The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
Self Assessment Report : SAR
ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนพีระยา นาวิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พีระยา นาวิน, 2023-06-15 23:04:27

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปี 2565

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
Self Assessment Report : SAR
ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนพีระยา นาวิน

Keywords: โรงเรียนพีระยา นาวิน,SAR2565

สังกัด สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ในอุปถัมภ์ของพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี โรงเรียนพีระยา นาวิน รายงานผล การประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ป การศึกษา ๒๕๖๕


รายงานผลการประเมินตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 โรงเรียน พีระยา นาวิน ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี รหัสโรงเรียน 1110100504 31/2 หมู่ที่ - ถนน พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 029407004 โทรสาร 029407010 สังกัด สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ


รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) สรุปผลการประเมินในภาพรวม โรงเรียนพีระยา นาวิน ตั้งอยู่เลขที่ 31/2 ซอยพหลโยธิน 47 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร จังหวัดกรุงเทพมหานคร สังกัดสํานั กงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นเตรียมอนุบาล จนถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีครูและ   บุคลากรทาง การศึกษา จํานวน 56 คน และนักเรียนจํานวนทั้งสิ้น 525 คน  ได้ดําเนินงานด้านการสร้างความเข็มแข็งตามระบบประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยได้ดําเนินงานตาม กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และมีผลการดําเนินงาน ดังนี้ โรงเรียนจัดการศึกษาปฐมวัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์มีพัฒนาการสมวัย สมดุลทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์– จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ใช้กิจกรรม ดนตรีกิจกรรมเคลื่อนไหวด้วยเพลง เป็นกิจกรรมที่สามารถส่งเ สริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์–จิตใจ สังคมและสติปัญญา ส่งผลให้เด็กมีสุนทรียภาพและมีลักษณะนิสัยชื่นชอบในด้านศิล ปะ ดนตรีการ เคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะของเพลงจะช่วยให้เด็กมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีส่งเสริมการจัดกิจกรรม ส่งเสริ มด้านสุขภาพของร่างกายของเด็ก กิจกรรมที่ส่งเสริม ปลูกฝังและ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ให้กับ เด็กปฐมวัยทุกด้าน โดยเฉพ าะอย่างยิ่งระเบียบวินัยความรับผิดชอบ หลักธรรมเบื้องต้นทางศาสนา ความ ซื่อสัตย์สุจริต ความกตัญญูกตเวทีเมตตากรุณามี นํ้าใจ ความเสียสละและการประหยัดอดออม เพื่อฝึกฝน และพัฒนาพฤติกรรมและจิตใจ ของเด็กปฐมวัยให้สามารถปฏิบัติตามก ฎเกณฑ์ของโรงเรียน พร้อมทั้ง มุ่งเน้นให้เด็กประพฤติปฏิบัติตนในชีวิตประจําวันในทางที่ดีและถูกต้อง สามารถอยู่ในสังคมร่วมกั บผู้อื่นอย่างมีความสุข ร่วมกันวางแผนการดําเนินการในการจัดการศึกษาในปีการศึกษาปัจจุบัน ให้สอดคล้องกับ ปรัชญา วิสัยทั ศน์และพันธกิจ โดยใช้หลักการ ดําเนินงานแบบการมีส่วนร่วมของบุคลากร คณะกรรมการ บริหาร และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งส ะท้อนในรูปของการดําเนินงานแบบจากบนสู่ล่างในรูปของนโยบาย   หลักเกณฑ์วิธีการจากล่างสู่บน หาแนวทางในการจัดโครง การและวางแผนการดําเนินการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยและขั้น พื้นฐานเป็นกรอบในการดําเนินงานซึ่งผลจากการดําเนินงานดังกล่าวทําให้โรงเรียน   ทราบจุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุงและใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาโรงเรียน โดยมีแผนปฏิบัติการประจําปีเป็นแผนการในการ  กําหนดแนวทางปฏิบัติครูสามารถจัดกิจกรร มสร้างเสริมประสบการณ์ให้กับเด็กที่หลากหลาย สามารถจัดกิจกรรมได้เหมาะสม กับวัยคํานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้านร่างกาย   อารมณ์สังคม และสติปัญญาแก่เด็ก จัดทําแ ผนการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสําคัญสามารถสร้าง พัฒนา และใช้เครื่องมือในการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างห ลากหลาย จัดสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลาสรุปรายงานผลพัฒนาการของ เด็กแก่ผู้ปกครองจัดทําข้อมูลสารนิเทศและนํา ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก  สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แล ะเป็นแบบอย่างที่ดีต่อเด็ก ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อุทิศตน ทุ่มเท  แรงกาย แรงใจในการการปฏิบัติงาน และมุ่ง มั่นพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพ หน้า 2 จาก 62


ตอนที่ 1 : การนำเสนอผลการประเมินตนเอง ระดับปฐมวัย 1. มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม 1. มีพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ยอดเยี่ยม 2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ยอดเยี่ยม 3. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยอดเยี่ยม 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ยอดเยี่ยม 2. จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ยอดเยี่ยม 3. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม 4. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม 5. ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม 6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ยอดเยี่ยม 2. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ยอดเยี่ยม 3. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับวัย ยอดเยี่ยม 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบก ารณ์และพัฒนาเด็ก ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับปฐมวัย ยอดเยี่ยม 2. หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ 1. รายงานการบันทึกการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ของเด็กระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2565 2.  รายงานการตรวจสุขภาพเด็กประจำปี 3. รายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 4.  รายงานผลการประเมินพัฒนาการ 4 ด้าน ปีการศึกษา 2565 5.  แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2565 หน้า 3 จาก 62


6.  แผนปฏิบัติการประจำปีระดับการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2565 7.  ประกาศมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2565 8.  คู่มือพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ตามกฎกระทรวง 2561 ระดับปฐมวัย 9.  หลักสูตรสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนพีระยานาวิน 10. แผนอัตรากําลัง ระดับการศึกษาปฐมวัย 11.  คำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติหน้าที่ ปีการศึกษา 2565 12.  รายงานการพัฒนาจุดเน้นของโรงเรียน ระดับการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2565 13.  รายงานผลการประเมินโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีระดับการศึกษาปฐมวัย 14.  แผนการจัดประสบการณ์ของครูรายบุคคลและบันทึกหลังสอน 15.  ผลการประเมินโครงการตามแผนปฏิบัติการระดับการศึกษาปฐมวัยประจำปี 2565 16. รายงานการพัฒนาตนเอง อบรมสัมมนา ปีการศึกษา 2565 3. โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานที่ดีขึ้นกว่าเดิม 1 ระดับ แผนปฏิบัติงานที่ 1     ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กอย่างต่อเนื่อง โดยยึดหลัก สูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2560 แผนปฏิบัติงานที่ 2      พัฒนาและสร้างแหล่งเรียนภายในห้องเรียน และสถานศึกษาให้มีความหลากหลาย เพื่อส่งเสริมพัฒนา การเด็ก กระตุ้นให้เด็กคิดและเกิดการเรียนรู้ แผนปฏิบัติงานที่ 3      สร้างโอกาส จัดหารแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน การทัศนศึกษานอกสถานที่ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเ ด็ก กระตุ้นให้เด็กคิดและเกิดการเรียนรู้ แผนปฏิบัติงานที่ 4      จัดทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียน โดยนำผลการวิจัยมาปรับใช้และเพื่อเป็นแนวทางพั ฒนาผู้เรียนในด้านต่างๆ แผนปฏิบัติงานที่ 5      พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้และความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์และภาษาอัง กฤษ รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะ การคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผลเป็นขั้นตอน แผนปฏิบัติงานที่ 6      จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กได้ฝึกทักษะชีวิตการเอาตัวรอดในการดำรงชีวิตประจำวัน ปฏิบัติตนใน การดูแลรักษาสุขภาพให้ปลอดภัยภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 4. นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation/Best Practice) 1. นวัตกรรม การจัดศูนย์การเรียนรู้ ครอบคลุมพัฒนาการด้านร่างกาย, อารมรณ์-จิตใจ , สังคม และสติปัญญา 2. นวัตกรรม มอนเตสซอรี่ตามแนววิถีพุทธ 3. นวัตกรรมการผลิตของเล่นและเกมเพื่อพัฒนาผู้เรียนการ 4. นวัตกรรม การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน 5. นวัตกรรม การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน 6. นวัตกรรม การจัดทำวิจัยในชั้นเรียน หน้า 4 จาก 62


5. ความโดดเด่นของสถานศึกษา 1. กิจกรรม ยุวPN - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - - 2. กิจกรรมมอนเตสซอรี่ ตามวิถีพุทธ - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - - 3. ครูจัดการเรียนการสอนแบบคู่ขนานภายใต้สถานการณ์Covid-19 ปีการศึกษา 2565 - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - - 4. ฐานกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานของผู้เรียน - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - - 5. มีความโดดเด่นในด้านคุณภาพเด็ก บริหารและจัดประสบการณ์เด็กที่ เป็นต้นแบบให้สถานศึกษาอื่นมาศึกษาดูงานสม่ำเสมอ และเป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติการวิชาชีพ แก่นิสิตคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - - 6. ศูนย์ผลิตของเล่นเพื่อการพัฒนาเด็ก ผลิตของเล่นหลากหลายเพื่อส่งเสริม พัฒนาทักษะต่างๆของผู้เรียน - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค (C1) - - 6. คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 6.1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี 6.1.1. มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ 6.1.2. มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต 6.1.3. มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 6.1.4. มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย 6.1.5. มีทักษะชีวิต 6.2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคงมั่งคั่ง และยั่งยืน 6.2.1. มีทักษะทางปัญญา 6.2.2. ทักษะศตวรรษที่ 21 6.2.3. ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) 6.2.4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 6.2.5. ทักษะข้ามวัฒนธรรม หน้า 5 จาก 62


6.2.6. สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 6.2.7. มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 6.3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข 6.3.1. มีความรักชาติ รักท้องถิ่น 6.3.2. รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 6.3.3. มีจิตอาสา 6.3.4. มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค หน้า 6 จาก 62


ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดี 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณ ดี 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปั ญหา ดีเลิศ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดี 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ดีเลิศ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ดีเลิศ 6. มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ดีเลิศ 7. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ดีเลิศ 8. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ดีเลิศ 9. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ดีเลิศ 10. สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ดี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี 1. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ดี 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดี 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ดี 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ กำลังพัฒนา 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ ดี มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ดี 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ ดีเลิศ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ดี 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน ดีเลิศ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ดี สรุปผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดี หน้า 7 จาก 62


2. หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นสําคัญ 2. การส่งเสริมให้ครูเห็นความสําคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ การจัดทํา การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เ รียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ 3. การพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ย วชาญทางวิชาชีพ และนํากระบวนการของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของ  ผู้เรียน 4. ครูทุกคนทําวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1-2 เรื่อง 5. ส่งเสริมและสนับสนุนครูให้มีการพัฒนาตนเองในการเข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง และเป็นข้อมูลหลักฐานเพื่อควา มต้องการในวิชาชีพครู โดยเฉพาะพัฒนาทักษะพื้นฐาน 6. สถานศึกษานําภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลายให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น 7. การพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต และให้บริการของชุมชนการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ข องชุมชน 3. โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานที่ดีขึ้นกว่าเดิม 1 ระดับ 1. แผนปฏิบัติงานที่ 1 โครงการรักการอ่าน 2. แผนปฏิบัติงานที่ 2 โครงการ PN Festival 3. แผนปฏิบัติงานที่ 3 โครงการออมทรัพย์ 4. แผนปฏิบัติงานที่ 4 โครงการธนาคารขยะ 5. แผนปฏิบัติงานที่ 5 โครงการค่ายธรรมะ 6. แผนปฏิบัติงานที่ 6 โครงการ PN. Youth Camp 7. แผนปฏิบัติงานที่ 7 โครงการ Reading 8. แผนปฏิบัติงานที่ 8 โครงการทัศนศึกษา 9. แผนปฏิบัติงานที่ 9  โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพครู แนวทางการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนพีระยา นาวิน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  ( COVID-19)  4. นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation/Best Practice) 1. โครงการฐานกิจกรรมวิชาการบูรณาการ 8 กลุ่มสาระ 2. โครงการออมทรัพย์ 5. ความโดดเด่นของสถานศึกษา 6. คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 6.1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี หน้า 8 จาก 62


6.1.1. มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ 6.1.2. มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต 6.1.3. มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 6.1.4. มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย 6.1.5. มีทักษะชีวิต 6.2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคงมั่งคั่ง และยั่งยืน 6.2.1. มีทักษะทางปัญญา 6.2.2. ทักษะศตวรรษที่ 21 6.2.3. ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) 6.2.4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 6.2.5. ทักษะข้ามวัฒนธรรม 6.2.6. สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 6.2.7. มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 6.3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข 6.3.1. มีความรักชาติ รักท้องถิ่น 6.3.2. รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 6.3.3. มีจิตอาสา 6.3.4. มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค ลงชื่อ........................................ (........นางสุธิดา ซื่อแท้........) ตําแหน่ง ผู้อํานวยการ หน้า 9 จาก 62


ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐาน 1. โรงเรียน (School Name) : พีระยา นาวิน ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี รหัสโรงเรียน (School Code) : 1110100504 ที่อยู่ (Address) : 31/2 อาคาร (Bldg) : หมู่ที่ (Village No.) : - ตรอก (Alley) : ซอย (Lane) : พหลโยธิน 47 ถนน (Street) : พหลโยธิน ตำบล/แขวง (Sub-district) : ลาดยาว อำเภอ/เขต (District) : จตุจักร จังหวัด (Province) : กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ (Post Code) : 10900 โทรศัพท์ (Tel.) : 029407004 โทรสาร (Fax.) : 029407010 อีเมล (Email) : pirayanavin2554@gmail.com เว็บไซต์ (Website) : http://pirayanavin.org ไลน์ (Line) : เฟซบุ๊ก (Facebook) : https://pirayanavinschool 2. ระดับที่เปิดสอน ปกติ (สามัญศึกษา) : เตรียมอนุบาล, อนุบาล, ประถมศึกษา English Program : หน้า 10 จาก 62


3. ประวัติโรงเรียน 1.1  ประวัติความเป็นมาของโรงเรียน          พีระยา  นาวิน  เป็นชื่อของศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยอายุ   2 - 6  ปี   อยู่ในอุปถัมภ์ของพีระยานุเคราะห์มูลนิธิในพระอุป ถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี   ทีมาของชื่อ “ พีระยา นาวิน ”  มาจากชื่อนามสกุลของท่านกรรมการบริหารพี ระยานุเคราะห์มูลนิธิ ฯ  2 ท่าน “พีระยา” มาจากชื่อของผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการบริหารกิตติมศักดิ์ แพทย์หญิง ดร.คุณหญิงเพียร เวชบุล    ( พ.ศ.2481 - 2527 ) “นาวิน”  มาจากสองพยางค์สุดท้ายของนามสกุล ศาสตราจารย์  ดร.อุกฤษ  มงคลนาวิน  ประธานกรรมการบริหาร  พีระยานุเ คราะห์มูลนิธิ ฯ   (  พ.ศ. 2527 – ปัจจุบัน  ) สถานศึกษา พีระยา  นาวิน   ได้เปิดทำการรับเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กอายุ  2  -  6  ปี  จากครอบครัวที่มีรายได้น้อยเริ่ ม   เมื่อปี  พ.ศ. 2527   โดยตั้งอยู่ตามแหล่งชุมชนที่ผ่านการสำรวจ และคัดเลือกตามกฎเกณฑ์ของพีระยานุเคราะห์มูลนิธิฯ   ไ ด้แก่   เด็กจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย    พ่อแม่ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับเด็ก และเอาใจใส่   ผู้นำชุมชนให้ความร่วมมือ  แล ะสนับสนุน          ศาสตราจารย์   ดร.อุกฤษ    มงคลนาวิน     ได้พิจารณาเห็นว่าสถานะทางสังคม    เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมปัจจุบันทำ ให้    พ่อ – แม่ – ปู่ - ย่า – ตา - ยาย    หรือผู้ปกครองเด็ก   ต้องละทิ้งครอบครัวไปทำมาหากินหรือดำรงชีวิตในถิ่นฐานอื่น   เ พื่อหารายได้เลี้ยงดูครอบครัว          วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เป็นตัวการสำคัญประการหนึ่งในการทำลายเด็กโดยไม่รู้ตัว ได้แก่ ภาวะที่ พ่อ - แม่ต้องออกไปทำงา นโดยทิ้งเด็กอยู่บ้านตามลำพัง  หรือภาวะที่ต้องนำเด็กไปยังสถานที่ทำงาน เช่น ตามสถานที่ก่อสร้าง ตลอดจนการตระเวนขายข องด้วยรถเข็น โดยมีเด็กนอนอยู่ใต้รถเข็นนั้น ซึ่งเป็นปัญหา  ครอบครัวที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเด็กอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้การ ที่ พ่อ - แม่ หรือ ผู้ปกครองไม่มีเวลาเลี้ยงดูลูกของตนเองอย่างใกล้ชิด  โดยเฉพาะครอบครัวที่มีรายได้น้อย หรือครอบครัวที่ลูกมี “ พ่อ ” หรือ “ แม่ ”   เพียงคนเดียวจากครอบครัวที่แตกแยก หรือไม่มีทั้งพ่อและแม่ที่จะให้การอบรมเลี้ยงดูทำให้เด็กกลายเป็ น “ เด็กมีปัญหา ” กระทบต่อความสงบสุข และความปลอดภัยของสังคมในทางการแพทย์และทางจิตวิทยาพัฒนาการของเด็ก ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ การเรียนรู้การพัฒนาบุคลิกภาพ และพฤติกรรม ต้องได้รับการปลูกฝังอย่างถูกต้องในช่วงวัยของเด็กก่อ นวัยเรียนอายุระหว่าง 2-5 ปี           ดังนั้นในปีพ.ศ. 2533  มูลนิธิฯ จึงได้ริเริ่มโครงการรับเลี้ยงเด็กปฐมวัย อายุ2 - 5 ปี  โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด  เพื่อช่วยเหลือครอบครัวที่มีรายได้น้อย  ( อาจบริจาคให้มูลนิธิฯ  จำนวนเล็กน้อยตามความสมัครใจ  เพื่อแสดงถึงการมีส่วนร่วม แต่เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันของมีราคาสูงขึ้น จึงขอรับบริจาคจากผู้ปกครอง โดยให้มีส่วนร่วม  แต่ถ้าครอบครัวที่เดือดร้อ นจริงก็ไม่ต้องบริจาค  โดยศูนย์ฯ ในกรุงเทพมหานคร บริจาคเป็นรายวัน  วันละไม่เกิน 30 บาท ส่วนต่างจังหวัด วันละ 10 – 20 บาท หรือนำข้าวสาร  ผลไม้  มาให้ศูนย์ฯ ตามกำลัง  การเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน ของสถานรับเลี้ยงเด็กปฐมวัย “ พีระยา นาวิน ” จึงเกิดขึ้นตามแนวทางของประธานกรรมการบริหารฯโดยให้หลักการว่าเด็กต้องได้รับการเอาใจใส่ด้วยความรัก ด้วยความเข้าใ จ และด้วยความเมตตา และได้วางกฎเกณฑ์   ห้ามครูทำโทษเด็กด้วยการเฆี่ยนตีโดยเด็ดขาด            โรงเรียนพีระยา  นาวิน เดิมเป็นสถานรับเลี้ยงเด็กพีระยา นาวิน ตั้งแต่วันที่ พ.ศ. 2533 ได้รับอนุญาตจัดตั้งขึ้นเป็นโรงเ รียน  วันที่ 16  พฤษภาคม 2544 เลขที่ 31/2 ซอยพหลโยธิน  แขวงลาดยาว  เขตจตุจักร   กรุงเทพมหานคร  10900  มีเขตบ ริหารที่ส่งบุตรหลานเข้าเรียน  10  ชุมชน   ดังนี้ 1. ชุมชนโรงช้อน 2. ชุมชนประดิษฐ์โทรการ  ซอย 47,49 หน้า 11 จาก 62


