับปรุงงาน 2) พัฒนาคณุ ภาพครแู ละสวัสดิการครู 3) จดั บุคคลากรใหส อดคลองกบั แนวทางการ
พัฒนาผเู รียน
Page 50 of 54
การจัดประสบการณท ี่เนนเดก็ เปน สาํ คัญ
ดา นครู 1) จัดทําสือ่ การเรียนการสอนที่มคี วามเหมาะสมตามสถานการณก ารแพรร ะบาดโรคโควดิ 19 โดยการใชน วัตกรรมและเทคโนโลยี เพ่อื ใชป ระกอบในการ
เรยี นการสอน 2) ความรูเขาใจหลกั สตู รในการเชือ่ มโยงกบั การจัดทาํ แผนการจัดประสบการณส าระการเรียนรู
ระดับขนั้ พื้นฐาน
คุณภาพของผูเ รียน
ดานผเู รยี น 1. การมคี วามรบั ผดิ ชอบตอตนเอง เชน ดูแลเกบ็ รักษา สิ่งของเครอื่ งใชของตนเองและสว นรวม 2. แนะนาํ และสง เสรมิ ดานมารยาทตอ ผอู นื่ โดยการพดู
คยุ ในชว่ั โมงโฮมรมู และการบูรณาการการสอนเขากบั กลุม สาระการเรียนรวู ิชาตา งๆ 3. ทักษะการอา น ( การใชค าํ ควบกลํ้า ร และ ล ยงั ไมช ัดเจน ) และทักษะการ
คิดวิเคราะห 4. ทกั ษะชวี ิตและการสรางนวตั กรรม
กระบวนการบริหารและการจัดการ
ดานผบู ริหาร 1) การนาํ ขอมูลและผลการประเมินใชตดั สินใจ/ปรับปรุงงาน 2) พฒั นาคณุ ภาพครแู ละสวสั ดกิ ารครู 3) จัดบุคลากรใหสอดคลอ งกบั แนวทางการ
พฒั นาผเู รยี น
กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนนผเู รียนเปน สําคัญ
ดานครู 1. การพดู คุยสนทนากับผูปกครองหาแนวทางแกไ ข และ รว มกนั ฝกฝนนักเรยี นอยางตอ เนอ่ื งระหวา งโรงเรยี นและบา น 2. การสรางสอื่ การสอนออนไลน
เพอื่ เพิ่มโอกาสใหนักเรยี นสามารถกลับมาทบทวนบทเรียนทส่ี อนไปได
5. แนวทางการพฒั นา
ดานปฐมวยั
ความตองการชวยเหลือ
1. ดานงบประมาณ ไดร บั งบประมาณจากกระทรวงศกึ ษาธิการสนับสนนุ แตไมเ พยี งพอแตไ ดรับงบจาก มูลนธิ ฯิ สนับสนุน
หากในอนาคตไมไ ดร บั การสนับสนนุ จากมลู นธิ พิ รี ะยานุเคราะห จําเปนตอ งมกี ารวางแผนลวงหนา เพือ่ ใหการดําเนนิ งานคลองตวั
2. พื้นทโี่ รงเรยี นไมสามารถขยายได ควรมีการวางแผนการใชอ าคารใหเกิดประโยชนสงู สดุ
3. พัฒนาครูและบุคลากรใหไ ดร ับความรเู พ่มิ เตมิ มากขึน้
6. ความตองการชว ยเหลอื
ดานประถมศกึ ษา
ความตองการชวยเหลือ
1. ดา นงบประมาณ ไดร บั งบประมาณจากกระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนแตยังไมเ พียงพอและยังคงตองรับงบจาก มลู นิธฯิ สนับสนุน หาก
ในอนาคตไมไดร บั การสนบั สนุนจากพรี ะยานุเคราะหม ูลนิธิ จาํ เปนตอ งมีการวางแผนลวงหนาเพื่อใหการดําเนนิ งานคลอ งตวั
2. พน้ื ทโี่ รงเรียนไมสามารถขยายได ควรมีการวางแผนการใชอ าคารใหเกิดประโยชนสูงสดุ
3. ควรมกี ารพัฒนาครแู ละบุคลากรใหไดร บั ความรเู พิ่มเติมมากขึ้น เชน
- ทางดานวชิ าการ
- ทางดา นเทคโนโลยที างการศึกษา
- วทิ ยาการท่ที ันสมยั
- ศึกษานิเทศกท ีม่ ีประสบการณแ ละความชํานาญการ
- การมสี ว นในการเสนอความคดิ เหน็ ตอพืน้ ทกี่ ารศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ
7. ความโดดเดน ของสถานศกึ ษา(ถา ม)ี
Page 51 of 54
--
ระดบั การศึกษา :
ไดรบั การยอมรบั เปนตน แบบระดับ : -
กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศึกษา
การปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน แบบอยางที่ดี หรอื ดีเลิศ
1.1 โรงเรยี นมีโครงการผลิตสอื่ ทีท่ ําจากไมใ นรปู ของจิกซอ และส่อื ตัวตอตางๆ เพอื่ ใชในการจัดประสบการณ การเรียนรู ตามหนว ยกจิกรรมการ
เรยี นรูต างๆ ในรปู ของเดก็ เอง
1.2 เปนแหลง การเรยี นการศกึ ษาพ่งึ พาตนเอง ไดแกการผลติ สอ่ื เพอ่ื การพัฒนาเดก็ การผลิต ส่ือการจดั ประสบการณก ารเรียนรูแ ละการผลิต
เครอ่ื งแบบนกั เรยี น ใหความรว มมือกบั องคก รท้งั ภาครฐั และเอกชนในการพฒั นาการศกึ ษา
1.3 โรงเรยี นพีระยา นาวิน มีหนว ยงานสนบั สนนุ หลกั ทางดา นการศกึ ษาอยางครบถว น และสมบรู ณแ บบจนกระท่ังมหี นวยงานภาครฐั และเอกชน
มาเยี่ยมชม สถานศึกษาอีกท้งั โรงเรยี นยังเปน แหลง เรียนรูแ ละฝก ประสบการณว ิชาชพี ใหกับสถาบันการศึกษาตางๆ นอกจากนีท้ างจุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั มาชวย
ในดา นทันตสุขภาพ
1.4 โครงการใหพ ระสงฆสอนพระพทุ ธศาสนาในโรงเรียนเพือ่ นาํ หลักธรรมไปประยุกตใ ชอนั จะกอใหเ กิดการดําเนนิ ชีวติ แบบมีคุณคาตามหลัก
ของศาสนาท่ีตนนับถอื และเปน การปลกู ฝงจิตสาํ นึกที่ดีใหแ กเ ด็กและเยาวชนตลอดไป วตั ถปุ ระสงค
1.4.1 เพอื่ สง เสริมการพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมของเดก็ ประถมศึกษา
1.4.2 เพอื่ เปนการปลกู ฝงคณุ ธรรมจริยธรรมขน้ั พื้นฐานของเดก็ ใหม จี ิตสํานกึ ทดี่ ี
1.4.3 เพ่อื ใหเ ด็กมีจิตสาํ นกึ ทด่ี ตี อสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษตั ริยวทิ ยากรพระสงฆผ ทู รงคุณวฒุ ิ
พระครปู ลดั ไชยา ปญฺ าคโม กรรมการบรหิ ารการศึกษาเผยแพรพ ระพทุ ธศาสนาวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร
Page 52 of 54
