The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเผชิญเหตุ (ใหม่) มาตรการป้องกันตามการแพร่ระบาดโควิด-19 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cigaretza, 2021-11-03 21:56:51

แผนเผชิญเหตุ (ใหม่)

แผนเผชิญเหตุ (ใหม่) มาตรการป้องกันตามการแพร่ระบาดโควิด-19 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ปีการศึกษา 2564

Keywords: แผนเผชิญเหตุ

แผนเผชิญเหตุ (ใหม่)
มาตรการปอ้ งกนั ตามการแพรร่ ะบาดโควิด-19

ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

โรงเรยี นบ้านวงั พง
อำเภอซับใหญ่ จังหวดั ชัยภมู ิ
สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ



คำนำ

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease-
2019 (COVID-19) มีการระบาดในวงกว้าง องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ไดป้ ระกาศให้โรคโควิด 19 เป็นภาวะฉุกเฉิน
ทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern) โดยแนะนำให้ทุก
ประเทศเร่งรัดการเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยงจากโรคโควิด 19 สำหรับประเทศไทย พบผู้ป่วยและผู้เสียชีวิต
เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง และมีโอกาสขยายวงกว้างขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงแนวโน้มที่จะเกิดการแพร่ระบาดใน
สถานศึกษา ดังน้ัน การสร้างความตระหนักรู้เท่าทัน และเตรียมความพร้อมในการรบั มือกับการระบาดของโรคอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งเพ่ือลดความเส่ียงและป้องกันไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพนักเรียน ครู ผู้สอน
และบคุ ลากรทางการศึกษา อนั เป็นทรพั ยากรทีส่ ำคญั ในการขับเคลือ่ นและพฒั นาประเทศในอนาคต

โรงเรียนบ้านวังพงร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและผู้มีส่วนท่ีเก่ียวข้องได้ออกแผนเปิดเรียน
Onsite ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) โดยเน้น ความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและเอื้ออำนวยให้เกิดการปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เพ่ือให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย โดยมีสาระสำคัญ
ประกอบด้วยแนวปฏิบัติสำหรับบุคลากรในสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน
ผู้ปกครอง การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมบริเวณต่าง ๆ ของสถานศึกษา มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
โควดิ 19 (COVID-19) และสื่อความรอบร้ดู า้ นสุขภาพนักเรียน ตลอดจนขน้ั ตอนการดำเนินงานคดั กรองและสง่ ต่อแบบ
ประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษา แบบประเมินตนเองสำหรับนักเรียน แบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพสำหรับ
นักเรียน การจัดการเรียนการสอนชว่ งเปิดภาคเรยี น เปน็ ตน้

คณะผู้จัดทำ มุ่งหวังให้ “แผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)” ของโรงเรียนบ้านวังพงฉบับนี้ เป็นแนวปฏิบัติสำหรับ
ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง สามารถนำไปใช้เพื่อดูแลและปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องใน
การป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อไป

คณะผจู้ ัดทำ
ตลุ าคม 2564



สารบญั

หนา้

คำนำ ก

สารบญั ข

ประกาศโรงเรยี นบ้านวังพง ค

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐานโรงเรยี นบา้ นวังพง………………………………………………………………… 1

สว่ นท่ี 2 แผนรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน ………………………………………………….……. 4

ส่วนท่ี 3 มาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา ……………….. 7

ส่วนที่ 4 แนวปฏิบัตริ ะหว่างเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2/2564 …………………………………………….. 12

ส่วนที่ 5 บทบาทของบุคลากรและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง…………………………………………….. 13

ส่วนท่ี 6 การติดตามและประเมนิ ผล……………………………………………………………………….. 26

สว่ นที่ 7 ภาคผนวก ……………………………………………………………………………………………..… 27

- คำสั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมินตนเองเพ่ือเตรียมความพรอ้ ม

ก่อนเปดิ ภาคเรยี นผ่านระบบ TSC+

- ใบประกาศรบั รองผลการประเมนิ จากกรมอนามยั (TSC+)

- แบบประเมนิ ตนเองสำหรับสถานศกึ ษา ฯ

- รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

- หนังสือรบั รองจากเจ้าหนา้ ทก่ี ระทรวงสาธารณสุข

- รายงานครูและบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนทเี่ ข้ารบั วคั ซนี



ประกาศโรงเรียนบา้ นวงั พง
เรอ่ื ง ให้ใชแ้ ผนเปดิ เรยี น Onsite ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ปีการศึกษา 2564

……………………………………………………………………
แผนเปิดรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) แนบท้ายประกาศเล่มน้ี โรงเรียนบ้านวังพง สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาชัยภูมิ เขต ๓ รับนโยบายจากท่านเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และท่านผู้อำนวยการ
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต ๓ จัดทำขึ้นโดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พืน้ ฐานเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ใน
วนั ท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เพื่อสร้างความม่ันใจให้แก่นักเรียน ผปู้ กครอง และประชาชนท่ัวไปว่า โรงเรียนบ้านวังพงมี
แนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างท่ีจัดการ
เรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการท่ีกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนด และ
เป็นไปตามนโยบายต้นสงั กดั ทกุ ประการ
โรงเรียนบ้านวังพงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียน ท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เล่มนี้จะช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่
ผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี ขอบคุณคณะทำงาน ทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทำจนสำเร็จบรรลุตาม
วตั ถุประสงค์

ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔

(นางวิชชุดา ยินดี)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นวังพง

ตุลาคม ๒๕๖๔



แผนเปดิ เรียน ON Site
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2564
โรงเรยี นบ้านวังพง สงั กัดสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3

.............................................................
ส่วนที่ 1

ข้อมลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา

1.1 ขอ้ มลู พ้นื ฐาน
โรงเรยี นบ้านวงั พง ตั้งอยู่เลขที่ 75 บา้ นวงั พง หมทู่ ี่ 2 ตำบลซับใหญ่ อำเภอซบั ใหญ่ จังหวดั

ชัยภูมิ รหัสไปรษณยี ์ 36130 โทรศพั ท์044-109221 e-mail address :
[email protected]
สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 3 เปิดสอน 2 ระดับ คือ ระดบั ปฐมวัย
ช้นั อนบุ าลปที ่ี 1 - 3 และระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - 6