3. ชุมชนโรงสูบ (ม.เกษตร)         4. ชุมชนบางบัว      5. ชุมชนเสนานิคม 6. อำเภอลำลูกกา          7. กรมวิทยาศาสตร์ 8. กรมทหารราบที่ 11    9.  กรมป่าไม้     10. กรมยุทธแยกมหาวิทยาลัยเกษตร   โรงเรียนพีระยา นาวิน อยู่ในเนื้อที่ของพีระยานุเคราะห์มูลนิธิฯ โดยท่านประธานกรรมการบริหารมูลนิธิฯ   คือ ศาสตร าจารย์ดร.อุกฤษ  มงคลนาวิน  ผู้ริเริ่มโครงการเลี้ยงดูเด็กอายุ  2 – 6  ปีเพื่อช่วยเหลือครอบครัวที่มีรายได้น้อย  หรือครอบครั วที่ได้รับความเดือดร้อน การเลี้ยงดู  และพัฒนาเด็ก ได้รับการยอมรับ และชื่นชมว่าเป็นเด็กที่มีระเบียบ,มีวินัย, มีคุณธรรมและจ ริยธรรม  ซึ่งสร้างความภาคภูมิใจและความประทับใจต่อครูและผู้ปกครองเป็นอย่างยิ่ง  จากปากต่อปาก เล่าต่อกัน  ทำให้มีผู้น ำบุตรหลานมาฝากเลี้ยงดู  และพัฒนาเด็กเพิ่มอีกจำนวนมากในบริเวณเนื้อที่   2  ไร่  13  งาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรร ม ของชุมชนรอบโรงเรียนและชุมชนที่ประชาชนส่งบุตรหลานเข้าเรียนที่โรงเรียน         โรงเรียนพีระยา  นาวิน มีชุมชนในเขตบริการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในโรงเรียน  10 ชุมชน ชุมชนนอกเขตบริการ 1 ชุมช น  คืออำเภอลำลูกกา ห่างจากจังหวัด  15  กิโลเมตร ประชาชนนับถือศาสนาพุทธ การจัดการศึกษา  โรงเรียนพีระยา  นาวิน จัดการศึกษา 2 ระดับ คือ           1.  ระดับปฐมวัยศึกษา อายุ 2  -  6  ปี           2.  ระดับประถมศึกษา อายุ 7  -  13 ปี       หน้า 12 จาก 62


4. ข้อมูลพื้นฐานแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ปรัชญา นิมิตตัง           สาธุรูปานัง                 กตัญญู  กตเวทิตา           ความกตัญญู     เป็นเครื่องหมายของคนดี วิสัยทัศน์ พีระยา นาวิน                  มุ่งพัฒนา             ถ่ายทอดวิชา                  ได้มาตรฐาน สร้างเด็กไทย                 ให้สมบูรณ์กายใจ    มีความรู้คู่คุณธรรม         ดำรงชีวิตอย่างปกติสุข พันธกิจ              1. ปลูกฝังสุขนิสัย  มีระเบียบวินัย คุณธรรมและจริยธรรมที่ดีให้กับเด็ก รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาด้านร่างกาย   อาร มณ์  จิตใจ  สังคม  และสติปัญญาให้กับเด็ก              2. จิตใจอันแจ่มใส ในร่างกายอันสมบูรณ์  สติปัญญาจะเพิ่มพูน  พ่อ แม่หนุน ครูนำพา  3. สร้างความรักในเด็กก่อน จึงค่อยฝึกเด็ก ทุกคนไม่ได้เก่งมาแต่แรกเกิดแต่เก่งเพราะขยันฝึก พ่อ-แม่และครู ต้องเป็ นผู้ฝึกเด็กที่ดี                  พีระยา  นาวิน ไม่ได้สอนให้เด็กเก่งและแก่งแย่ง  แต่สอนให้เด็ก รู้–เข้าใจ คิดเป็น แยกแยะดี–ชั่วได้  เป็นคนดีและมีความสุข  เป้าหมาย ปลูกฝังสุขนิสัย   มีระเบียบวินัย  คุณธรรมและจริยธรรมที่ดีให้กับเด็กขอบข่ายการบริหาร และจัดการ สถานศึกษาของ พีระยา นาวิน รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาให้กับเด็ก                    1. เด็กมีพัฒนาการแบบบูรณาการครบทุกด้าน                    2. เด็กมีความพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นต่อไป                   3. เป็นแหล่งรวบรวมและเผยแพร่วิชาการศึกษา  ค้นคว้า  แหล่งวิจัย  และการพัฒนาเด็ก           4.1 คุณภาพนักเรียน                     1. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม   วินัย รักและเน้นคุณค่าของตนเอง                     2. นักเรียนมีความรู้ความสามารถทางวิชาการ                    3. นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง จิตใจแจ่มใสและมีสุนทรียภาพด้านศิลปะดนตรี และกีฬา                     4. กล้าคิด กล้าแสดงออก 5. นักเรียนมีความรู้ความสามารถทางวิชาการและมีส่วนร่วม กิจกรรมสร้างสรรค์วัฒนธรรมต่างๆ ในประเทศแล ะต่างประเทศ           4.2 การบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ                     1.  การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตร                     2. การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ                     3. การพัฒนาระบบการวัดและการประเมินผลการเรียน                     4. การผลิตการใช้การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้    หน้า 13 จาก 62


                    5. การจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน                     6. การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้           4.3  การบริหารการจัดการ                     1.การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ                     2. การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา                     3. การบริหารงบประมาณและการบริหาร                     4. การบริหารงานอาคารสถานที่           4.4 ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับ ผู้ปกครองและชุมชน                     1. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนต่อการจัดการศึกษา                     2. การมีส่วนร่วมของสถานศึกษาต่อการพัฒนาท้องถิ่น และชุมชน           4.5 บุคลากรและการบริหารงานบุคลากร                     1.  ผู้บริหาร                     2. คุณลักษณะของครูผู้สอน                     3. คุณลักษณะของบุคลากรสนับสนุน                     4.  การบริหารงานบุคลากร           4.6  ความเป็นเอกลักษณ์อัตลักษณ์ของสถานศึกษา และนวัตกรรมงานโสตทัศนศึกษา                   1.  โครงการของสถานศึกษา                  2.  ผลงานจากการดำเนินเอกลักษณ์อัตลักษณ์ของสถานศึกษาและนวัตกรรมงานโสตทัศน์ศึกษา ยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน คนอื่นใครเล่า  จะเป็นที่พึ่งได้จริงแท้  มีตนที่ฝึกดีแล้ว เป็นที่พึ่งที่หาได้ยาก กลยุทธ์ของโรงเรียน กลยุทธ์ที่ 1  พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเค รื่องมือในการเรียนรู้   กลยุทธ์ที่2  ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญ าของเศรษฐกิจพอเพียงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม                               กลยุทธ์ที่ 3  ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ กลยุทธ์ที่ 4  พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ  กลยุทธ์ที่ 5  พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางการกระจายอำนาจทางการศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐ  ภาคเอกชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาแ ละพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล เอกลักษณ์ นวัตกรรมหรือตัวอย่างการปฏิบัติที่ดี  ( Good Practice ) ของสถานศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม โรงเรียนมีโครงการ ดังนี้ - ผลิตสื่อที่ทำจากไม้ในรูปของจิกซอ และสื่อตัวต่อต่างๆ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์ตามจินตน หน้า 14 จาก 62


าการของตนเอง     - โครงการทันตกรรมชุมชน จากนิสิตคณะทันตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - โครงการความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาเด็กและการพัฒนาครู  กิจกรรมนิสิตฝึกปฏิบัติการสอนในโรงเรียน พีระยา นาวิน ระดับปฐมวัย อัตลักษณ์  สถานศึกษาจะพัฒนาเด็กให้เป็นตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา จ นเกิดเป็นอัตลักษณ์ตามที่กำหนด คือ “ผู้เรียนมีความกตัญญู” มีคุณภาพอยู่ในระดับดีดังนั้นสถานศึกษาควรพัฒนายกระดับคุณ ภาพ    คุณลักษณะผู้เรียนด้านความกตัญญูรู้คุณให้เป็นภาพสะท้อนอัตลักษณ์ของผู้เรียนในภาพรวมทั้งหมดของสถานศึกษา โด ยการมีส่วนของคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาและชุมชน หน้า 15 จาก 62


5. จำนวนนักเรียน จํานวนผู้เรียน ปกติ จํานวนผู้เรียนท่ีมี ระดับท่ีเปิดสอน ความต้องการพิเศษ การจัดการเรียน การสอน จำนวน ห้องเรียน ชาย หญิง ชาย หญิง รวม ระดับเตรียมอนุบาล เตรียมอนุบาล ห้องเรียนปกติ 1 13 25 0 0 38 รวม ห้องเรียนปกติ 1 13 25 0 0 38 ระดับก่อนประถมศึกษา อนุบาลปีที่ 1 ห้องเรียนปกติ 3 48 44 0 0 92 อนุบาลปีที่ 2 ห้องเรียนปกติ 3 54 43 0 0 97 อนุบาลปีที่ 3 ห้องเรียนปกติ 3 44 49 0 0 93 รวม ห้องเรียนปกติ 9 146 136 0 0 282 ระดับประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 ห้องเรียนปกติ 1 18 27 0 0 45 ประถมศึกษาปีที่ 2 ห้องเรียนปกติ 1 25 22 0 0 47 ประถมศึกษาปีที่ 3 ห้องเรียนปกติ 1 15 26 0 0 41 ประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนปกติ 1 21 18 0 0 39 ประถมศึกษาปีที่ 5 ห้องเรียนปกติ 1 13 20 0 0 33 ประถมศึกษาปีที่ 6 ห้องเรียนปกติ 1 14 21 0 0 35 รวม ห้องเรียนปกติ 6 106 134 0 0 240 รวมทั้งสิ้น ห้องเรียนปกติ 16 265 295 0 0 560 หน้า 16 จาก 62


6. จำนวนผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา 6.1. ผู้บริหารสถานศึกษา - นางสุธิดา ซื่อแท้ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน เบอร์โทรศัพท์ 0865319479 6.2. จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา (เฉพาะที่บรรจุเท่านั้น) 6.2.1. สรุปจำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จำแนกวุฒิการศึกษาและประเภท/ตำแหน่ง จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา ประเภท/ตำแหน่ง ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก รวม ผู้สอนเตรียมอนุบาล 1. ครูไทย 1 0 0 0 0 1 2. ครูชาวต่างชาติ 0 0 0 0 0 0 ผู้สอนก่อนประถมศึกษา 1. ครูไทย 4 6 0 0 0 10 2. ครูชาวต่างชาติ 0 0 0 0 0 0 ผู้สอนประถมศึกษา 1. ครูไทย 1 9 0 1 0 11 2. ครูชาวต่างชาติ 0 0 0 0 0 0 รวม 6 15 0 1 0 22 บุคลากรทางการศึกษา 1. บรรณารักษ์ 0 0 0 0 0 0 2. งานแนะแนวทั่วไป 0 0 0 0 0 0 3. เทคโนโลยีการศึกษา 0 0 0 0 0 0 4. งานทะเบียนวัดผล 0 0 0 0 0 0 5. บริหารงานทั่วไป 0 0 0 0 0 0 รวม 0 0 0 0 0 0 บุคลากรอื่น 1. พี่เลี้ยง 0 0 0 0 0 0 2. บุคลากรอื่นๆ 0 4 0 0 0 4 หน้า 17 จาก 62


จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา ประเภท/ตำแหน่ง ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก รวม รวม 0 4 0 0 0 4 รวมทั้งสิ้น 6 19 0 1 0 26 สรุปอัตราส่วน สรุปอัตราส่วน จํานวนห้อง จํานวนนักเรียน จํานวนครู จํานวนผู้เรียนต่อครู จํานวนผู้เรียนต่อห้อง ระดับเตรียมอนุบาล 1 38 1 38:1 38:1 ระดับอนุบาล 9 282 10 29:1 32:1 ระดับประถมศึกษา 6 240 11 22:1 40:1 หน้า 18 จาก 62


6.2.2. จำนวนครูจำแนกตามระดับและกลุ่มสาระการเรียนรู้ จํานวนครูผู้สอน ระดับ ตรงวุฒิ ไม่ตรงวุฒิ รวม ปฐมวัย 0 1 1 จํานวนครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตรงวุฒิ ไม่ตรงวุฒิ ตรงวุฒิ ไม่ตรงวุฒิ รวม ภาษาไทย 2 0 0 0 2 คณิตศาสตร์ 0 1 0 0 1 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 0 1 0 0 1 สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 0 2 0 0 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 0 0 0 0 0 ศิลปะ 0 0 0 0 0 การงานอาชีพ 0 3 0 0 3 ภาษาต่างประเทศ 0 1 0 0 1 รวม 2 8 0 0 10 6.2.3. ตารางสรุปจำนวนครูที่สอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จํานวนครูผู้สอน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา รวม กิจกรรมนักเรียน     - ลูกเสือ 12 0 12     - เนตรนารี 12 0 12     - ยุวกาชาด 0 0 0     - ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 12 0 12     - รักษาดินแดน (ร.ด.) 0 0 0     - กิจกรรมชุมนุม ชมรม 13 0 13 กิจกรรมแนะแนว 6 0 6 กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ 12 0 12 หน้า 19 จาก 62


ส่วนที่ 3 : ผลการดำเนินงาน 1. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 1.1. ระดับปฐมวัย ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ โครงการ : อบรมพัฒนาศักยภาพครู เป้าหมายเชิงปริมาณ : 80.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : 1.ครูทุกคนได้เข้าร่วมสัมนาและนำความรู้ที่ได้รับไปจักการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ครูทุกคนได้รับการอบรมสัมนาออนไลน์ ไม่ต่ำกว่า 20 ชั่วโมง/ปี ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 80.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูทุกคนได้รับความรู้จากการอบรมสัมนาและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน หน้า 20 จาก 62


- มีทักษะทางปัญญา ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ปลูกฝั่งคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โครงการ : วันพ่อแห่งชาติ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 80.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนมีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตย์ นักเรียนทราบประวัติความเป็นมาของรัชกาลที่ 9 นักเรียนทราบโครงการพระราชดำริในรัชกาลที่ 9 เรียนรู้วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 85.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตย์ นักเรียนทราบประวัติความเป็นมาของรัชกาลที่ 9 และเข้าใจสามารถนำไปปรับใช้ได้ นักเรียนทราบโครงการพระราชดำริในรัชกาลที่ 9 เรียนรู้วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น หน้า 21 จาก 62


1.2. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ โครงการ : อบรมพัฒนาศักยภาพครู เป้าหมายเชิงปริมาณ : 80.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ให้ครูได้เข้าร่วมการอบรมตามหน่วยงานต่างๆ ในรูปแบบออนไลน์ ตามที่ภาครัฐและเอกชนจัดขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น นอกจากนี้สามารถสร้างสรรค์กิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อนำมาพัฒนาทักษะผู้เรียน ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 75.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้เข้าร่วมการอบรมตามหน่วยงานต่างๆ ที่ได้จัดขึ้นและได้นำความรู้มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ ผู้เรียนตามความเหมาะสมตามบริบทของโรงเรียน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต หน้า 22 จาก 62


- มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โครงการ : วันลอยกระทง เป้าหมายเชิงปริมาณ : 100.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : 1. นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของวัฒนธรรมไทย ทำให้เกิดความสามัคคีในชุมชน 2. เป็นการเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริมและสืบทอดประเพณีการลอยกระทง อันดีงามของไทยให้คงอยู่สืบไป 3. นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือประดิษฐ์กระทงจากวัสดุธรรมชาติ 4. เป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 92.94 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนได้ศึกษาประวัติความเป็นมาของประเพณีลอยกระทงและประวัตินางนพมาศ , ส่งเสริมและสืบทอดประเพณีลอยกระทง รวมทั้งนักเรียนได้ประดิษฐ์กระทงจากวัสดุธรรมชาติ เช่น ใบตอง , ใบมะพร้าว ฯลฯ และยังเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ซึ่งนักเรียนได้นำกระทงที่ตนเองประดิษฐ์ไปลอยตามแม่น้ำลำคลองที่อยู่ใกล้ที่พักของนักเรียน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : หน้า 23 จาก 62


1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - มีจิตอาสา หน้า 24 จาก 62


2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 2.1. ระดับปฐมวัย 2.1.1. ผลการพัฒนาเด็ก ร้อยละของเด็กตามระดับคุณภาพ ผลพัฒนาการด้าน ดี พอใช้ ปรับปรุง จํานวน เด็กท้ังหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ด้านร่างกาย 282 271 96.10 11 3.90 0 0.00 ด้านอารมณ์-จิตใจ 282 277 98.23 5 1.77 0 0.00 ด้านสังคม 282 271 96.10 11 3.90 0 0.00 ด้านสติปัญญา 282 267 94.68 15 5.32 0 0.00 หน้า 25 จาก 62


2.2. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.2.1. จํานวนและร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ระดับประถมศึกษา ระดับผลการเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระ การเรียนรู้/ รายวิชา จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ คณิตศาสตร์ 45 32 71.11 47 27 57.45 41 11 26.83 39 5 12.82 33 16 48.48 35 6 17.14 ภาษาไทย 45 34 75.56 47 35 74.47 41 26 63.41 39 26 66.67 33 21 63.64 35 21 60.00 สังคม ศาสนา และ วัฒนธรรม 45 36 80.00 47 36 76.60 41 31 75.61 39 20 51.28 33 19 57.58 35 17 48.57 ประวัติศาสตร์ 45 41 91.11 47 41 87.23 41 31 75.61 39 12 30.77 33 13 39.39 35 14 40.00 สุขศึกษาและ พลศึกษา 45 45 100.00 47 47 100.00 41 40 97.56 39 39 100.00 33 33 100.00 35 34 97.14 ศิลปะ 45 45 100.00 47 47 100.00 41 41 100.00 39 38 97.44 33 33 100.00 35 26 74.29 การงานอาชีพ 45 43 95.56 47 44 93.62 41 31 75.61 39 36 92.31 33 31 93.94 35 32 91.43 ภาษาต่างประ เทศ 45 35 77.78 47 35 74.47 41 19 46.34 39 4 10.26 33 12 36.36 35 7 20.00 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโล ยี 45 28 62.22 47 28 59.57 41 11 26.83 39 20 51.28 33 21 63.64 35 22 62.86 หน้า 26 จาก 62


2.3.2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 35 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2565 2563 2564 2565 คณิตศาสตร์ 31 28.06 0.00 0.00 34.83 วิทยาศาสตร์ 31 39.34 0.00 0.00 40.97 ภาษาไทย 31 53.89 0.00 0.00 48.13 ภาษาอังกฤษ 31 37.62 0.00 0.00 46.57 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ เนื่องจากนักเรียนที่ไม่ได้ไปสอบเพราะนักเรียนไม่สบาย หน้า 27 จาก 62


2.4.3. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) เปรียบเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 41 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบสมรรถ สมรรถนะ นะ จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศปี 2565 2563 2564 2565 ด้านภาษาไทย (Thai Language) 0 55.86 0.00 0.00 0.00 ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics) 0 49.12 0.00 0.00 0.00 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ ทางโรงเรียนไม่ได้ไปสอบวัดผลเนื่องจากอยู่ในช่วงสถานการณ์ Covid-19 2.5.4. ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถดัานการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 45 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ความสามารถด้านการอ่าน จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศปี 2565 2563 2564 2565 อ่านรู้เรื่อง 0 77.19 0.00 0.00 0.00 อ่านออกเสียง 0 77.38 0.00 0.00 0.00 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ ทางโรงเรียนไม่ได้ไปสอบวัดผลเนื่องจากอยู่ในช่วงสถานการณ์ Covid-19 หน้า 28 จาก 62


2.6.5. ผลการประเมินทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา (I-NET) ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติด้านอิสลามศึกษา (I-NET) ของนักเรียนระดับตอนต้น คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศปี 2565 2563 2564 2565 อัลกุรอานฯ 0 39.50 0.00 0.00 0.00 อัลหะดีษ 0 39.29 0.00 0.00 0.00 อัลอะกีดะห์ 0 39.12 0.00 0.00 0.00 อัลฟิกฮ 0 35.92 0.00 0.00 0.00 อัตตารีค 0 38.27 0.00 0.00 0.00 อัลอัคลาก 0 33.18 0.00 0.00 0.00 มลายู 0 36.60 0.00 0.00 0.00 อาหรับ 0 32.76 0.00 0.00 0.00 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ หน้า 29 จาก 62


เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติด้านอิสลามศึกษา (I-NET) ของนักเรียนระดับตอนกลาง คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศปี 2565 2563 2564 2565 อัลกุรอานฯ 0 34.16 0.00 0.00 0.00 อัลหะดีษ 0 40.60 0.00 0.00 0.00 อัลอะกีดะห์ 0 46.93 0.00 0.00 0.00 อัลฟิกฮ 0 38.75 0.00 0.00 0.00 อัตตารีค 0 38.89 0.00 0.00 0.00 อัลอัคลาก 0 42.19 0.00 0.00 0.00 มลายู 0 37.90 0.00 0.00 0.00 อาหรับ 0 27.84 0.00 0.00 0.00 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ หน้า 30 จาก 62


เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติด้านอิสลามศึกษา (I-NET) ของนักเรียนระดับตอนปลาย คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศปี 2565 2563 2564 2565 อัลกุรอานฯ 0 33.33 0.00 0.00 0.00 อัลหะดีษ 0 42.61 0.00 0.00 0.00 อัลอะกีดะห์ 0 30.70 0.00 0.00 0.00 อัลฟิกฮ 0 36.65 0.00 0.00 0.00 อัตตารีค 0 35.84 0.00 0.00 0.00 อัลอัคลาก 0 53.40 0.00 0.00 0.00 มลายู 0 36.94 0.00 0.00 0.00 อาหรับ 0 26.49 0.00 0.00 0.00 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ หน้า 31 จาก 62