รายงานรวบรวมโดย (Prepared by)
ครรลอง ชินทะวัน ผูอ าํ นวยการ
อันธิกา ปด ดอกไม เจาหนาท่ี
Page 53 of 54
ภาคผนวก
Page 54 of 54
ประกาศโรงเรยี น เรอ่ื ง การกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาและคา เปาหมายความสาํ เร็จของ
โรงเรยี นระดับปฐมวยั และระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน
(การกาํ หนดมาตรฐานการศึกษา)
รายงานการประชุมหรอื การใหค วามเหน็ ชอบ SAR ของคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน
(การใหค วามเหน็ ชอบ)
PIRAYA NAVIN SCHOOL โรงเรียนพรี ะยา นาวนิ
31/2 SoiPhahonyothin 47 Phahonyothin RD. 31/2 ซอยพหลโยธิน 47 แขวงลาดยาว
Latyow ,Jhatuchuk , Bangkok 10900 เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900
Tel. 0-2940-7000-4 Fax. 0-2940-7010-11 โทรศพั ท์ 0-2940-7000-4 โทรสาร 0-2940-7010-11
www.pirayanavin.com : www .facebook.com/pirayanavinschool www.pirayanavin.com : www .facebook.com/pirayanavinschool
ในอปุ ถัมภ์ของพีระยานุเคราะห์มลู นธิ ิ
ประกาศโรงเรียนพีระยา นาวินในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
เรื่อง ได้รบั ความเหน็ ชอบ รายงานการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
Self Assessment Report ( SAR ) ประจำปีการศกึ ษา 2563 ระดบั ปฐมวัย / ระดับประถมศกึ ษา
………………………………………….………………………………………………………………
โรงเรยี นพรี ะยา นาวินเปน็ สถานศึกษาประเภทการศกึ ษาสงเคราะห์สงั กดั สำนักบริหารงาน
คณะกรรมส่งเสรมิ การการศึกษาเอกชน (สช.) กระทรวงศึกษาธิการไดร้ ับใบอนญุ าตเลขที่ กส 08 / 2544
ให้บริการเม่ือวันที่ 16 พฤษภาคม 2544 ให้บริการด้านการศึกษาในระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับ
การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานตง้ั แตป่ กี ารศกึ ษา 2547 เปน็ ตน้ มา
โรงเรียนพีระยา นาวิน ได้ดำเนินการตามนโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษาตลอดจน
หลกั สูตรตามกระทรวงศกึ ษาธิการโดยสอดคล้องกับความตอ้ งการของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
และแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี นพีระยา นาวิน ไดจ้ ัดสาระของมาตรฐานตามท่ีคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาและจัดการศึกษาประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับ
การศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ เตม็ ตามศกั ยภาพและตรงตามความตอ้ งการอย่างคุ้มคา่ เสมอภาพและเป็นธรรม
โรงเรยี นพีระยา นาวิน ไดจ้ ัดเกบ็ เอกสาร ข้อมลู ประกอบมาตรฐาน ( รอ่ งรอย ) อย่างเป็นระบบ
มีรายละเอียดประกอบการประเมินในแต่ละมาตรฐานตามตัวบ่งชี้อย่างครบถ้วน และพร้อมที่จะให้ ทำการ
ประเมนิ คุณภาพภายใน และภายนอก เพื่อเปน็ การประกนั คุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นพีระยา นาวนิ
การจดั มาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น ส่งผลให้โรงเรียนพีระยา นาวิน เกดิ การพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาอยา่ งมมี าตรฐานมีการใช้ทรัพยากรการศึกษาอย่างคุ้มค่า มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลผู้ปกครอง
ชมุ ชน และประชาชนมสี ่วนร่วมมีความมั่นใจว่าจะได้รับการศกึ ษาตามสทิ ธ์ และมีคุณภาพไม่ตำ่ กว่ามาตรฐาน
การศึกษาของชาติ
ทั้งน้ี รายงานการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา Self Assessment Report (SAR) ประจำปีการศึกษา
2563 ระดบั ปฐมวัย ระดับประถมศึกษา โรงเรียนพรี ะยา นาวิน ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ าร
โรงเรียนพีระยา นาวิน และบคุ คลเป็นกรรมการรว่ ม 4 ฝา่ ย ประกอบดว้ ยตวั แทนผู้ปกครอง,นกั เรยี น ,ชมุ ชน ,
ครู เมอ่ื วนั ท่ี 18 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 จึงประกาศใหใ้ ช้รายงานการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา Self
Assessment Report ( SAR ) ประจำปีการศกึ ษา 2563 ระดับปฐมวัย โรงเรียนพรี ะยา นาวิน ต้ังแต่บดั นี้
เปน็ ตน้ ไป
คาํ สัง่ แตงตัง้ คณะทํางานจัดทํา SAR
(การแตง ต้ังคณะทาํ งานจดั ทาํ SAR)
หลกั ฐานการเผยแพร SAR ใหผูมสี ว นเก่ยี วขอ งหรือสาธารณชนรับทราบ
(กิจกรรมพฒั นาผูเ รียน)
แผนผงั อาคารสถานที่
(แผนผงั )
แผนผังบรเิ วณโรงเรยี น
โครงสรา งการบริหารงานโรงเรียน
(โครงสรา งโรงเรียน)
โครงสร้างการบริหาร โรงเรียนพรี ะยา นาวนิ
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นพีระยา นาวนิ
(ผู้รับใบอนญุ าต-ประธานกรรมการดำเนินงาน)
คอมพิวเตอร์ ผู้จัดการ/ครูใหญ่/เลขานุการ คณะกรรมการประสานงาน
การเงิน-บญั ชี มาตรฐานการศึกษา (คปม.)