โรงเรยี นบ้านวังพง มเี ขตบริการ 1 หมูบ่ ้าน คอื บา้ นวงั พง หม่ทู ่ี 2 ตำบลซับใหญ่ อำเภอซบั ใหญ่
จังหวดั ชัยภมู ิ

1.2 นโยบาย
1) ส่งเสริมให้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์แก่ครู นักเรียน และบุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้

เบือ้ งตน้ เก่ยี วกับโรคโควดิ 19
2) จัดประชุมชแี้ จงคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานตามความจำเปน็ ใหเ้ ข้าใจและเหน็ ชอบ
3) จัดทำแผนงาน โครงการ และกิจกรรมรองรับนโยบายและแนวทางการป้องกันโรคโควิด 19

ของสถานศึกษา
4) แต่งต้งั คณะทำงานรบั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั โรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา ประกอบดว้ ย บุคลากร

สถานศึกษา นักเรยี น ผ้ปู กครอง เจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ และผ้เู ก่ยี วข้อง
5) กำหนดบทบาทหน้าที่ โดยมอบหมายครู ครูอนามัยหรือบคุ ลากรสถานศึกษา ทำหน้าที่

คดั กรอง วดั ไข้นักเรยี น สงั เกตสอบถามอาการเส่ียงและประสานงานเจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ ในพื้นท่ีให้บรกิ ารใน
ห้องพยาบาล รวมท้ังการดูแลทำความสะอาดในบรเิ วณสถานศึกษาและบรเิ วณจดุ เสี่ยง

6) ส่อื สารทำความเขา้ ใจผู้ปกครองและนักเรียน โดยเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรียนหรือวันแรกของ
การเปดิ เรยี นเกย่ี วกบั แนวทางการป้องกนั โรคโควิด 19 และมีช่องทางการติดต่อส่อื สาร

7) สถานศกึ ษามกี ารประเมนิ ตนเอง เพ่ือเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ของ
กระทรวงศึกษาธิการ / Thai STOP COVID กรมอนามัย หรอื ตามแบบประเมนิ ตนเองสำหรบั สถานศกึ ษาใน
การเตรียมความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรยี นเพ่ือเฝ้าระวงั และป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19

8) มมี าตรการการจัดการดา้ นความสะอาด รถรบั – ส่งนกั เรยี นและชีแ้ จงผูป้ ระกอบการ เพือ่ ป้องกัน
การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 โดยถอื ปฏิบตั ิอยา่ งเคร่งครัด



9) เสรมิ สร้างวคั ซีนชุมชนในสถานศึกษา โดยมาตรการ "4 สรา้ ง 2 ใช"้
- สรา้ งสถานศกึ ษาทีร่ สู้ ึก.."ปลอดภยั "(safety)
- สร้างสถานศึกษาที่...."สงบ" (calm)
- สร้างสถานศึกษาที่ม.ี ...."ความหวงั " (Hope)
- สรา้ งสถานศึกษาท.่ี ..."เข้าใจ เหน็ ใจและใหโ้ อกาส" (De-stigmatization)
- ใชศ้ ักยภาพสถานศึกษาและชุมชน (Efficacy) เช่น ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น

แบง่ ปนั ทรพั ยากรในชมุ ชน
- ใชส้ ายสัมพนั ธ์ในสถานศกึ ษา (Connectedness) มกี ารกำกบั ตดิ ตามใหม้ ีการ

ดำเนนิ งานตามมาตรการ เพื่อปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 อยา่ งเครง่ ครัด

1.3 ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

ตาราง 1 จำนวนบคุ ลากร

ผู้บริหาร ครูผสู้ อน พนักงาน ครู ครู เจา้ หน้าที่ อื่นๆ (ระบ)ุ
ราชการ อัตราจา้ ง พีเ่ ล้ยี ง ธุรการ 1

13- 1 1 1

1.3 ข้อมลู นกั เรียน
ตาราง 2 จำนวนนกั เรยี นของโรงเรยี นบ้านวงั พง ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ณ วันท่ี 25/10/64

จำนวนนักเรยี นท้ังหมด

ชั้น ชาย หญงิ รวม

อ.1 2 5 7
อ.3 4 1 5

รวมระดับปฐมวยั 6 6 12
ป.1/1 0 44

ป.2/1 1 1 2

ป.3/1 1 5 6

ป.4/1 2 1 3

ป.5/1 3 1 4

ป.6/1 1 2 3
รวมระดับประถมศกึ ษา 8 14 22

รวมท้ังหมด 14 20 34



1.4 สภาพทวั่ ไปและข้อมูลชมุ ชน
โรงเรียนบา้ นวังพง มีเขตบริการ คือ บา้ นวงั พง หมูท่ ี่ 2 ตำบลซบั ใหญ่ อำเภอซับใหญ่ จงั หวัด

ชยั ภูมิ มคี รวั เรือน จำนวน 120 ครวั เรอื น สภาพชุมชนโดยทว่ั ไปเปน็ ลกั ษณะของสงั คมเกษตรกรรม
ชาวบ้านสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพปลกู มันสำปะหลงั และปลูกขา้ ว นอกจากนอี้ าชีพการหาของปา่ ก็ยงั เป็น
อาชพี ท่ีนยิ มทำกันมากเน่ืองจากชมุ ชนตัง้ อย่ตู ิดกบั ภเู ขาสูง สว่ นสภาพปัญหาท่วั ไปกม็ ีสภาพปัญหาท่ีคลา้ ย ๆ
กับหมูบ่ า้ นอ่ืน ๆ ในภาคอสี าน คือ การอพยพแรงงานหลังสิน้ ฤดเู ก็บเกย่ี ว โดยผปู้ กครองสว่ นใหญ่มักจะไป
ประกอบอาชีพรบั จ้างในทตี่ ่าง ๆ ทงั้ ในกรุงเทพมหานครและตัวเมอื งใหญ่ ๆ ในด้านประเพณีและวฒั นธรรม
ชาวบา้ นนับถือศาสนาพทุ ธ โดยมีวัดเป็นศนู ยก์ ลางทางด้านจติ ใจ ดงั จะเห็นได้ในวนั พระและวันสำคัญทาง
ศาสนา วัดจะเป็นศูนยร์ วมของชาวบา้ นท่ไี ปทำบญุ และกจิ กรรมต่างๆ นอกจากนข้ี นบธรรมเนยี มประเพณี
และวฒั นธรรมของหมบู่ ้าน ส่วนมากก็คลา้ ยกับชาวอสี านทั่วๆไป