2.7.6. ผลการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ค่าประเมินมาตรฐานภาษาอังกฤษ จากหน่วยงานทดสอบภาษาอังกฤษที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง ระดับประถมศึกษา ระดับผลการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ (Common European Framework of Reference for Languages : CEFR) ระดับชั้น จํานวน นักเรียน ทั้งหมด จํานวน นักเรียน ที่เข้าสอบ PreA1 A1 A2 B1 B2 C1 C2 ผ่านการทดสอบอื่น ๆ (TOEIC,IEFL,TOEFL เปรียบเทียบ ตารางมาตรฐาน) ประถมศึกษาปีที่ 1 45 0 0 0 0 0 0 0 0 - ประถมศึกษาปีที่ 2 47 0 0 0 0 0 0 0 0 - ประถมศึกษาปีที่ 3 41 0 0 0 0 0 0 0 0 - ประถมศึกษาปีที่ 4 39 0 0 0 0 0 0 0 0 - ประถมศึกษาปีที่ 5 33 0 0 0 0 0 0 0 0 - ประถมศึกษาปีที่ 6 35 0 0 0 0 0 0 0 0 - หน้า 32 จาก 62


3. จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร ระดับชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ อนุบาลปีที่ 3 93 93 100.00 ประถมศึกษาปีที่ 6 35 35 100.00 4. นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation/Best Practice) ชื่อ นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี ระดับการศึกษา มาตรฐานด้าน นวัตกรรม การจัดศูนย์การเรียนรู้ ครอบคลุมพัฒ นาการด้านร่างกาย, อารมรณ์-จิตใจ , สังคม และ สติปัญญา ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก นวัตกรรม มอนเตสซอรี่ตามแนววิถีพุทธ ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก นวัตกรรมการผลิตของเล่นและเกมเพื่อพัฒนาผู้เ รียนการ ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและกา รจัดการ นวัตกรรม การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงา น ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเ ด็กเป็นสำคัญ นวัตกรรม การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงา น ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเ ด็กเป็นสำคัญ นวัตกรรม การจัดทำวิจัยในชั้นเรียน ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเ ด็กเป็นสำคัญ โครงการฐานกิจกรรมวิชาการบูรณาการ 8 กลุ่ม สาระ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน โครงการออมทรัพย์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 5. รางวัลที่สถานศึกษาได้รับ - 6. การดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ 6.1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 6.1.1. การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 6.1.2. การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 6.2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 6.2.1. การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน 6.2.2. การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 หน้า 33 จาก 62


6.2.3. การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) 6.2.4. การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 6.2.5. การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน 6.2.6. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 6.2.7. การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน 6.2.8. การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 6.3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 6.3.1. การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 6.4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 6.4.1. การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal 6.5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล 6.5.1. การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ 6.5.2. การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 7. คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา(Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 7.1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี 7.1.1. มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ 7.1.2. มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต 7.1.3. มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 7.1.4. มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย 7.1.5. มีทักษะชีวิต 7.2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคงมั่งคั่ง และยั่งยืน 7.2.1. มีทักษะทางปัญญา 7.2.2. ทักษะศตวรรษที่ 21 7.2.3. ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) 7.2.4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 7.2.5. ทักษะข้ามวัฒนธรรม 7.2.6. สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 7.2.7. มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 7.3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข 7.3.1. มีความรักชาติ รักท้องถิ่น 7.3.2. รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก หน้า 34 จาก 62


7.3.3. มีจิตอาสา 7.3.4. มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค หน้า 35 จาก 62


8. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกในรอบของ สมศ. ที่ผ่านมา การประเมินรอบที่ 3 ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีที่ประเมิน ระดับคุณภาพ ผลการรับรอง ระดับคุณภาพ ผลการรับรอง 2558 ดีมาก รับรอง ดีมาก รับรอง การประเมินปีล่าสุด ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีที่ประเมิน มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3 2565 ดี ดี ดี ดี ดี ดี 9. หน่วยงานภายนอกที่โรงเรียนเข้าร่วมเป็นสมาชิก หน่วยงานภายนอก อื่นๆ - โรงพยาบาลพญาไท 2 , สาธารณสุข 17 ประชานิเวศน์ , ธนาคารออมสิน หน้า 36 จาก 62


ส่วนที่ 4 : การประเมินตนเอง (Self - Assessment) 1. ผลการประเมินรายมาตรฐาน ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก จำนวนเด็กทั้งหมด : 282 การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนเด็ก ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. มีพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของ ตนเองได้ 75.00 271 96.10 ยอดเยี่ยม 1.1 ร้อยละของเด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน √ - 271 1.2 ร้อยละของเด็กเคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี √ - 272 1.3 ร้อยละของเด็กดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและ ปฏิบัติจนเป็นนิสัย √ - 270 1.4 ร้อยละของเด็กปฏิบัติตนตามข้อตกลงเกี่ยวกับความ ปลอดภัย หลีกเลี่ยงสภาวะ ที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และ ระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสี่ยง อันตราย √ - 271 2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 75.00 277 98.23 ยอดเยี่ยม 2.1 ร้อยละของเด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ เหมาะสม √ - 276 2.2 ร้อยละของเด็กรู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย √ - 276 2.3 ร้อยละของเด็กยอมรับและพอใจในความสามารถ และผล งานของตนเองและผู้อื่น √ - 277 2.4 ร้อยละของเด็กมีจิตสำนึกและค่านิยมที่ดี √ - 274 2.5 ร้อยละของเด็กมีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก √ - 277 2.6 ร้อยละของเด็กช่วยเหลือแบ่งปัน √ - 278 2.7 ร้อยละของเด็กเคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทน อดกลั้น √ - 277 2.8 ร้อยละของเด็กซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม ตามที่ สถานศึกษากำหนด √ - 275 2.9 ร้อยละของเด็กมีความสุขกับศิลปะดนตรี และการ √ - 279 หน้า 37 จาก 62


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนเด็ก ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ เคลื่อนไหว 3. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 75.00 271 96.10 ยอดเยี่ยม 3.1 ร้อยละของเด็กช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตรประ จำวัน มีวินัย ในตนเอง √ - 271 3.2 ร้อยละของเด็กประหยัดและพอเพียง √ - 272 3.3 ร้อยละของเด็กมีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและ นอกห้องเรียน √ - 270 3.4 ร้อยละของเด็กมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ฯลฯ √ - 271 3.5 ร้อยละของเด็กยอมรับหรือเคารพ ความแตกต่างระหว่าง บุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น √ - 275 3.6 ร้อยละของเด็กเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ แก้ไขข้อขัด แย้งโดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง √ - 269 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหา ความรู้ได้ 75.00 267 94.68 ยอดเยี่ยม 4.1 ร้อยละของเด็กสนทนาโต้ตอบและ เล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ √ - 267 4.2 ร้อยละของเด็กตั้งคำถามในสิ่งที่ ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ √ - 260 4.3 ร้อยละของเด็กอ่านนิทานและเล่าเรื่อง ที่ตนเองอ่านได้ เหมาะสมกับวัย √ - 265 4.4 ร้อยละของเด็กมีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิด เชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหา และสามารถตัดสินใจในเรื่อง ง่าย ๆ ได้ √ - 260 4.5 ร้อยละของเด็กสร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและ จินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเล่น อิสระ ฯลฯ √ - 280 4.6 ร้อยละของเด็กใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล ฯลฯ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหา ความรู้ได้ √ - 267 สรุปผลการประเมิน 96.28 ยอดเยี่ยม หน้า 38 จาก 62


จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก โรงเรียนพีระยานาวินมีกระบวนการพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านในระดับยอดเยี่ยมตาม วงจรคุณภาพ PDCA+A ดังนี้ กระบวนการขั้น P 1.ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานการศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นปฐมวัย วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าประสง ค์ (Goal) กลยุทธ์ระดับองค์กร (Strategy) เพื่อเป็นหลักในการจัดทำโครงการกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการ ครบทั้ง 4 ด้าน 2.กำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จจากผลการประเมินตนเอง 3 ปีที่ผ่านมาของโรงเรียนในประเด็นพิจารณาเด็กมีพัฒนาการครบ ทั้ง 4 ด้าน โดยการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกคน 3.กำหนดให้การจัดประสบการณ์เด็กมีกิจกรรมที่ให้เด็กได้แสดงออกถึงพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ผ่านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเ ป็นสำคัญ 4.จัดทำแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2564 โดยมีโครงการและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน 5.จัดทำปฏิทินการติดตามและตรวจสอบผลการดำเนินกิจกรรม โครงการที่จัดขึ้น กระบวนการขั้น D 1.จัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญโดยให้เด็กได้แสดงพัฒนาการทั้ง 4 ด้านภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ในรูปแบบ Onlin e และ Onsite On demand พร้อมกับประเมินเด็กด้วยเครื่องมือที่หลากหลายเป็นระยะ 2.จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์Covid-19 โดยกิจกรรมที่ไม่สามารถจัดในรูปแบบ On-S ite ให้ครูมีการบูรณาการในจัดในชั้นเรียนในรูปแบบออนไลน์ และOn Demand โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กดังนี้ 1.ด้านร่างกาย             1.1 จัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง 4 ครั้ง/ปี เนื่องจากสถานการณ์Covid-19 สถานศึกษาประสานงานให้ผู้ปกครองเ ป็นผู้วัดและให้ข้อมูล 1.2 จัดให้มีการดูแลด้านสุขภาพอนามัย เฝ้าระวังโรคภัยที่อาจเกิดกับเด็กวัย 3-6 ปี 1.3 จัดกิจกรรมเคลื่อนไหวประกอบจังหวะ และการบูรณาการผ่านการเล่นภายใต้กิจกรรม 6 หลักภายในห้องเรียน 1.4 จัดกิจกรรมช่วยเหลือเด็กที่มีน้ำหนักอ้วนเกินเกณฑ์ผ่านรายการอาหารประจำเดือน และแนะนำหลักปฏิบัติตนที่ถูกต้องจาก ครูรวมถึงประสานขอความร่วมมือจากฝ่ายโภชนาการและผู้ปกครอง 1.5 จัดกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2 ครั้ง/ปีการศึกษา 2.ด้านจิตใจ 2.1 จัดกิจกรรมให้เด็กได้เข้าร่วมทั้งกิจกรรมวันสำคัญของชาติ วันสำคัญทางศาสนา และ วันสำคัญอื่นๆ ตามปฏิทินงานของโรงเรียน 2.2 จัดกิจกรรมทัศนศึกษา ณ วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร ภายใต้งบประมาณเรียนฟรี15 ปีอย่างมีคุณภาพ ประเภทกิจกรรมพั ฒนาผู้เรียน 2.3 จัดกิจกรรมพี่พาน้องชมโรงเรียน 2.4 จัดกิจกรรมให้เด็กมีจิตใจที่ดีงาม รู้จักแบ่งปัน ช่วยเหลือคนอื่น 3.ด้านสังคม 3.1 จัดกิจกรรมให้เด็กเข้าร่วมทั้งกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา วันสำคัญของชาติกิจกรรม กิจกรรมส่งเสริมประเพณีวัฒนธรรม กิ จกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม แบบบทบาทสมมติ แบบโครงงาน เป็นต้น หน้า 39 จาก 62