ธรุ การ
ผู้ช่วยครูใหญแ่ ผนกอนบุ าล ผ้ชู ่วยครูใหญแ่ ผนกประถมฯ
การเรยี นการสอน งานบริหาร การเรยี นการสอน งานบรหิ าร
ชนั้ เตรยี มอนบุ าล วชิ าการ ประถมศึกษาปที ่ี 1 วิชาการ
อนุบาล 1 ปกครอง ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ปกครอง
อนบุ าล 2 ห้องสมดุ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ห้องสมดุ
อนบุ าล 3 ธุรการ ประถมศึกษาปที ่ี 4 ธุรการ
ทะเบยี น ประถมศึกษาปที ี่ 5 ทะเบียน
แนะแนว ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 แนะแนว
โภชนาการ โภชนาการ
อนามยั อนามัย
ชมรม ชมรม
อบรม-สมั มนา อบรม-สมั มนา
งานประเมนิ ผล งานประเมินผล
กจิ กรรมนกั เรียน
ห้องทดลองวิทยาศาสตร์
โสตทศั นูปกรณ์
โครงสรา งหลกั สตู ร เวลาเรียน ของโรงเรยี น
(โครงสรา งหลักสตู ร)
เอกสารประกอบ
(ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม)
ผลการประเมนิ ภายนอกรอบสาม ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
ผลการประเมนิ ภายนอกรอบสาม สำหรับโรงเรยี นทีป่ ระเมนิ แล้ว ขอให้รายงานผลหลงั จากได้รบั รายงานฉบบั จรงิ กอ่ น
ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม
โรงเรียนพรี ะยา นาวิน ไดร้ ับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกจากสมศ.รอบสาม เม่ือวันท่ี 11 - 12 เดอื น
กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2557 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมนิ 3 กลมุ่ ตัวบ่งช้ี คอื กลุ่มตวั บง่ ชี้
พ้ืนฐาน กล่มุ ตวั บง่ ชอี้ ตั ลักษณ์ กลุม่ ตัวบง่ ช้มี าตรการส่งเสริม ซงึ่ สรุปผลการประเมนิ โดยภาพรวมตามมาตรฐานเปน็ ตาราง
ดงั ต่อไปนี้
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน : ระดบั การศึกษาปฐมวัย (2 – 5 ป)ี น้ำหนกั คะแนนทไี่ ด้ ระดบั คณุ ภาพ
คะแนน
กลุ่มตวั บง่ ชพ้ี น้ื ฐาน
ตวั บ่งช้ที ่ี 1 เด็กมีพัฒนาการด้านรา่ งกายสมวยั 5.00 5.00 ดมี าก
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 เดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวยั 5.00 4.50 ดมี าก
ตัวบงชท้ี ี่ 3 เด็กมีพัฒนาการดา้ นสงั คมสมวัย 5.00 4.50 ดีมาก
ตวั บงชี้ท่ี 4 เด็กมีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญาสมวยั 10.00 9.00 ดีมาก
ตัวบงชที้ ่ี 5 เดก็ มคี วามพรอ้ มศกึ ษาตอ่ ในขัน้ ตอ่ ไป 10.00 10.00 ดีมาก
ตวั บงช้ีท่ี 6 ประสทิ ธิผลการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรูท้ เี่ น้นเด็กเป็นสำคญั 35.00 33.00 ดีมาก
ตวั บง่ ชี้ที่ 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจดั การและการพฒั นาสถานศกึ ษา 15.00 14.50 ดีมาก
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 8 ประสทิ ธิผลของระบบการประกันคณุ ภาพภายใน 5.00 4.57 ดีมาก
กลุ่มตัวบง่ ช้ีอัตลกั ษณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาใหบ้ รรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ 2.50 2.50 ดมี าก
และวัตถุประสงคข์ องการจดั ตงั้ สถานศกึ ษา 2.50 2.50 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเด่นท่สี ่งผลสะท้อนเปน็ เอกลักษณข์ อง
2.50 2.50 ดีมาก
สถานศึกษา 2.50 2.50 ดีมาก
กลมุ่ ตัวบ่งช้ีมาตรการส่งเสริม
ตวั บ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพิเศษเพอื่ ส่งเสรมิ บทบาทของสถานศึกษา
ตวั บ่งช้ที ี่ 12 ผลการส่งเสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดบั มาตรฐาน รักษามาตรฐาน
และพฒั นาสู่ความเป็นเลิศท่ีสอดคลอ้ งกับแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา
คะแนนรวม 100.00 95.37 ดมี าก
สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาปฐมวยั (3 – 5 ป)ี ประเภทโรงเรียน
ผลรวมคะแนนประเมนิ สถานศกึ ษา 95.37.คะแนน
มีคณุ ภาพระดบั ดีมาก
ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน : ระดบั การศึกษาปฐมวัย (2 – 5 ปี)
สมควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา
ไมส่ มควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา
จุดเดน่
อัตลักษณ์ของโรงเรียน
ระดับปฐมวยั “เด็กมีมารยาทงาม”
ระดับประถมศึกษา “ผ้เู รยี นมคี วามกตญั ญู”
เอกลักษณ์ของโรงเรยี น “โรงเรียนชว่ ยเหลอื สังคม ”
จดุ ทีค่ วรพัฒนา