1.5 สภาพท่ัวไปและข้อมูลชุมชน
1.5.1 ลกั ษณะท่ีต้ัง
โรงเรียนบา้ นวงั พงตั้งอยู่ หม่ทู ่ี 2 ตำบลซบั ใหญ่ อำเภอซับใหญ่ จงั หวัดชยั ภูมิ สงั กดั สำนกั งาน

เขตพ้นื ท่ีการศึกษาชยั ภมู ิ เขต 3 ระยะทางจากท่ีว่าการอำเภอซบั ใหญ่ 5 กิโลเมตร ระยะทางจาก
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาชัยภมู ิ เขต 3 เปน็ ระยะทาง 40 กิโลเมตร และระยะทางจาก
จังหวดั ชยั ภูมิ 60 กโิ ลเมตร

1.5.2 อาณาเขต
ทศิ เหนือ ตดิ กบั หมู่บา้ นวงั พง อำเภอซับใหญ่ จังหวดั ชัยภมู ิ
ทิศใต้ ติดกับหมู่บ้านวงั พง อำเภอซับใหญ่ จงั หวัดชัยภมู ิ
ทิศตะวันออก ตดิ กับหมบู่ า้ นวงั พง อำเภอซบั ใหญ่ จังหวัดชยั ภูมิ
ทศิ ตะวันตก ติดกับสระนำ้ ชลประทาน อำเภอซบั ใหญ่ จังหวดั ชัยภมู ิ

1.5.3 เขตการปกครอง
มนี กั เรยี นท่มี าเรียนทั้งสิ้นรวม 1 หม่บู ้าน บ้านวังพง มีเนอ้ื ทใ่ี นความรับผดิ ชอบประมาณ

20 ไร่เศษ ประกอบดว้ ย 1 หม่บู ้าน ดงั นี้ คอื หมู่ที่ 2 บ้านวังพง
1.5.4 ประชากร
ปจั จุบันหมูบ่ า้ นวงั พง มปี ระชากรรวมประมาณ 300 คน สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี

เกษตรกรรม และนบั ถอื ศาสนาพทุ ธ

4

สว่ นที่ 2
แผนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไซต์ (On-site)

โรงเรยี นบา้ นวงั พง ไดก้ ำหนดแผนรูปแบบการจดั การเรยี นการสอนเพื่อรองรบั สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคโควิด (COVID-19) ตามมตทิ ่ีประชุมของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน ในวันท่ี 15 ตุลาคม 2564
โดยใหโ้ รงเรยี นเปิดทำการเรียนการสอน ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ในวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2564 โดย
เปดิ เรยี นแบบออนไซต์ (On-site) หรืออาจใชว้ ิธีอ่ืนๆ

โดยดำเนินการจดั นักเรียนตำ่ กว่า 25 คน ตอ่ ห้องเรียน จัดชั้นเรยี นตามมาตรฐานระยะหา่ งความปลอดภัย
(physical distancing / social distancing) และมแี ผนรูปแบบการจดั การเรียนการสอน ดังนี้

2.1 การจัดครผู ู้ดูแลนักเรียนตามหอ้ งเรียน

1. ครูประจำชั้นระดับก่อนประถมศกึ ษา

1.1 นางสาวอรอนงค์ เขยี วปาน ครูอตั ราจา้ ง ดูแลนกั เรยี นชน้ั อนุบาล 1-3

1.2 นางสาวกลั ยาณี โพสที า ครูพีเ่ ลีย้ งเด็กปฐมวัย ดูแลนักเรยี นชัน้ อนบุ าล 1-3

2. ครปู ระจำช้นั ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษา

2.1 นางสาวลทั ธวรรณ รวมครบุรี ครู คศ.1 ดแู ลนกั เรียนช้ัน ป.1-2

2.2 นายปยิ วัฒน์ ยศคำลอื ครู คศ.1 ดูแลนกั เรยี นช้นั ป.3-4

2.3 นายเกรียงศกั ด์ิ ครี ีรตั น์สกุล ครู คศ.1 ดแู ลนกั เรยี นช้ัน ป.5-6

2.2 การจัดห้องเรยี น

แผนการจัดโตะ๊ ทน่ี ง่ั ในชั้นเรยี น
1. ระดบั ช้นั อนบุ าล 1 - 3

* นกั เรียนน่ังหา่ งกัน อยา่ งน้อย 1 เมตร

5

2. ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1-2

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2

* นกั เรียนน่งั หา่ งกัน อย่างน้อย 1 เมตร

3. ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3-4

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4

* นกั เรียนนงั่ ห่างกนั อย่างนอ้ ย 1 เมตร

6

4. ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5-6

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5
* นักเรยี นน่ังหา่ งกนั อยา่ งนอ้ ย 1 เมตร

2.3 การพักรับประทานอาหาร

ใหน้ ักเรยี นพักรับประทานอาหารกลางวนั แบบเหลือ่ มเวลา โดยให้นกั เรยี นเวน้ ระยะหา่ งในการรับประทาน

อาหารอยา่ งน้อย 1 เมตร จดั เวลารบั ประทานอาหารเป็นสายชน้ั ดงั น้ี

ระดับช้ันอนบุ าล 1 - 3 เวลา 11.00 - 12.00 น.

ระดบั ชัน้ ป.1 - 6 เวลา 11.30 – 12.30 น.