3.2 จัดกิจกรรมมอบความรักส่งความสุขเนื่องในเทศกาลวันปีใหม่ และวันเด็กวันเด็กแห่งชาติ 3.3 จัดอบรมเลี้ยงดูและกำหนดข้อปฏิบัติให้เด็กฝึกช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน สร้างวินัยให้กับตนเองทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน 4.ด้านสติปัญญา 4.1 จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมด้านสติปัญญาผ่านกิจกรรม 6 หลัก เล่นปนเรียน 4.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมการคิดผ่านการสอนแบบโครงงาน 4.3 จัดกิจกรรมส่งเสริมการจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ผ่านนิทาน และการเล่นบทบาทสมมติกิจกรรมการวาดภาพระบ ายสี กิจกรรมฉีก ปะตัด กิจกรรมต่อคำคล้องจอง 4.4 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น การเสริมประสบการณ์ด้านคอมพิวเตอร์กิจกรรมEnglish is Fun การจัดกิจกรรมเสริมทักษ ะทางภาษาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4.5 หาเวทีแสดงออกให้เด็กภายในโรงเรียน โดยการจัดกิจกรรมแข่งทักษะวิชาการ วาดภาพระบายสี ฉีก ปะติดภาพ 4.6 จัดกิจกรรมให้เด็กได้สนทนาโต้ตอบเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ฝึกตั้งคำถาม สร้างความคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ผ ลงาน รวมถึงได้ฝึกใช้สื่อเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ 4.7 ส่งเสริมกิจกรรมสวยก่อนกลับบ้าน โดยเน้นการล้างหน้าทาแป้ง หวีผมแต่งตัวให้สะอาดเรียบร้อยพร้อมทำกิจกรรมหลังตื่นน อนและรอผู้ปกครองรับกลับบ้าน กระบวนการขั้น C 1.จากผลการประเมินพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้าน พบว่าเด็กมีพัฒนาการผ่านเกณฑ์การประเมินทุกด้านโดยทุกกิจกรรมโครงการที่จั ดขึ้นบรรลุเป้าหมายทุกตัวชี้วัด กิจกรรมที่จัดในรูปแบบออนไลน์ได้ปรับเป้าหมายตามความเหมาะสม กระบวนการขั้น A : Action (การรายงานผลและนำผลไปใช้) 1.นำข้อเสนอแนะจากผลประเมินผลโครงการกิจกรรมปีการศึกษา 2564 มาปรับปรุงโครงการกิจกรรมที่จะจัดทำในปีการศึกษา 2565 เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ดียิ่งขึ้น 2.จากผลการประเมินพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้านในปีการศึกษา 2564 สถานศึกษานำผลการประเมินมาวางแผนในการพัฒนาเด็ก ที่ผ่านเกณฑ์ให้มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านดีขึ้น สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ กระบวนการขั้น +A : Accountability (ความรับผิดชอบ) สถานศึกษาได้นำผลการพัฒนาเด็กทั้ง 4 ด้านนี้เข้าเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนนำเสนอข้อมูล ประชาสัมพันธ์ ผ่านทางเว็บไซต์/เฟสบุ๊กของสถานศึกษา ฯลฯ หน้า 40 จาก 62


มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เป้าหมาย 5 ข้อ การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ผล สำเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 5 ยอดเยี่ยม 1.1 มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย √ - 1.2 ออกแบบจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมและไม่เร่งรัดวิชาการ √ - 1.3 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลงมือปฏิบัติ (Active learning) √ - 1.4 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็ก ปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น √ - 1.5 มีการประเมิน ตรวจสอบ และปรับปรุง / พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง √ - 2. จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 5 ยอดเยี่ยม 2.1 จัดครูครบชั้นเรียน √ - 2.2 จัดครูให้มีความเหมาะสมกับภารกิจการจัดประสบการณ์ √ - 2.3 จัดครูไม่จบการศึกษาปฐมวัยแต่ผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย √ - 2.4 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัย √ - 2.5 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัยและผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย √ - 3. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 5 ยอดเยี่ยม 3.1 มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบ หลักสูตรสถานศึกษา √ - 3.2 ส่งเสริมครูให้มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก √ - 3.3 ส่งเสริมครูใช้ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม จัดกิจกรรม สังเกต และประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล √ - 3.4 ส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและครอบครัว √ - 3.5 ส่งเสริมให้ครูพัฒนาการจัดประสบการณ์โดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) √ - 4. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ 5 ยอดเยี่ยม 4.1 จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย √ - 4.2 จัดสภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย √ - 4.3 ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ที่เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือ ร่วมใจ √ - 4.4 จัดให้มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ ที่ปลอดภัยและเพียงพอ เช่น √ - หน้า 41 จาก 62


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ผล สำเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสำหรับเด็กมุดลอด ปีนป่าย สื่อเทคโนโลยี การสืบเสาะหาความรู้ 4.5 จัดห้องประกอบที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก √ - 5. ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ์ 5 ยอดเยี่ยม 5.1 อำนวยความสะดวกและให้บริการสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์และสื่อการ เรียนรู้ √ - 5.2 พัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตและใช้สื่อในการจัดประสบการณ์ √ - 5.3 มีการนิเทศติดตามการใช้สื่อในการจัดประสบการณ์ √ - 5.4 มีการนำผลการนิเทศติดตามการใช้สื่อมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา √ - 5.5 ส่งเสริม สนับสนุนการเผยแพร่การพัฒนาสื่อ และนวัตกรรมเพื่อการจัดประสบการณ์ √ - 6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 4 ดีเลิศ 6.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ปฐมวัยและอัตลักษณ์ของสถานศึกษา - √ 6.2 จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนดและดำเนิน การตามแผน √ - 6.3 มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา √ - 6.4 มีการติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี และรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด √ - 6.5 นำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้ เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม √ - สรุปผลการประเมิน 4.83 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเน้น กระบวนการบริหารและการจัดการส่งเสริมให้เด็กมีความยอดเยี่ยมในพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านโรงเรียนพีระยานาวิ น มีกระบวนการบริหารและการจัดการส่งเสริมให้เด็กมีความยอดเยี่ยมในพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน ตามวงจรคุณภาพ PD CA+A ดังนี้ กระบวนการขั้น P 1.สถานศึกษามีการจัดทำมาตรฐานการศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นปฐมวัย มีการกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สอด คล้องเชื่อมโยงกับเป้าหมาย ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติแผนการศึกษาแห่งชาตินโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด ดังปรากฏในส่ว นที่ 2 ของรายงานการประเมินตนเอง 2.สถานศึกษากำหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนกา รศึกษาชาตินโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด โดยปีการศึกษา 2564 โรงเรียนกำหนดค่าเป้าหมายพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้านไว้ไม่ หน้า 42 จาก 62


ต่ำกว่าร้อยละ 74.99 ทุกด้าน เพื่อกระตุ้นให้ทุกส่วนเกิดความท้าทายและทำให้บรรลุเป้าหมาย 3.สถานศึกษามีนโยบายพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ด้าน และสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ,มีนโย บายการบริหารอัตรากำลังให้เพียงพอ , มีนโยบายส่งเสริมให้มีการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการจัดประสบการณ์ให้บริการสื่อสารส นเทศและสื่อการจัดประสบการณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์, มีนโยบายส่งเสริมให้ครูแสวงหาเพิ่มพูนความรู้ความเชี่ยว ชาญในการอบรมเลี้ยงดูและการจัดประสบการณ์ให้เกิดคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมครูให้มีความชำนาญในการใช้เทคโนโ ลยีดิจิทัลเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน 4.สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ มีการจัดทำแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2564 โดยมีโครงการกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนากา รครบทั้ง 4 ด้าน ผ่านแผนงานโครงการที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564 ภายใต้โครงสร้างการบริหารงานของ  5.สถานศึกษามีการกำหนดปฏิทินปฏิบัติงานติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา เพื่อให้การทำงานทุกขั้นตอน มีระ บบและพัฒนา อย่างต่อเนื่อง กระบวนการขั้น D 1.สถานศึกษาจัดสรรงบประมาณ สถานที่ บุคลากรในการทำกิจกรรม มีการจัดครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียนทุกชั้น อีกทั้งได้ส่งเสริมใ ห้มีการจัดสภาพแวดล้อม จัดสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกภายในห้องเรียนดังนี้ - จัดให้มีสนามเด็กเล่น เครื่องเล่นมีความปลอดภัยแก่เด็กขณะเล่น - มุมเหลี่ยมเสาอาคารเป็นทรงกลมเพื่อลดอุบัติเหตุขณะเด็กวิ่งเล่น - จัดซื้อสื่ออุปกรณ์เพื่อการเรียนรู้เสริมประสบการณ์ ให้กับทุกห้องเรียนก่อนเปิดปีการศึกษา - จัดให้มีบอร์ดป้ายนิเทศเพื่อแสดงผลงานเด็กและให้ความรู้ หรือแจ้งข้อมูลข่าวสาร ประชาสัมพันธ์แก่เด็กและผู้ปกครองทั้งในและนอกห้องเรียน - จัดให้มีห้องน้ำ อ่างล้างมือ ที่ล้างหน้าแปรงฟัน ตู้จัดเก็บที่นอน กระเป๋าสัมภาระเด็กรายบุคคล ภายในห้องครบทุกห้องเรียนอย่างเป็นระบบและปลอดภัย - จัดให้มีมุมประสบการณ์ครบทุกห้อง (มุมเกม มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมวิทยาศาสตร์/ธรรมชาติ) - จัดให้มีห้องประกอบการอย่างปลอดภัยและเพียงพอ (ห้องคอมพิวเตอร์) - จัดทำประตูเหล็กกั้นบริเวณบันไดอาคารเรียนชั้น 2 เพื่อความปลอดภัยให้กับเด็ก - จัดบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ที่สนับสนุนการจัดประสบการณ์ - จัดบริการสื่อการเรียนรู้ที่สนับสนุนการจัดประสบการณ์ดังนี้ ให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ สำหรับใช้จัดประสบการณ์ให้กับเด็ก 1 คน / 1 เครื่อง ทุกห้องเรียนจัดให้มีจอทีวีใช้คู่กับ Computer 2.สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูอบรมเพิ่มความเชี่ยวชาญเพื่อดำเนินงานตามแผนในการการพัฒนาด้านต่างๆ เช่น ให้ครูทุกคนอบรม พัฒนาทักษะความรู้และความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้การอบรมครูในการออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ที่เด็กไ ด้แสดงพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ตามธรรมชาติของรายวิชาผ่านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ได้จัดการอบรมการทำวิจัย เพื่อแก้ปัญหาในชั้นเรียนเพื่อให้ครูได้มีความรู้เพิ่มขึ้นในการแก้ปัญหาต่างๆ ดังปรากฏในสรุปโครงการ 3.สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2564 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ภายใต้ส หน้า 43 จาก 62