1. ด้านงบประมาณ ไดร้ ับงบประมาณจากกระทรวงศึกษาธกิ ารสนับสนุนแต่ไมเ่ พยี งพอแตไ่ ดร้ บั งบจาก
มูลนิธพิ รี ะยานาวินสนับสนนุ หากในอนาคตไมไ่ ดร้ ับการสนบั สนนุ จากมลู นิธิพรี ะยานเุ คราะห์
จำเป็นตอ้ งมกี ารวางแผนเพื่อลว่ งหน้าเพือ่ ใหก้ ารดำเนนิ งานคลอ่ งตวั
2. พืน้ ท่โี รงเรยี นไมส่ ามารถขยายได้ ควรมกี ารวางแผนการใชอ้ าคารใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด
3. ควรมกี ารพัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหไ้ ด้รับความรูเ้ พม่ิ เติมมากขน้ึ
ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553
1. ด้านผลการจัดการศึกษา
จากผลการประเมินตัวบ่งชี้ พบว่าสถานศกึ ษามกี ารบริหารจัดการทด่ี ี เน่อื งจากผ้บู ริหารมีวสิ ยั ทัศนม์ ีการ
บริหารงานแบบมสี ว่ นร่วม มกี ารพฒั นาระบบงานท้งั 6 ฝ่ายและจัดทำระบบประกันคณุ ภาพอย่างตอ่ เนื่องมีการกำหนด
มาตรฐานการศึกษา การจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษา แผนปฏบิ ัติงานประจำปี มกี ารสรุ ปและจัดทำรายงายประจำปี ส่งผลให้
ระบบประกันคณุ ภาพภายในมคี ุณภาพ ในขณะเดียวกันสถานศึกษาไดม้ กี ารส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพของบุคลากร จัดใหม้ ี
ครอู ยา่ งเพยี งพอมกี ารส่งอบรมในหลกั สตู รด้านปฐมวัยเปน็ ประจำทกุ ปีไมต่ ำ่ กวา่ คนละ 20 ช่ัวโมง/ปี ครไู ดจ้ ดั ทำแผน
ประสบการณ์เรยี นรู้ตอบสนองต่อธรรมชาตขิ องเด็กได้ตามวัยและมีพฒั นาการ รวมทั้งจดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยเนน้ เด็กเปน็
สำคญั ให้ยิง่ ข้นึ สง่ ผลให้ครมู ปี ระสิทธผิ ลของการจัดประสบการณ์การเรียนรทู้ ่เี น้นเด็กเป็นสำคัญมีคุณภาพตัวบ่งชี้ท่ี 6 อยู่
ระดับดีมาก
ในผลการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูเ้ ป็นภาพสะทอ้ นของการดำเนินงานของฝ่ายบริหารและครกู ล่าวคอื
ผู้บริหารท่ีมีการบรหิ ารงานโดยใชร้ ะบบวงจรคณุ ภาพ PDCA เป็นเครอ่ื งมือในการบรหิ ารจัดการ มกี ารกำกับตดิ ตามการ
ดำเนินงานตามแผนตามแผนพัฒนาการศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจำปอี ย่างต่อเนอ่ื ง มีการกำหนดกระบวนการพฒั นาท่ี
เก่ยี วเนอ่ื งกนั ระหา่ งตวั บ่งชที้ ่ี 1,2,3,4,5,10,11และ12 ซ่ึงผู้บรหิ ารและครูมีความพยายามในการพัฒนาเด็กให้มสี ุขภาพกายที่ดี
มอี ารมณ์และจติ ใจที่ดี มกี ารปรับตัวเข้าสงั คมได้ดีมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ผา่ นโครงการหนนู ้อยมารยาทดี กิจกรรมกฬี าสแี ละวัน
เด็กแห่งชาติ กิจกรรมวนั ไหวค้ รู โครงสัปดาหพ์ ระพทุ ธศาสนา โครงการวันแมแ่ ห่งชาติ โครงการแลกเปลย่ี นนักศึกษาไทย-
เดนมาร์ก เป็นผลใหเ้ ด็กมคี วามพร้อมในการศกึ ษาตอ่ ในขั้นตอ่ ไป มโี ครงการบรหิ ารจดั การและพัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ ไป
ตามอตั ลกั ษณ์และเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา ซ่งึ เปน็ ไปตามเป้าหมายตามแผนจึงมคี ณุ ภาพระดับดีมากทุกตัวบ่งชี้
2. ด้านการบริหารจดั การศึกษา
1.โรงเรียนมีโครงการแลกเปลี่ยนไทย-เดนมาร์ก เป็นโครงการร่วมกนั ระหว่างหน่วยงานทางการศึกษของไทย-
เดนมาร์ก โดยนำนิสิตฝีกปฏิบัติการสอนจากประเทศเดนมาร์กเข้ามาฝึกปฎิบัติการสอน เริ่มโครงการตั้งแต่ 1 สิงหาคม
2543 จนถงึ ปัจจุบนั ดำเนนิ การเป็นรุน่ ท่ี 21
2. โรงเรียนมีโครงการทันตกรรมชมุ ชน เปน็ การรว่ มมอื ระหว่างโรงเรียนพีระยานาวนิ กับภาควิชาทนั ตกรรมชุมชน
คณะทนั ตแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มีวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ให้บรหิ ารสุขภาพในชมุ ชนตา่ งๆ โดยบริหารโรคทางช่อง
ปากใหก้ บั เดก็ ไม่เสยี คา่ ใชจ้ ่ายดังนี้
2.1 เคลอื บหลุมรอ่ งฟัน Sealant
2.2 ขดู หินปูดและเคลอื บฟลูออไรด์
2.3 ถอน
3. ด้านการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ
โรงเรยี นพีระยานาวนิ มหี น่วยงานสนับสนนุ หลกั ทางดา้ นการศกึ ษาอย่างครบถ้วนและสมบูรณ์แบบ
จนกระทง่ั มีผู้มีเกียรติระดบั สงู และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนมาเย่ยี มชม หนว่ ยงานสนบั สนุนไดแ้ ก่
3.1 ศนู ยผ์ ลติ ภณั ฑข์ องเด็กเล่น
3.2 ศูนย์ผลติ ภณั ฑส์ อื่ การเรียนการสอน
3.3 ศนู ย์ผลติ ภัณฑจ์ ากผา้
3.4 โรงเรียนพีระยานาวินเป็นสถานที่ศึกษาดูงานของกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครองส่วนท้องถนิ่