ส่วนที่ 3
แนวปฏิบัติการเตรยี มการก่อนเปดิ ภาคเรียนที่ 2/2564



3.1 แนวปฏบิ ตั กิ ารเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน
โรงเรียนบา้ นวงั พงตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการเตรียมการก่อนการเปิดเรยี น เน่อื งจากมคี วามเก่ียวข้อง

กบั การปฏบิ ัติตนของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เก่ยี วข้องทุกคนในสถานศึกษา เพอ่ื ป้องกันไม่ให้มีการติดเช้ือโรค
โควิด ๑๙ (Covid-19) ตัดความเสี่ยง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน โรงเรียนบ้านวังพงจึง
กำหนดแนวปฏิบตั กิ ารเตรยี มการกอ่ นเปิดภาคเรยี น ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏบิ ัติ ดงั น้ี

๑. การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปิดเรยี น
โรงเรียนบ้านวังพงดำเนินการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ตามลิงก์ระบบ
https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school ประกอบด้วย ๖ มิติ ๔๔ ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการ
ประเมนิ ทง้ั ๔๔ ข้อ (สเี ขยี ว)

๒. รายงานผลการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ต่อที่ประชุมคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือขอความเหน็ ชอบในการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 แบบ Onsite ในวันท่ี 1
พฤศจกิ ายน 2564

3. เสนอเอกสารการประเมินตนเองและความเห็นของการเปิดเรียนของคณะกรรรมการสถานศึกษาข้ัน
พื้นฐาน และเอกสารข้อมูลจำนวนครู บุคลากรทางการศึกษา และจำนวนนักเรียนที่มีอายุ 12 ปีขึ้นไปที่ประสงค์
รับการฉัดวัคซีน เสนอต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ภายในวันที่ 22 ตุลาคม 2564 เพื่อขออนุญาตต่อ
คณะกรรมการโรคติดตอ่ จงั หวัดพจิ ารณาอนมุ ัติการเปิดเรยี นในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564

4. รณรงค์ครแู ละบคุ ลากรในสถานศกึ ษารบั การฉดี วัคซีน ร้อยละ 85 ขึ้นไป รวมทง้ั ผู้ปกครองนกั เรยี น
ไดร้ ับการฉีดวคั ซนี ใหม้ ากท่สี ุดก่อนเปิดภาคเรียน



5. ครแู ละบคุ ลากรทุกคนในสถานศกึ ษาต้องไดร้ ับการตรวจ ATK 100%
๖. เตรยี มความพรอ้ ม อาคารสถานที่ ความสะอาดบรเิ วณของสถานศึกษาให้มคี วามพร้อมในการเปดิ ภาค
เรยี น รวมทั้งส่อื เทคโนโลยตี า่ งๆ ใหพ้ ร้อมในการจดั การเรียนการสอน

แผนเผชิญเหตุ

๑๐

3.2 แผนเผชญิ เหตุ
โรงเรียนบ้านวังพงได้จัดให้มีเตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด

สม่ำเสมอ หากพบผตู้ ดิ เชือ้ หรอื พบวา่ เป็นกลุ่มเสีย่ งสงู สถานศึกษาต้องมีความพร้อมในเรื่องสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์
ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบคุ ลากรทางการแพทย์ในพ้ืนท่ี รวมท้ังการสรา้ งการรับรู้
ขา่ วสารภายใน การคัดกรองเพอ่ื แบ่งกล่มุ นกั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ดงั นี้

ระดบั การระบาด มาตรการปอ้ งกนั

ในชมุ ชน ใน คร/ู นกั เรยี น สถานศึกษา
สถานศกึ ษา

ไม่มีผู้ตดิ ไมพ่ บผู้ติด ๑. ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ ๑. เปิดเรียน Onsite
เชื้อ เช้ือ DMHTT ๒. ปฏิบัติตาม TST
ยนื ยัน ๒. ประเมนิ TST เป็น ๓. เฝา้ ระวงั คัดกรอง กรณีเด็ก พกั
ประจำ นอน,เด็กพิเศษ

มีผตู้ ิด ไม่พบผู้ตดิ ๑. ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ ๑. เปิดเรียน Onsite
๒. ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ TST
เชอื้ เชอื้ DMHTT Plus

ประปราย ยนื ยนั ๒. ประเมิน TST ทุกวัน ๓. เฝ้าระวังคดั กรอง กรณีเด็ก พัก
นอน,เดก็ พิเศษ

พบผู้ตดิ ๑.ปฏบิ ตั เิ ข้มตามมาตรการ ๑. ปิดห้องเรยี นทพ่ี บผู้ตดิ เชื้อ ๓ วัน
เชอื้ DMHTT * เน้นใสห่ นา้ กาก *เวน้ เพ่อื ทำความสะอาด ๒. เปดิ ห้องเรียน
ยนื ยันใน ระยะหา่ งระหว่าง บุคคล ๑ - ๒ ม. อืน่ ๆ Onsite ได้ตามปกติ
ห้องเรยี น ๒. ประเมนิ TST ทุกวนั ๓. สุ่มตรวจเฝา้ ระวัง
๑ ๓. ระบายอากาศทุก ๒ ชั่วโมง Sentinel Surveillance ทุก ๒
รายขึน้ ไป กรณีใช้ เคร่ืองปรบั อากาศ คร้ัง/สปั ดาห์

๔. กรณี High Risk ๔. ปฏิบัตเิ ข้มตามมาตรการ TST
Contact : งดเรยี น Onsite Plus
และกักตัวท่บี า้ น ๑๔ วัน

๑๑

ระดับการระบาด มาตรการปอ้ งกนั

ใน ใน คร/ู นักเรียน สถานศกึ ษา
ชมุ ชน สถานศกึ ษา

๕. กรณี Low Risk Contact : ๕. ปดิ หอ้ งเรยี นท่พี บผูต้ ดิ เชื้อ ๓ วัน เพอ่ื ทำ
ความสะอาดหรือ มากกวา่ ตามข้อสั่งการของ
ให้สังเกตอาการของตนเอง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
และปฏิบัติ ตามมาตรการของ
กระทรวงสาธารณสุข ๖. ปฏบิ ตั ิเข้มตามมาตรการ TST Plus

มผี ตู้ ดิ ๑. ปฏบิ ัตเิ ขม้ ตามมาตรการ ๑. พิจารณาการเปดิ เรยี น Onsite โดยเขม้

เช้อื DMHTT * เน้นใสห่ นา้ กาก * มาตรการทุกมติ ิ

เป็น เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ ง บุคคล ๒. สำหรับพื้นท่รี ะบาดแบบ กลุ่มกอ้ น
กลุม่ ๑-๒ ม. พจิ ารณาปิดโดย คณะกรรมการควบคุม การ

กอ้ น ๒. ประเมิน TST ทุกวัน แพร่ ระบาดระดับพ้นื ท่ี หากมี หลกั ฐานและ

๓. ระบายอากาศทุก ๒ ความจำเป็น ๓. สุ่มตรวจเฝ้าระวัง

ชวั่ โมง กรณี ใช้ Sentinel Surveillance ทกุ ๒ สัปดาห์

เครื่องปรับอากาศ

๔. กรณี High Risk

Contact : งดเรียน Onsite

และกักตัวท่ีบ้าน ๑๔ วัน

๕. กรณี Low Risk

Contact : ให้สงั เกตอาการ

ของตนเอง

มีการ ๑. ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ ๑. พจิ ารณาการเปดิ เรยี น Onsite โดยเขม้