ถานการณ์Covid-19 โดยกิจกรรมที่ไม่สามารถจัดในรูปแบบ On-Site ให้ครูมีการบูรณาการในจัดในชั้นเรียนในรูปแบบออนไลน์ ออนแฮนด์ และออนดีมานด์แทน 4.สถานศึกษามีการประเมินผลและตรวจสอบทบทวนคุณภาพภายในเป็นประจำทุกปีการศึกษาโดยเมื่อสิ้นปีการศึกษาครูผู้สอนต้ องจัดทำรายงานการประเมินตนเองภายใต้มาตรฐานและค่าเป้าหมายการประกันคุณภาพภายในที่สถานศึกษากำหนด โดยเฉพา ะมาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพเด็ก และมาตรฐานที่ 3 ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ส่วนมาตรฐานที่ 2 ให้ทุกฝ่าย ที่มีสวนเกี่ยวข้องได้ประเมินคุณภาพและสะท้อนระดับความพึงพอใจในการบริหารจัดการ 5.สถานศึกษามีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี2564 จากผู้เกี่ยวข้อง ทุกโครงการที่ได้จัดทำขึ้น กระบวนการขั้น C 1.ผลการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานตามปฏิทินปฏิบัติงานพบว่า ทุกชั้นเรียนมีครูเพียงพอ ทุกชั้นเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อเอื้อต่อการจัดประสบการณ์ทุกห้องเรียนมีสื่อสารสนเทศและสื่อการจัดประสบการณ์เพื่อ สนับสนุนการจัดประสบการณ์ต่อเด็ก 2.ผลการติดตามตรวจสอบพบว่าครูทุกคนเข้าอบรมพัฒนาทักษะความรู้และความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีแผนการจั ดประสบการณ์และจัดประสบการณ์ให้มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ผ่านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ เด็กทุกคนมีความสุ ขจากการจัดประสบการณ์ที่หลากหลายทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนและมีพัฒนาการผ่านเป้าหมายที่ตั้งไว้ทุกๆ ด้าน 3.การจัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์Covid-19 นั้นกิจกรรมที่ไม่สามารถจัดในรูปแบบ O n-Site ให้ครูมีการบูรณาการในจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนในรูปแบบ Ondemand และออนไลน์แทน 4.จากสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี2564 ทุกโครงการได้จัดกิจกรรมตาม โครงการเพื่อพัฒนาเด็กทั้ง 4 ด้าน กระบวนการขั้น A : Action (การรายงานผลและนำผลไปใช้) สถานศึกษานำข้อมูลข้อเสนอแนะ จุดเด่น ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางพัฒนาต่างๆ จากรายงานผลการติดตามผลการดำเนินก ารและสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี2564 มาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยเน้ นให้บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนา และร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา โดยใช้ ข้อมูลทั้งหมดในปีการศึกษา 2564 เป็นฐานในการกำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา จุดเน้น โครงการกิจกรรมต่างๆ ที่จะจัดท ำขึ้นในแผนปฏิบัติการประจำปี การศึกษา 2565            กระบวนการขั้น +A : Accountability (ความรับผิดชอบ) สถานศึกษาได้นำผลจากกระบวนการบริหารและการจัดการ เช่น รายงานผลการติดตามผลการ ดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ สรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีเข้าเสนอในที่ประชุมคณะกรร มการบริหารโรงเรียนเพื่อให้คณะกรรมการบริหารโรงเรียนรับทราบและนำเสนอข้อมูลลงวารสารข่าวของสถานศึกษา ประชาสัม พันธ์ผ่านทงเว็บไซต์/เฟสบุ๊กของสถานศึกษา ฯลฯ กระบวนการพัฒนา - เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มากขึ้นกว่าเดิม - เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีกิจกรรมกับทางโรงเรียนให้มากขึ้น หน้า 44 จาก 62


มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ จำนวนครูทั้งหมด : 10 การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนครู ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็ม ศักยภาพ 75.00 10 100.00 ยอดเยี่ยม 1.1 มีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล √ - 10 1.2 จัดทำแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์จากการ วิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตร สถานศึกษา √ - 10 1.3 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ทั้งด้าน ร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา โดย ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว √ - 10 2. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข 75.00 10 100.00 ยอดเยี่ยม 2.1 จัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม √ - 10 2.2 ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้อง การความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของ เด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย √ - 10 2.3 เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ความ รู้ด้วยตนเอง √ - 10 3. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับวัย 75.00 10 100.00 ยอดเยี่ยม 3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนได้สะอาด ปลอดภัย และอากาศถ่ายเทสะดวก √ - 10 3.2 จัดให้มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับมุมประสบ การณ์และการจัดกิจกรรม √ - 10 3.3 จัดให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้ เป็นต้น √ - 10 3.4 ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความ สนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย สื่อของเล่นที่กระตุ้น ให้คิดและหาคำตอบ เป็นต้น √ - 10 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก 75.00 10 100.00 ยอดเยี่ยม หน้า 45 จาก 62


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนครู ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 4.1 ประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย √ - 10 4.2 วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและ ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม √ - 10 4.3 นำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง √ - 10 4.4 นำผลการประเมินแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ √ - 10 สรุปผลการประเมิน 100.00 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ จุดเน้น ครูมีกระบวนการจัดประสบการณ์ให้เด็กมีความยอดเยี่ยมในพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน ครูโรงเรียนพีระยานาวินมีกระบวนการจัดประสบการณ์ให้เด็กมีความยอดเยี่ยมในพัฒนาการครบ ทั้ง 4 ด้าน ตามวงจรคุณ ภาพ PDCA+A ดังนี้ กระบวนการขั้น P 1.ครูผู้สอนศึกษามาตรฐานการศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นปฐมวัย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สอดคล้องเชื่อมโยงกับเป้าห มายในจุดเน้นเด็กมีการพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน 2.ครูผู้สอนรับทราบนโยบายของสถานศึกษาในปีการศึกษา 2564 ดังนี้จุดเน้นมาตรฐานที่ 1 เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน โด ยมีเป้าหมายเด็กมีพัฒนาการทุกด้านไม่น้อยกว่าร้อยละ 74.99 ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา เพื่อจะได้ออกแบบกระบวนการจัดปร ะสบการณ์เด็ก ให้สอดคล้องกับจุดเน้นที่ต้องการพัฒนา 3.ครูผู้สอนศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา รับทราบนโยบายให้มีการจัดสภาพแวดล้อม ให้บริการสื่อสารสนเทศและสื่อเพื่อ สนับสนุนการจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน 4.ครูผู้สอนจัดทำโครงการกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความสามารถในพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน 5.ครูผู้สอนออกแบบจัดทำเครื่องมือสำหรับประเมินผลพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้านอย่างเป็นระบบ กระบวนการขั้น D 1. ครูปฐมวัยทุกห้องวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล เริ่มต้นโดยจัดทำแบบฟอร์มการเก็บข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคลด้านต่างๆ คื อ บันทึกผลการตรวจสุขภาพต่อเนื่อง ความสะอาดร่างกาย ปัญหาสุขภาพของเด็ก การเจ็บป่วยและการให้ความช่วยเหลือดูแล บันทึกสุขนิสัยที่ดี บันทึก การเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคล บันทึกเกี่ยวการรับประทานอาหารและการดื่มน้ำ บันทึกเด็กที่มีน้ำหนักส่วนสูงต่ำกว่าเก ณฑ์บันทึก การสังเกตพฤติกรรมและพัฒนาการเด็ก 4 ด้าน เป็นรายบุคคลอย่างสม่ำเสมอ จากนั้นทำการส่งต่อข้อมูลจากครูคนเ ดิมและคนใหม่ การสร้างเครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล รวบรวมข้อมูลทุกๆ ด้าน ได้แก่ ข้อมูล ที่เก็บก่อนเปิดเรียนเพื่อรู้จักเด็ก ข้อมูลสำหรับการติดตามพัฒนาการเด็กเป็นระยะ ข้อมูลเก็บระหว่างเรียน วิเคราะห์ข้อมูลเด็กเ หน้า 46 จาก 62