ในด้านการเรยี นการสอนและการพัฒนา
นวัตกรรมหรอื ตัวอยา่ งการปฏิบตั ิทด่ี ี (Good practice) ของสถานศึกษาท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ สังคม (ถ้าม)ี
1.1 โรงเรียนมโี ครงการผลติ ส่อื ทีท่ ำจากไมใ้ นรปู ของจิกซอ และส่ือตัวต่อตา่ งๆ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการ
สอนตามหน่วยการเรียนร้ตู า่ งๆ ในรูปของเด็กเอง
1.2 เป็นแหลง่ การเรยี นการศกึ ษาพ่งึ พาตนเอง ไดแ้ กก่ ารผลิตของเพ่ือการพัฒนาเด็ก การผลติ สอื่ การเรยี นการ
สอนและการผลิตเครอ่ื งแบบนักเรยี น ให้ความร่วมมือกบั องคก์ รทัง้ ภาครัฐ และเอกชนในการพฒั นาการศกึ ษา
1.3 โรงเรียนพีระยา นาวนิ มหี น่วยงานสนบั สนนุ หลกั ทางด้านการศึกษาอย่างครบถว้ น และสมบูรณ์แบบ
จนกระทง่ั มผี ู้มีเกียรติระดบั สงู และหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชนมาเยยี่ มชม หน่วยงานสนับสนนุ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
มาช่วยในด้านทันตสุขภาพ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒประสานมิตร นกั ศึกษามาฝึกสอนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรส์ ่ง
นักศึกษามาฝึกสอน กรมประมงให้โอกาสในการพาเด็กไปศึกษานอกสถานที่ เปน็ ต้น
ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสอง
จดุ เด่น จดุ ท่ีควรพัฒนา และขอ้ แสนอแนะจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยสถานศึกษา
หรือหน่วยงานต้นสงั กัด ไมไ่ ด้เขา้ ของ สำนกั งานรบั รองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)
ข้อเสนอแนะ
ระดับปฐมวัย
1.1 ผ้เู รียน /ครู
- ผู้เรียน ควรได้รับการพัฒนาให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยให้นักโภชนาการมาแนะนำหลักโภชนาการที่
เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ รวมทั้งให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูและเด็กเรื่อง โภชนาการและการออกกำลังกายท่ี
เหมาะสมเพียงพอกับวยั ของผเู้ รียน
- ครู ควรได้รับการส่งเสริมจากสถานศึกษาให้มโี อกาสอบรมพัฒนาในวิชาที่สอนไม่ต่ำกว่า 20 ชั่งโมงต่อปีให้ทั่วถึงทุก
คนอย่างตอ่ เนื่อง
1.2 นวัตกรรมหรอื การปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศของสถานศกึ ษา
- โครงการแลกเปล่ียนไทย - เดนมาร์ก เปน็ โครงการร่วมกันระหว่างงานทางการศกึ ษาของไทยกับเดนมาร์ก โดยนำนิสิต
ฝกึ ปฏิบัติการสอนจากประเทศเดนมาร์ก เข้ามาฝึกปฏิบตั ิการสอน เรมิ่ โครงการต้ังแต่ 1 สงิ หาคม 2553 จนถึงปัจจุบนั ดำเนินการใน
รุน่ ท่ี 13
- โครงการทันตกรรมชุมชน เป็นการร่วมมือระหว่างพีระยานุเคราะห์มูลนิธิกับภาควิชาทันตกรรมชุมชนคณะทันต
แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บริการสุขภาพทางช่องปากกับเด็กนักเรียนในชุมชนต่างๆ โดยไม่มี
คา่ ใชจ้ ่าย
จดุ เด่น จุดทค่ี วรพัฒนา และขอ้ แสนอแนะจากการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสอง ระดับปฐมวยั
1.1 ผู้เรียนมีความสนใจ และมีความสุขกับเสียงดนตรีสามารถเคลื่อนไหวได้ตามจังหวะเพลงและ เนื้อเพลงที่ร่วมกัน
ร้อง สนใจร่วมกิจกรรมศิลปะ สงิ่ ประดิษฐ์ รวมทงั้ การออกกำลังกาย โดยให้ความร่วมมือในการเล่นและทำกิจกรรมระหว่างผู้เรียน มี
ความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ส่งิ ต่างๆ รอบตวั ปฏิบตั กิ ิจกรรมด้วยความสนใจ ทำงานสำเร็จตามที่ครูกำหนด ผู้เรียนมีทักษะการใช้
กลา้ มเน้อื ใหญ่ – เลก็ ได้ประสานสัมพันธ์กัน ใช้ประสาทสมั ผัสทัง้ 5 ทักษะการสื่อสารทำให้มพี ัฒนาการท้งั 4 ด้าน มคี วามสามารถใน
การคิดวิเคราะห์ เลา่ เรอื่ งตามความคิดของตนเอง แสดงออกทางอารมณ์ได้ตามสถานการณ์ รูจ้ ักดแู ลสุขภาพอนามัยเบือ้ งตน้ รู้จักแสดง
ความเคารพ เชื่อฟงั มีความกตัญญู รู้สกึ ดีต่อผู้เก่ียวข้อง ผเู้ รยี นปฏิบัติตามวฒั นธรรม ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงในห้องเรียน ตลอดจนรู้จัก
ใช้ และเก็บสิง่ ของเครื่องใชไ้ ด้ถูกที่อย่างเป็นระเบยี บ
1.2 ครใู นระดับปฐมวยั มคี ุณสมบตั ิท่ีเหมาะสมในการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ดูแลเอาใจใส่รจู้ ักผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล
อย่างทั่วถึง เข้าใจความแตกต่างระหว่างผู้เรียนที่มีศักยภาพหลากหลาย มีระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเป็นอย่างดี ต้งั ใจปฏิบตั หิ น้าท่ี มี