แพร่ DMHTT ตามมาตรการทกุ มติ ิ ๒. สำหรับพืน้ ที่ระบาด

ระบาด ๒. เฝ้าระวังอาการเสีย่ งทุกวนั แบบ กลมุ่ ก้อน พจิ ารณาปดิ โดย
Self Quarantine คณะกรรมการควบคุม การแพร่ ระบาดระดับ
ใน
๓. ประเมิน TST ทุกวัน พน้ื ท่ี หากมี หลักฐานและความจำเป็น ๓. สมุ่
ชมุ ชน
ตรวจเฝา้ ระวงั Sentinel Surveillance ทกุ ๒

สปั ดาห์

๑๒

ส่วนที่ 4
แนวปฏบิ ตั ิระหวา่ งเปิดภาคเรยี นท่ี 2/2564

4.1 ปฏิบตั ติ าม ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม และ 7 มาตรการเขม้ งวด
โรงเรยี นบ้านวงั พงได้กำหนดมาตรการความปลอดภัยโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid – 19)

6 มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเขม้ งวด ไว้ดังนี้

๑๓

๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC)
โดยขอความร่วมมอื จากผปู้ กครอง ครู และนักเรยี น ปฏบิ ตั ิตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
ภายใต้ 6 มาตรการหลกั ได้แก่
1. เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคลอยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตร (Distancing)
2. สวมหน้ากากตลอดเวลาท่ีอยใู่ นสถานศกึ ษา (Mask Wearing)
3. ลา้ งมือดว้ ยสบแู่ ละนำ้ นาน 20 วนิ าที หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์ (Hand Washing)
4. คัดกรองวัดไข้ สังเกตอาการ ซกั ประวัติผ้สู ัมผสั เสย่ี งทกุ คนกอ่ นเขา้ สถานศึกษา (Testing)
5. ลดการแออดั ลดเข้าไปในพื้นท่ีเสี่ยง กลุม่ คนจำนวนมาก (Reducing)
6. ทำความสะอาด บรเิ วณพื้นผวิ สมั ผสั รว่ ม อาทิ ทีจ่ ับประตู ลกู บิดประตู ราวบันได เปน็ ตน้ (Cleaning)
๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
1. ดูแลตนเองปฏิบตั ติ ามมาตรการอยา่ งเครง่ ครัด (Self-care)
2. ใช้ช้อนกลางส่วนตวั เม่ือต้องกนิ อาหารร่วมกนั (Spoon)
3. กนิ อาหารปรงุ สุกใหม่ กรณอี าหารเก็บเกนิ 2 ชัว่ โมง ควรนำมาอนุ่ ใหร้ ้อนทว่ั ถึงก่อนกินอีกครงั้ (Eating)
4. ไทยชนะ ลงทะเบียนตามที่รัฐกำหนด ดว้ ยแอปพลิเคชันไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า-ออก
อยา่ งชดั เจน (Thai chana)
5. สำรวจตรวจสอบ บคุ คล นกั เรยี น และกลุ่มเสีย่ งทเี่ ดินทางมาจากพน้ื ท่ีเส่ียงเพ่ือเข้าส่กู ระบวนการคดั
กรอง (Check)
6. กกั กันตวั เอง 14 วัน เมือ่ เขา้ ไปสมั ผัสหรอื อยูใ่ นพน้ื ท่ีเสี่ยงทีม่ กี ารระบาดโรค (Quarantine)
7 มาตรการเข้มงวด
๑. สถานศึกษาผา่ นการประเมิน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมินผลผ่าน MOE Covid
2. ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัดนักเรียนใน
ห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘) ไมเ่ กนิ ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะหา่ งระหว่างนกั เรยี นในหอ้ งไมน่ อ้ ยกว่า ๑.๕ เมตร
พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั
3. จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรใน สถานศึกษาตามหลักมาตรฐาน
สุขาภบิ าลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิ เชน่ การจัดซ้ือจดั หาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบอาหาร
หรือ การสั่งซื้ออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและ ต้องมีระบบตรวจสอบทาง
โภชนาการก่อนนำมาบรโิ ภค ตามหลกั สุขาภบิ าล อาหารและหลักโภชนาการ
๔. จัดการดา้ นอนามยั สง่ิ แวดล้อมใหไ้ ดต้ ามแนวปฏบิ ัติด้านอนามยั สง่ิ แวดล้อม ในการปอ้ งกันโรคโควิด ๑๙
ในสถานศึกษาไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายใน อาคาร การทำความสะอาดคณุ ภาพนำ้ ด่ื มและการจดั การขยะ
๕. ให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซ้อมแผนเผชิญ
เหตุ รองรับการดูแลรักษาเบื้องต้น กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเชื้อโรคโควิด
๑๙ หรือผล ATK เป็นบวกโดยมกี ารซักซอ้ มอยา่ งเคร่งครัด
๖. ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดย
หลีกเลย่ี งการเข้าไปสัมผสั ในพน้ื ท่ตี า่ ง ๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง

๑๔

๗. ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาซึ่งประกอบด้วยข้อมูล ผล
การประเมนิ TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วัน และประวตั กิ ารรบั วัคซนี ตามมาตรการ

๑๕

4.2 แนวทางการจัดการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ 1-2 เรมิ่ เปิดเรียน วันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2564
มาตรการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์

สถานศกึ ษามุง่ การจัดกจิ กรรมใหก้ บั ผเู้ รียนท่ีเนน้ ให้นกั เรียมีความสขุ กบั การมาโรงเรียน ผปู้ กครองเกิด
ความเชือ่ ม่นั ในความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาเป็นสำคัญ ยังไม่เนน้ วชิ าการมากเกินไป)

1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงานกบั
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลซับใหญ่ และเจ้าหน้าท่ีอสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อช่วยคัด
กรองและใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหนา้ ประตโู รงเรยี น และนักเรยี น กอ่ นเขา้ บริเวณโรงเรยี น

2. ครูและนกั เรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย 100% มจี ุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ
บรเิ วณโรงอาหาร เป็นตน้

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อณุ หภูมสิ ูงกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี สและมอี าการไข้ ไอ จาม เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรยี นหยุดเรียนและ
ไปพบแพทยท์ นั ที

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆภายใน
โรงเรยี น นกั เรียนเว้นระยะหา่ งกนั 1-2 เมตร

5. การพกั รับประทานอาหารกลางวัน
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารท่ีอาคารปฐมวยั รับประทานอาหารเวลา 11.00 น.
- ประถมศึกษา (ป.1-6) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.