พื่อแยกแยะความแตกต่างระหว่างบุคคลในเรื่องต่างๆ ประมวลผล จัดทำแบบสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นภาพรวมและข้ อควรปรับปรุงแก้ไขได้ชัดเจน ครูปฐมวัยจัดทำแผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะห์มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษาโดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้านทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว มีกระบวนการดำเนินงานโดยเริ่มจากกา รจัดกิจกรรมให้เด็กปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ด้านการส่งเสริมสุขนิสัยที่ดีในชีวิตประจำวัน ด้านการกิน การล้างมือ การแปรงฟัน ก ารเล่น การเคลื่อนไหวร่างกายและออกกำลังกาย การนอน การรักษา ความสะอาด ตามตารางกิจกรรมประจำวัน จัดทำการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของพัฒนาการ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสง ค์และสาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา ประชุมร่วมกันทุกระดับชั้นออกแบบหน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยฯ แสดงมาตรฐา น ตัวบ่งชี้และสภาพที่พึงประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาสัมพันธ์กับจุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมพัฒนาการ 4 ด้าน และกำ หนดสาระที่ควรเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ตลอดทั้งปี ครอบคลุมสาระที่ควรเรียนรู้4 สาระตามหลักสูตรสถานศึกษา นำหน่วยการเรียนรู้ไปจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ตามหน่วยก ารเรียนรู้แต่ละวันแสดงชื่อกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครอบคลุมพัฒน าการ 4 ด้านได้แก่ ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมสติปัญญา ภาษา และ การสื่อสาร มีกิจกรรมดังนี้  1) การเคลื่อนไหวและจังหวะ 2) เสริมประสบการณ์  3) ศิลปะสร้างสรรค์ 4) เล่นตามมุม 5) กลางแจ้ง 6) เกมการศึกษา จัดให้มีคณะกรรมการตรวจแผนการจัดประสบการณ์แสดงความสัมพันธ์ของจุดประสงค์การเรียนรู้ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ค วรเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้สื่อ/แหล่งเรียนรู้และ การประเมินผล ครูทุกคนประเมินผลหลังการจัดประสบการณ์เรียนรู้ประจำวันโดยเขียนเป็นบันทึกหลัง จัดประสบการณ์อีกทั้งยั งมีการจัดการเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning) เช่น สะเต็มศึกษา (STEM Education) ซึ่งเป็นการเรียนรู้ซึ่ง เด็กได้จั ดกระทำกับวัตถุ ได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล ความคิด และเหตุการณ์จนกระทั่งสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยการเรียนรู้แบบลงมือ กระทำเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาเด็กอีกด้วย เพื่อมุ่งฝึกให้เด็กได้มีโอกาสฟัง พูด สังเกตคิดแก้ปัญหา ใช้เหตุผล และฝึกปฏิบั ติเพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน 2. ครูจัดประสบการณ์ที่แสดงว่าเด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระตามความต้องการความสนใจ ความสามารถ ตอบสนอง ต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มกิจกรรมตามข้อตกลง เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ลงมือกระทำ ทั้งในห้องเรียนแ ละนอกห้องเรียน สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ได้แก่ กิจกรรม การเคลื่อนไหวและจังหวะ เสริมประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์เ ล่นตามมุม กลางแจ้ง เกมการศึกษา และจัดกิจกรรมให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ใหญ่และเด็กอื่นๆ ในบรรยากาศที่อบอุ่น มีความ สุขและร่วมมือกันในลักษณะต่างๆ จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีการมีวินัย สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและสร้างทักษ ะการใช้ชีวิตตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง มีแผนจัดประสบการณ์ชัดเจนในกิจกรรมศิลปะสร้างส รรค์และเล่นตามมุม สนับสนุนให้เด็กริเริ่ม คิดวางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทำ และแสดงผลงาน/นำเสนอความคิดและความรู้สึ หน้า 47 จาก 62


ก โดยครูเรียนรู้ร่วมกับเด็ก จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้เด็กเชื่อมโยงประสบการณ์เดิม กับการเรียนรู้ใหม่ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กหลากหลายรูปแบบจากแหล่ง เรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เรียนรู้ลงมือกระทำ โดยสำรวจ สังเกต สืบค้น ทดลอง และคิดแก้ปัญหาเพื่อ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเ อง โดยครูเรียนรู้ร่วมกับเด็ก และมีโครงการสนับสนุน เช่น -          โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ที่ประกอบด้วยกิจกรรมท่องคำคล้องจอง -          กิจกรรมร้องเพลงประกอบท่าทางตามหน่วยการเรียนรู้ -          กิจกรรมกลุ่มการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ 3.ครูดูแลห้องเรียนให้สะอาด มีการถ่ายเทอากาศที่ดี คำนึงถึงทิศทางลม มีอุณหภูมิที่เหมาะสม มีแสงสว่างพอเพียง ไม่มีแสงแดดส่องรบกวนสายตาเด็ก มีความสงบที่จะทำกิจกรรมอย่างสบายและมีสมาธิ ทุกห้องเรียนมีความเ ป็นระเบียบ ปลอดภัยจากสัตว์แมลง พืช และสารเคมีที่มีพิษ ครุภัณฑ์โต๊ะ เก้าอี้ไม่ควรเป็น มุมแหลมที่เป็นอันตราย ทุกห้องเรีย นจัดพื้นที่ปฏิบัติกิจกรรม และการเคลื่อนไหวที่เด็กสามารถจะทำงานได้ด้วยตนเอง ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ มีที่ว่างสำหรับช่องทางจราจรที่เด็กเคลื่อนที่เป็นอิสระจากที่หนึ่งไปที่หนึ่งโดยไม่รบกวนผู้อื่น ทุกห้องเรียนมีพื้นที่มุมเล่น/มุมประ สบการณ์อย่างน้อย 5 มุม 5 มุม ได้แก่ มุมที่ 1 มุมหนังสือ มุมที่ 2 ไม้บล็อค มุมที่ 3 เครื่องครัว มุมที่ 4 ศิลปะ มุมที่ 5 ดนตรี เพื่อเล่นอย่างเสรี จัดแยกส่วนที่ใช้เสียงและเงียบออกจากกัน มีของเล่นวัสดุอุปกรณ์ในมุมเพียงพอต่อการเรียนรู้ของเด็ก โดยกำหนดเวลาเล่นในตา รางกิจกรรมประจำวันชัดเจนวันละประมาณ 30 นาทีมีพื้นที่แสดงผลงานเด็กเพื่อการสื่อสารข้อมูลเช่นภาพวาด งานเขียน ปั้น ง านประดิษฐ์อาจเป็นป้ายนิเทศ หรือที่แขวนผลงาน มีที่เก็บแฟ้มผลงานที่เด็กสามารถจัดเก็บด้วยตนเองส่งเสริมเด็กมีประสบการ ณ์จากทุกมุม สังเกตและจัดทำบันทึกพฤติกรรมขณะทำกิจกรรมในมุมต่างๆ สำหรับ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น กล้องดิจิทัล , คอมพิวเตอร์สำหรับ การเรียนรู้กลุ่มย่อย สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้คิด และหาคำตอบเป็นต้นดำเนินการโดยครูทุกห้องเรียนมีสื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่หลากหล าย ทั้งสื่อธรรมชาติเช่น ดิน ทราย หิน ต้นไม้ฯลฯ สื่อที่ครูผลิต และสื่อที่จัดซื้อ มีของเล่นที่เหมาะสมกับช่วงอายุระยะความสนใ จ และวิถีการเรียนรู้ของเด็กเหมาะสมกับขั้นตอนการจัด ประสบการณ์ให้เด็กได้สังเกต หยิบจับ ลงมือทำเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามความสนใจทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน การจัดกิ จกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะหรือกลางแจ้งครูใช้สื่อเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ เด็กมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับครูกับเพื่อน ทุกกิจกรรมจัดให้เด็กได้ใช้สื่อ/อุปกรณ์/เทคโนโลยีที่เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ใ นการทำกิจกรรมและมีสภาพพร้อมใช้งาน มีปริมาณเพียงพอ และปลอดภัยสำหรับเด็ก ทุกห้องเรียนจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายใน และภายนอกห้องเรียน ตลอดจนผู้ปกครอง บุคคลในชุมชน และแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของเด็กโรงเรียนจัดให้มีโครงการจัดประสบการณ์สะเต็มศึ กษา (STEM Education) โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กมีโอกาสออกแบบ ผลิตสื่อ หรือสร้างของเล่นอย่างเ หมาะสมกับวัย ได้เล่นและฝึกเก็บของเข้าที่เก็บขยะทิ้งเป็นที่ภายใต้การดูแลของครู หน้า 48 จาก 62


4.ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการสังเกต สอบถาม สำรวจ วิเคราะห์ผลพัฒนาการให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม และน ำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์ผ่านกระบวนการวิจัย และนวัตกรรมในการพัฒนาและแก้ปัญหา ให้เกิดการพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่องและหลากหลาย 5.ครูจัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2564 เพื่อพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ภายใต้สถานการณ์Covid-19 โดยกิจกรรมที่ไ ม่สามารถจัดในรูปแบบ On-Site ให้ครูมีการบูรณาการในจัดในชั้นเรียนในรูปแบบออนไลน์ ออนแฮนด์ และออนดีมานด์ 6.ครูทำการประเมินผลเด็กทั้ง 4 ด้าน จากเครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็กตามจริง กระบวนการขั้น C 1.จากผลการติดตามตรวจสอบ ทุกชั้นเรียนมีครูเพียงพอ ทุกชั้นเรียนครูได้จัดสภาพแวดล้อมเพื่อเอื้อต่อการจัดประสบการณ์ ทุก ห้องเรียนมีสื่อสารสนเทศและสื่อจัดประสบการณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์เด็ก 2.จากผลการติดตามตรวจสอบ ครูทุกคนมีแผนการจัดประสบการณ์และจัดประสบการณ์ให้เด็กมีกิจกรรมในการพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ตามธรรมชาติของรายวิชา ผ่านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 3.ครูสรุปผลการจัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2654 ภายใต้สถานการณ์Covid-19 โดยกิจกรรมที่ไม่สามารถจัดใน รูปแบบ On-Site ให้ครูมีการบูรณาการในจัดในชั้นเรียนในรูปแบบออนไลน์ออนแฮนด์และ ออนดีมานด์แทนโดยการจัดกิจกร รมบรรลุเป้าหมายของกิจกรรมทุกกิจกรรม 4.จากผลการนิเทศครูระหว่างภาคเรียนพบว่าครูได้ทำวิจัยนวัตกรรมเพื่อพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน 5.ผลการประเมินผลเด็กทั้ง 4 ด้านบรรลุเป้าหมายทุกด้าน กระบวนการขั้น A : Action (การรายงานผลและนำผลไปใช้) 1.สถานศึกษานำข้อมูลจากผลการนิเทศครูระหว่างภาคเรียนที่ 1 แจ้งให้ครูทราบจุดเด่นและจุดด้อย เพื่อให้ครูได้ทำการปรับปรุง และพัฒนาตัวเองในภาคเรียนที่ 2 2.จากข้อเสนอแนะ จุดเด่น ปัญหาอุปสรรคและจุดที่ควรพัฒนาในการจัดกิจกรรมปีการศึกษา 2564ครูได้นำไปเป็นฐานในการจั ดกิจกรรมปีการศึกษา 2565 3.ผลการประเมินเด็กครูได้นำไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์ในภาคเรียนถัดไป กระบวนการขั้น +A : Accountability (ความรับผิดชอบ) 1.ครูได้ทำสรุปกิจกรรมและเผยแพร่ลงเว็บไซต์โรงเรียนและเฟสบุ๊กโรงเรียน 2.ครูได้ทำการประเมินเด็กสม่ำเสมอทั้งในและนอกห้องเรียน กระบวนการพัฒนา การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้และการให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเ พื่อนักเรียนสามารถนำไปใช้พัฒนาตนเอง (เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิด-19) หน้า 49 จาก 62


Click to View FlipBook Version