ปฏิสัมพันธ์เป็นแบบอย่างที่ดี สร้างความพึงพอใจต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ครูมีความรู้ความเข้าใจการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
สามารถจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ จดั กจิ กรรมหลักได้เหมาะสมกับพฒั นาการของผู้เรียนทั้ง 4 ด้าน ทำให้ผเู้ รยี นมีพัฒนาการตาม
ศักยภาพเป็นรายบุคคล โดยครูนำส่ือธรรมชาติ สอื่ เทคโนโลยีมาใช้เป็นส่ือการสอน ปลุกเรา้ ความต้องการของผู้เรียน ให้ได้ฝึกคิด ฝึก
ปฏิบัติดว้ ยตนเองจากประสบการณ์ตรง โดยครมู ีการประเมนิ พัฒนาการของผู้เรียนอย่างต่อเนอ่ื ง
1.3 เกียรติยศ ช่อื เสยี ง และผลงานโครงการดีเดน่ ของสถานศกึ ษา
- สมเดจ็ พระเจา้ พี่นางเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยานวิ ฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จพระราชทานถ้วยรางวลั การประกวดรอ้ งเพลง
และทอดพระเนตรการดำเนินงานของสถานศึกษา 23 พฤศจิกายน 2547
- พระเจา้ วรวงศ์เธอพระองศ์เจ้าศรรี ัศม์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช สยามบรมราชกุมาร เสดจ็ ทอดพระเนตรกิจการ
17 มีนาคม 2549
- ทลู กระหม่อมหญงิ อุบลรัตนราชกัญญาสริ วิ ัฒนาพรรณวดี เสดจ็ ทอดพระเนตรกิจการ 10 กมุ ภาพันธ์ 2549
แบบรายงานการตรวจตดิ ตามประเมินผลการจัดการศกึ ษา
โรงเรียนเอกชนประเภทสามญั ศึกษา (ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั )
1. ข้อมูลทั่วไป
1.1 ชอื่ โรงเรียน.............พ...ีร.ะ..ย..า...น..า..ว..นิ ..................... เขต/อำเภอ.................จ.ต..จุ..กั..ร.........จงั หวดั .............ก..ท..ม.......................
1.2 เปิดสอน ตงั้ แต่ช้นั .....อ.....1........ถงึ ชั้น.......ป....6.........จำนวนนักเรียนทง้ั หมด..........5..3..0.............คน
ขนาดเลก็ √ ขนาดกลาง ขนาดใหญ่
1.3 จำนวนบคุ ลากรทัง้ หมด..........7..1..........คน จำแนกเป็น
ผูบ้ ริหาร...3....คน ครู .....7..4...........คน และบุคลากรอื่น ................. คน
2.การประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชนประเภทสามัญศึกษา จำแนกรายละเอยี ดดงั น้ี
รายการตามเกณฑ์การพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด้
1. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น 5 5
1.1 การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนมีการใช้ขอ้ มูลประกอบ 1 1
1.2 การกำหนดคา่ เป้าหมายของมาตรฐานและตัวบ่งช้ีชดั เจนและเป็นไปได้ 1 1
1.3 องค์ประกอบของคณะกรรมการทีก่ ำหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น 1 1
1.4 การประกาศคา่ เป้าหมายแต่ละมาตรฐานและตวั บง่ ชีว้ า่ ด้วยการประกัน 1 1
คณุ ภาพภายในของโรงเรียนให้ผ้เู กย่ี วข้องทราบ 11
1.5 สาระสำคญั ท่ีกำหนดในมาตรฐานและตัวบ่งช้ีสะทอ้ นอตั ลกั ษณ์และ
20 20
มาตรการสง่ เสริมของโรงเรยี น
2. การจดั ทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียน 22
44
2.1 การศกึ ษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการทจี่ ำเปน็ อยา่ งเป็นระบบ 3.5 3.5
2.2 การกำหนดวสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย ตวั ชี้วดั ชดั เจน เป็นรปู ธรรม 11
11
2.3 วิธีดำเนินงานมีหลกั วชิ า ผลการวจิ ัยหรือข้อมูลเชิงประจกั ษท์ ่ีอ้างองิ ได้ 11
เพอ่ื นำไปสู่มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียน
22
2.4 การกำหนดแหลง่ วทิ ยาการภายนอกทีใ่ หก้ ารสนบั สนนุ ทางวชิ าการ 5.5 5.5
2.5 การกำหนดบทบาทหน้าที่ของบคุ ลากรภายในโรงเรียนให้รบั ผดิ ชอบ 10 10
11
2.6 การกำหนดบทบาทหนา้ ที่และแนวทางการมสี ่วนร่วมของบิดามารดา
ผู้ปกครอง องค์กร ชุมชนและอน่ื ๆ ใหร้ บั ผดิ ชอบ 11
2.7 การกำหนดการใชง้ บประมาณและทรพั ยากรอย่างมปี ระสิทธิภาพ 22
2.8 การจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี
3. การจดั ระบบบริหารและสารสนเทศ
3.1 โครงสร้างและระบบการบริหารงานของโรงเรยี นชดั เจน ครอบคลมุ ทกุ หน้าท่ี
ปฏบิ ตั ิงานไดค้ ล่องตวั ทนั สถานการณ์
3.2 คณะกรรมการบริหารโรงเรียน/คณะกรรมการอำนวยการโรงเรยี นไดท้ ำ
บทบาทหน้าที่ตามพระราชบัญญัตโิ รงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550