โดยมีจุดบรกิ ารสำหรบั ลา้ งมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรับนักเรยี น 2 จุด นกั เรยี นนง่ั รบั ประทานอาหารห่าง
กัน 1-2 เมตร และมกี ารทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลังรับประทานอาหารทุกคร้ัง

6. ดูแลและปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนักเรียนเป็นสำคญั

7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการตดิ ต่อประสานงานกับ อสม. และ รพ.สต. ซับใหญ่

8. หากในชมุ ชนมนี กั เรียนหรือมผี ู้ติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ให้หยุดทำการจัดการเรยี นการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ รพ.สต. ซับใหญ่ เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยเป็น
ระยะ

๑๖

ตลอด ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
มาตรการป้องกนั และแก้ไขสถานการณ์

สถานศึกษามงุ่ การจัดกจิ กรรมให้กบั ผู้เรยี นที่เนน้ ให้นักเรียนมีความสขุ กับการมาโรงเรยี น ผ้ปู กครองเกิด
ความเชือ่ มั่นในความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาเป็นสำคัญ

1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวนั โดยประสานงานกับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลซับใหญ่ และเจ้าหน้าที่อสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อช่วยคัด
กรองและใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตโู รงเรียน และนักเรียน ก่อนเขา้ บริเวณโรงเรยี น

2. ครูและนกั เรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย 100% มจี ดุ ตรวจวัดอณุ หภูมริ ่างกาย และมีจุดบริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ
บริเวณโรงอาหาร เป็นต้น

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อณุ หภมู สิ ูงกวา่ 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนอ่ื ยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ กั เรยี นหยุดเรียนและ
ไปพบแพทย์ทันที

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆภายใน
โรงเรยี น นกั เรียนเว้นระยะห่างกัน 1-2 เมตร

5. การพักรับประทานอาหารกลางวัน
- ปฐมวัย แยกรบั ประทานอาหารทอ่ี าคารปฐมวยั รับประทานอาหารเวลา 11.00 น.
- ประถมศึกษา (ป.1-6) รบั ประทานอาหารเวลา 11.30 น.

โดยมจี ดุ บรกิ ารสำหรบั ลา้ งมือก่อนเขา้ โรงอาหารสำหรบั นักเรียน 2 จุด นกั เรียนน่งั รบั ประทานอาหารห่าง
กนั 1-2 เมตร และมีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รับประทานอาหารทุกครง้ั

6. ดูแลและปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยของนักเรียนเป็นสำคญั

7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารติดตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ รพ.สต. ซับใหญ่

8. หากในชุมชนมีนกั เรยี นหรือมผี ู้ติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ให้หยดุ ทำการจัดการเรยี นการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ รพ.สต. ซับใหญ่ เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยเป็น
ระยะ

4.3 ในกรณีท่ีไม่สามารถเปดิ การเรียนการสอน แบบ Onsite ได้ โรงเรียนมกี ารวางแผนการจัดการ
เรียนการสอน ดังนี้
โรงเรียนบ้านวังพง ประสานงานกับชมุ ชน ผู้ใหญ่บา้ น กรรมการสถานศกึ ษาและผปู้ กครอง โดยแจง้

ประชาสัมพนั ธ์ผ่านเสยี งตามสายหมู่บ้าน คณะครูที่ออกเย่ยี มบา้ นและครูที่อาศัยในชมุ ชนในการประสานงาน ด้าน
การจดั การเรยี นการสอนแบบ On Demand , On Hand และ On Line การรบั -ส่งเอกสารใบงาน ใบความรู้
แบบฝึกหัดในการจัดการเรยี นการสอน โดยครปู ระจำชั้น/ประจำวชิ า กำกบั ติดตาม 1 สปั ดาห์/คร้ัง

๑๗

ปฐมวัย (อ.2-3)
ครรู ะดบั ปฐมวยั จดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยการนำเอกสารส่งที่บา้ น (On - hand) โดยให้ครอู อกเย่ียมบ้าน
พร้อม รบั -สง่ ใบงาน/แฟ้มสะสมผลงาน ของนักเรยี น โดยกำกบั ติดตาม 1 สปั ดาห์/คร้งั โดยประสานงานกับ
ผปู้ กครอง แนะนำ สนบั สนนุ ในการกำกับ ตดิ ตาม นักเรียนรายบคุ คล
วัดและประเมินผล โดยใช้วธิ ีทห่ี ลากหลายในการประเมนิ นักเรียนรายบคุ คล ตามสภาพจริง และมีการออก
เยย่ี มบา้ นและติดตามประสานงานกบั ผปู้ กครองสำหรับนักเรยี นทไี่ มเ่ ขา้ ใจในบทเรียน
ประถมศึกษาตอนต้น (ป.1-3)
ครูระดับประถมศกึ ษาตอนต้น จัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยการนำเอกสารส่งท่ีบา้ น (On - hand) โดยให้ครู
ออกเยยี่ มบา้ นพรอ้ ม รับ-สง่ ใบงาน/แฟ้มสะสมผลงาน ของนักเรยี น โดยกำกบั ติดตาม 1 สปั ดาห/์ ครง้ั โดย
ประสานงานกับผูป้ กครอง แนะนำ สนับสนนุ ในการกำกับ ตดิ ตาม นักเรียนรายบุคคล
วัดและประเมนิ ผล โดยใชว้ ธิ ที ีห่ ลากหลายในการประเมนิ นักเรยี นรายบคุ คล ตามสภาพจริง และมกี ารออก
เยีย่ มบ้านและติดตามประสานงานกบั ผปู้ กครองสำหรับนักเรยี นทไ่ี ม่เขา้ ใจในบทเรยี น
ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-6)
ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย จดั กจิ กรรมด้านการจดั การเรียนการสอนแบบ On Demand , On Hand
และ On Line ผ่านเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต ผ่าน Google Meet และมีการรับ-สง่ เอกสารในการจัดการเรยี นการสอน
โดยกำกับติดตาม 1 สปั ดาห์/คร้ัง เพ่อื การกำกบั ตดิ ตาม นักเรยี นรายบุคคล อีกทง้ั แนะนำในการทำใบงานกอ่ นการ
เรยี น On Demand และ On Line หากนกั เรียนคนใดไม่สามารถท่จี ะเรยี น On Demand และ On Line ได้ ก็
สามารถทำความเขา้ ใจจากใบงาน On Hand ได้ และสามารถการนดั หมายพบปะในครั้งต่อไป
ครูประจำช้ัน/ประจำวชิ า กำกบั ตดิ ตาม วัดและประเมินผล โดยใช้วธิ ที ี่หลากหลายในการประเมนิ
นักเรียนรายบคุ คล ตามสภาพจรงิ และมีการออกเยี่ยมบา้ นและตดิ ตามประสานงานกับผู้ปกครองสำหรับนักเรียนท่ี
ไม่เข้าเรยี น On Line และนกั เรยี นทมี่ ารบั ใบงานไมไ่ ด้เน่ืองจากอย่หู า่ งไกล

๑๘

สว่ นที่ 5
บทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง

๑๙

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ยังคงมีการแพร่ระบาด
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) โรงเรยี นบ้านวงั พงไดก้ ำหนดบทบาทของบุคลากรและหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง ดงั นี้

๑. บทบาทของนักเรียน
นักเรียนเป็นหัวใจสำคัญที่ต้องได้รับความคุ้มครอง ดูแลในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุด ทั้งนี้ นักเรียน
จะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ อย่าง

๒๐

เคร่งครัด ตั้งแต่การเดินทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยู่ในโรงเรียน จนถึงการกลับบ้าน บทบาทของ
นักเรยี น ควรมดี ังนี้

๑) เตรยี มความพร้อมในเรื่องอุปกรณ์การเรียน เครื่องใชส้ ว่ นตัว และอนื่ ๆ ท่ีจำเป็นสำหรับการเรียน การ
สอน

๒) ปฏิบัติตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวด ของสถานศึกษากำหนด
อยา่ งเคร่งครดั

๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของ
โรค ตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหลง่ ข้อมลู ทีเ่ ชอ่ื ถือได้

๔) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ และสังเกต
อาการป่วยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มนี ้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไม่ไดก้ ลิน่ ไม่รู้รส รีบแจง้ ครู
หรอื ผปู้ กครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยดว้ ยโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) หรอื
กลบั จากพน้ื ทเ่ี สีย่ ง และอยใู่ นช่วงกักตวั ใหป้ ฏบิ ตั ิตามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ อย่างเคร่งครดั

๕) ขอคำปรึกษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเกี่ยวกับการเรียน อุปกรณ์การเรียนเรียน เครื่องใช้
ส่วนตัว หรือพบความผิดปกติของร่างกายที่อาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) ทันที

๒. บทบาทของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ครูและบุคลากรทางการศึกษานั้น ซึ่งถืออยู่ใกล้ชิดนักเรียน มีหน้าที่สำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้แก่
นักเรียนทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการ
สอน นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้ว ยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วย โดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตามมาตรการท่ี
กระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด บทบาทของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ควรมดี งั นี้
๑) ประชุมออนไลน์(Online) ชี้แจงผู้ปกครองนักเรียนเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน ในการป้องกัน การ
เฝา้ ระวงั การเตรียมตัวของนกั เรยี นใหพ้ รอ้ มก่อนเปิดเรียน
๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอและสังเกต
อาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่นไม่รู้รส ให้หยุด
ปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
หรอื กลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยใู่ นชว่ งกักตวั ใหป้ ฏบิ ัติตามคำแนะนำของเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ อยา่ ง เคร่งครดั
๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ( Covid-
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของ
โรค ติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) จากแหล่งขอ้ มลู ที่เชอ่ื ถอื ได้
๔) จดั หาสอ่ื ประชาสัมพนั ธใ์ นการป้องกนั และลดความเสย่ี งจากการแพร่กระจายโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก อนามัย
คำแนะนำการปฏิบัติตวั การเวน้ ระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาด หลกี เลย่ี งการทำกิจกรรม ร่วมกันจำนวน
มากเพอื่ ลดจำนวนคน

๒๑

๕) ปฏิบัติตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวดของสถานศึกษา กำหนด
อย่างเครง่ ครัด

๖) คอยดูแล สอดส่องช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องสุขอนามัยให้เป็นไปตามมมาตรการที่ กระทรวง
สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนด ได้แก่

(๑) ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรียนทุกคนที่เข้ามาในโรงเรียนในตอนเช้า ใช้เครื่องวัด
อุณหภูมิร่างกายพร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บ
คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์ สติกเกอร์หรือตราปั๊ม แสดงให้เห็นชัดเจน
วา่ ผา่ นการคัดกรองแล้ว

(๒) กรณีพบนักเรียนหรือผู้มีอาการมีไข้ อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสข้ึน
ไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึง่ จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ประสานโรงพยาบาลส่งเสริม
สขุ ภาพประจำตำบล หรอื เจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ เพื่อตรวจคัดกรองอีกครั้ง หากพบวา่ ผลตรวจเบอื้ งเป็นบวกจึง แจ้ง
ผู้ปกครองมารับ จากนั้นแจ้งผู้บริหารหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และมาตรการ
ป้องกนั ตามระดับการแพรร่ ะบาดโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ของสถานศกึ ษา