3.3 การดำเนนิ งานตามระบบการบรหิ ารงานของโรงเรยี น
รายการตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้
44
3.4 ระบบสารสนเทศมกี ารจัดเป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม ทนั ต่อการใชง้ าน
เปน็ ประโยชนต์ ่อการพฒั นาองคก์ ร บุคลากร และผเู้ รยี น 22
30 29.5
3.5 การนำขอั มลู และสารสนเทศไปใชป้ ระโยชน์ 11
4. การดำเนินงานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น 0.5 0.5
4.1 การให้ความร้เู ก่ียวกับระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาแกท่ ุกฝ่าย 0.5 0.5
4.2 การมอบหมายงานตามแผนปฏบิ ัติการประจำปี 24 23.5
4.3 การจดั ทำแผน/ปฏทิ ินปฏบิ ัติงาน/โครงการ/กจิ กรรมประจำปี
4.4 การปฏิบตั ิงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมท่ีกำหนดไวใ้ น 12.5 12.5
6.5 6.5
แผนปฏิบัติการประจำปี 4 3.5
4.4.1 แผนงาน/ฝ่ายวชิ าการ 11
4.4.2 แผนงาน/ฝ่ายบริหารท่ัวไป 22
4.4.3 แผนงาน/ฝ่ายบคุ ลากร
4.4.4 แผนงาน/ฝา่ ยงบประมาณและการเงิน 22
4.5 การกำกบั ติดตามการปฏิบตั งิ านตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมใน
แผนปฏิบัติการประจำปี 88
4.6 การประเมินผลตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี
11
5. การจัดให้มีการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 11
11
5.1 คณะกรรมการ/คณะทำงานติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา 11
5.2 เครื่องมือการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 11
5.3 การกำหนดระยะเวลาและแนวทางการดำเนนิ งาน 11
5.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 11
5.5 การวเิ คราะห์ ประเมนิ และสรปุ ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
5.6 การนำเสนอผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาตอ่ ผู้เก่ยี วข้อง 11
5.7 การตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีกับ
76
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียน 11
5.8 การนำผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาไปใช้ประโยชน์
0.5 0.5
6. การจดั ให้มกี ารประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น 22
6.1 คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร 22
6.2 การกำหนดปฏิทินการประเมินคุณภาพภายใน 1.5 1.5
6.3 การดำเนินการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
6.4 ระยะเวลาในการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น
6.5 การนำผลการประเมนิ คุณภาพภายในไปใชป้ ระโยชน์
รายการตามเกณฑ์การพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้
7.การจัดทำรายงานประจำปีทีเ่ ปน็ รายงานการประเมินคุณภาพภายใน 10 10
7.1 การจัดทำรายงานประจำปีทเี่ ปน็ รายงานการประเมินคุณภาพภายใน 22
7.2 สาระสำคัญของรายงานประจำปีครบถ้วน 55
7.3 การเสนอรายงานประจำปใี หค้ ณะกรรมการบริหารโรงเรียนพิจารณา 11
7.4 การเผยแพร่รายงานประจำปีให้ผู้เกย่ี วขอ้ งทราบ 11
7.5 การนำผลการประเมินคุณภาพภายในไปใช้ประโยชน์ 11
8. การจดั ให้มกี ารพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง 88
8.1 การดำเนินงานตามระบบการประกนั คณุ ภาพภายในจนเป็นวฒั นธรรม 44
คุณภาพในการทำงานปกตขิ องโรงเรียนอยา่ งตอ่ เน่อื ง
22
8.2 การใชข้ ้อมูลประกอบการพฒั นาการบริหารจดั การและการเรยี นการสอน
อยา่ งตอ่ เนื่อง 22
8.3 การเผยแพรผ่ ลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและแลกเปลยี่ นเรียนรูเ้ พ่ือ 100 94.5
ให้เกิดการพัฒนา
รวมทัง้ หมด
เพี่อให้การประเมินผลการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นเอกชนประเภทสามัญศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัดครัง้ นี้
สอดคล้องกบั คา่ น้ำหนัก (2.5 คะแนน) ของตวั บ่งช้ที ี่ 8 พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น
สังกัด ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ
มหาชน) จงึ ขอปรบั คะแนนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนนเป็นคะแนนเตม็ 5 คะแนน โดยนำคะแนนท่ีไดร้ วมทั้งหมดหารด้วย
20 ดงั นี้
คะแนนการตรวจติดตามประเมินผลการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น = ..…94….5… ÷ 20 = …4….7…2…5..
3. ปัญหาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
การตรวจตดิ ตามประเมินผลการจดั การศกึ ษาโรงเรียนเอกชนประเภทสามญั ศึกษา
สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน
เปิดสอนระดบั การศึกษาปฐมวยั
รายการตามเกณฑ์การพิจารณา คะแนนเตม็ คะแนนท่ไี ด้
10 10
1. การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น 2 2
1.1 การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียนมกี ารใชข้ ้อมลู ประกอบ 2 2
1.2 การกำหนดค่าเปา้ หมายของมาตรฐานและตัวบ่งชีช้ ดั เจนและเปน็ ไปได้ 2 2
1.3 องค์ประกอบของคณะกรรมการทก่ี ำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น 2 2
1.4 การประกาศคา่ เปา้ หมายแตล่ ะมาตรฐานและตวั บ่งช้ีว่าด้วยการประกนั
2 2
คุณภาพภายในของโรงเรยี นให้ผเู้ กย่ี วขอ้ งทราบ
1.5 สาระสำคัญที่กำหนดในมาตรฐานและตวั บ่งชี้สะท้อนอัตลกั ษณ์และ 20 19.5
2.5 2.5
มาตรการส่งเสรมิ ของโรงเรยี น 4 4
2. การจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน 3.5 3.5
2.1 การศึกษา วเิ คราะห์สภาพปญั หาและความต้องการท่จี ำเป็นอย่างเปน็ ระบบ 1 1
1 1
2.2 การกำหนดวิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั ชัดเจน เปน็ รปู ธรรม 1 1
2.3 วธิ ดี ำเนินงานมหี ลกั วชิ า ผลการวจิ ยั หรือขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษ์ท่ีอา้ งอิงได้ 2 2
เพอ่ื นำไปสมู่ าตรฐานการศึกษาของโรงเรียน 5 5
11 11
2.4 การกำหนดแหลง่ วทิ ยาการภายนอกท่ีให้การสนบั สนนุ ทางวิชาการ 2 2
2.5 การกำหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรภายในโรงเรยี นให้รบั ผิดชอบ 2 2
2.6 การกำหนดบทบาทหนา้ ทแ่ี ละแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดามารดา 5 5
ผูป้ กครอง องค์กร ชมุ ชนและอ่นื ๆ ใหร้ ับผิดชอบ 2 2
2.7 การกำหนดการใชง้ บประมาณและทรัพยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2.8 การจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี
3. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
3.1 โครงสร้างและระบบการบรหิ ารงานของโรงเรยี นชดั เจน ครอบคลุมทกุ หน้าที่
ปฏบิ ตั ิงานได้คลอ่ งตัว ทนั สถานการณ์
3.2 คณะกรรมการบริหารโรงเรยี น/คณะกรรมการอำนวยการโรงเรยี นไดท้ ำ
บทบาทหน้าท่ตี ามพระราชบญั ญตั ิโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550
3.3 การดำเนนิ งานตามระบบการบรหิ ารงานของโรงเรียน
3.4 ระบบสารสนเทศมีการจัดเป็นหมวดหมู่ ครอบคลมุ ทันตอ่ การใช้งาน
เปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กร บุคลากร และผ้เู รียน
รายการตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนนเต็ม 2
4. การดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น 11 คะแนนทไ่ี ด้
4.1 การมอบหมายงานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 0.5
4.2 การจัดทำแผน/ปฏิทนิ ปฏิบตั ิงาน/โครงการ/กจิ กรรมประจำปี 0.5 11
4.3 การปฏบิ ัติงานตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมที่กำหนดไว้ใน 3 0.5
0.5
แผนปฏิบัติการประจำปี 3
4.4 การกำกบั ตามการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมใน
33
แผนปฏบิ ัติการประจำปี
4.5การประเมนิ ผลตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 44
5. การจัดใหม้ ีการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา 10 10
5.1 การตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา 7 7
5.2 การนำผลการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาไปใช้ประโยชน์ 3 3
6. การจัดใหม้ ีการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน 10 9
6.1 คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร 2 1
6.2 การกำหนดปฏทิ ินการประเมนิ คุณภาพภายใน 1 1
6.3 การดำเนนิ การประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน 3 3
1 1
6.4 ระยะเวลาในการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน 3 3
6.5 การนำผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในไปใชป้ ระโยชน์ 10 10
7.การจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคณุ ภาพภายใน
2 2
7.1 การจดั ทำรายงานประจำปีทเ่ี ป็นรายงานการประเมินคณุ ภาพภายใน 5 5
7.2 สาระสำคัญของรายงานประจำปคี รบถ้วน 1 1
7.3 การเสนอรายงานประจำปีใหค้ ณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนพจิ ารณา 1 1
7.4 การเผยแพร่รายงานประจำปใี ห้ผู้เก่ยี วข้องทราบ 1 1
7.5 การนำผลการประเมนิ คุณภาพภายในไปใชป้ ระโยชน์ 8 8
8. การจัดใหม้ กี ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
4 4
8.1 การดำเนนิ งานตามระบบการประกันคณุ ภาพภายในจนเปน็ วฒั นธรรม
คุณภาพในการทำงานปกติของโรงเรียนอยา่ งต่อเน่ือง 2 2
8.2 การใช้ข้อมูลประกอบการพฒั นาการบริหารจัดการและการเรยี นการสอน 2 2
อย่างตอ่ เนือ่ ง
10 10
8.3 การเผยแพร่ผลการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและแลกเปลี่ยนเรยี นรเู้ พ่ือ 100 98.5
ใหเ้ กิดการพฒั นา
9. ผลการประเมินภายนอกรอบสาม จาก สมศ.
รวมท้งั หมด
3
สรปุ ภาพรวมของโรงเรียน คะแนนทีไ่ ด้ 98.5 คะแนน ( คะแนนเตม็ 100 คะแนน )
ระดับคณุ ภาพ √ ดีมาก คะแนน 90.00 - 100
ระดบั คณุ ภาพ ดี คะแนน 75 – 89.99
ระดับคณุ ภาพ พอใช้ คะแนน 60 – 74.99
ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง คะแนน 50 – 59.99
ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ เร่งด่วน คะแนน 0 – 49.99