(๓) บนั ทึกผลการคัดกรองและสง่ ต่อประวตั กิ ารปว่ ย ตามแบบบนั ทกึ การตรวจสุขภาพ
(๔) จดั อุปกรณ์การล้างมือ พรอ้ มใชง้ านอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอลว์ างไว้บริเวณ ทางเข้า
สบ่ลู ้างมือบรเิ วณอ่างล้างมือ
๗) ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุม่ เสีย่ ง ต่อการ ติด
โรคโควิด 19 และรายงานตอ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา
๘) ปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกำหนด ด้วยการแก้ปัญหาการ
เรยี นรูใ้ หม่ใหถ้ กู ต้อง นั่นคือ “สร้างพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค์” หรอื “ลดพฤติกรรมทไ่ี ม่พึงประสงค”์
๙) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติ ที่มีการ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) และนำกระบวนการการจัดการความเครียด การฝึก
สติใหก้ ลมกลนื และเหมาะสมกบั นักเรยี นแต่ละวยั รว่ มกับการฝึกทักษะชีวติ ทเ่ี สริมสร้างความเข้มแข็งทาง
ใจ (Resilience) ใหก้ ับนกั เรียน ได้แก่ ทักษะชวี ิตด้านอารมณ์ สงั คม และความคิด เปน็ ตน้
๑๐) สังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรียนจำนวนมาก และกำกับ
ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรการป้องกนั การติดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เปน็ บทบาทสำคัญอาจจะ สร้าง
ความเครยี ดวิตกกังวลทั้งจากการเฝ้าระวังนักเรียน และการป้องกันตวั เองจากการสัมผัสกับเชื้อโรค ดังน้ัน เมื่อครู
มีความเครยี ด จากสาเหตตุ า่ งๆ มีข้อเสนอแนะ ดังน้ี
(๑) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของโรงเรียนที่ไม่ชัดเจน แนะนำให้สอบถาม กับผู้บริหาร
โรงเรยี นหรอื เพอื่ นร่วมงาน เพ่อื ใหเ้ ข้าใจบทบาทหน้าท่แี ละข้อปฏบิ ัตทิ ตี่ รงกัน
(๒) กรณมี ีความวติ กกังวล กลัวการตดิ เชื้อในโรงเรียน ใหพ้ ดู คยุ ส่อื สารถึงความไมส่ บายใจ และ
รอ้ งขอส่ิงจำเปน็ สำหรบั การเรยี นการสอนท่เี พียงพอต่อการป้องกันการติดโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) เชน่ สถานท่ี สื่อการเรียนการสอน กระบวนการเรยี นรู้ การสง่ งานหรอื ตรวจการบ้าน เปน็ ตน้ หาก ตนเองเป็น
กลุ่มเสี่ยง หรือมีโรคประจำตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจ รักษาตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุข และ
กระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด

๒๒

(๓) จัดให้มีกิจกรรมบำบัดความเครียด โดยการฝึกสติให้เป็นกิจวัตรก่อนเริ่มการเรียนการสอน
เพ่อื ลดความวิตกกังวลต่อสถานการณท์ ตี่ งึ เครียดน้ี

๑๑) กำกับและติดตามการได้รับวัคซีนของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการท่ี
กำหนดและเปน็ ปัจจบุ ัน

๓. บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนตั้งแต่การวางแผน การกำหนดนโยบาย
สถานศึกษา การเตรียมความพร้อมการเปิดเรียน การส่งเสริมครูในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน การ
กำกับ ติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหา การประเมินสถานการณ์ การ
รายงาน ตลอดจนร่วมมือกับครูและบุคลากร ผู้ปกครองนักเรยี น ให้การตรวจสอบสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เพ่ือความปลอดภยั ของนกั เรียน โดยบทบาทของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
ควรมี ดงั นี้
๑) จัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง
นกั เรียน ผู้นำชมุ ชน และมีมติให้ความเหน็ ชอบรว่ มกันในการจดั พนื้ ท่ี และรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน
๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ในโรงเรยี น
๓) แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา ๒๐๑๙ (Covid-19) ประกอบด้วย นักเรียน ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ท้องถิ่น ชุมชน และ
ผู้เกยี่ วข้อง
๔) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผล
ผ่าน MOE Covid
๕) ทบทวน ปรบั ปรงุ ซักซอ้ มปฏิบตั ิตามแผนเผชญิ เหตุของโรงเรยี นในภาวะทีม่ ีการระบาด ของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๖) จัดให้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา ๒๐๑๙ (Covid-19) เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนให้แก่ครู
นักเรยี น ผ้ปู กครอง และคณะกรรมการโรงเรยี น ผา่ นช่องทางสอื่ ทเ่ี หมาะสม และตดิ ตามขอ้ มูลขา่ วสารที่เกี่ยวข้อง
จาก แหลง่ ข้อมลู ทีเ่ ช่อื ถอื ได้
๗) สนบั สนุนให้นักเรยี น ครูและบคุ ลากรไดร้ ับวัคซนี ครบโดส ต้ังแตร่ ้อยละ 85 ข้ึนไป
๘) สนบั สนุนใหม้ ีการตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครัฐ
๙) สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมินตนเองผ่าน
Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑจ์ ำแนกเขตพ้นื ท่กี ารแพร่ระบาด
๑๐) สื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อลดการรังเกียจ และลดการตีตราทางสังคม ( Social
Stigma) กรณพี บว่ามีบคุ ลากรในโรงเรยี น นักเรียน หรอื ผ้ปู กครองติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๑๑) กำหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในโรงเรียน (Point of Entry)
ให้แก่ นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพื้นที่แยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้า หรือ

๒๓

หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง
และเจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ ในกรณที พ่ี บนักเรยี นกลมุ่ เส่ยี งหรือสงสยั

๑๒) จัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่าง
ต่อเนื่อง ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดโรงเรียน การจัดให้มีการเรียนการสอน
ทางไกล สอื่ ออนไลน์ การติดตอ่ ทางโทรศัพท์ หรือ Social Media เป็นรายวนั หรือรายสัปดาห์

๑๓) กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาในโรงเรียน ให้
รบี แจ้งเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุขในพ้ืนทเี่ พื่อดำเนินการสอบสวนโรค และพจิ ารณาดำเนินการตามแผนเผชญิ เหตุ และ
มาตรการป้องกันตามระดับการแพรร่ ะบาดโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสถานศึกษา

๑๔) มีมาตรการให้นักเรยี นไดร้ ับอาหารกลางวันและอาหารเสรมิ นม ตามสิทธิที่ควรไดร้ ับ กรณีพบอยู่ใน
กลุ่มเสี่ยงหรอื อยู่ในชว่ งกักตวั

๑๕) ควบคุม กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดําเนินงาน ตามมาตรการป้องกัน การแพร่
ระบาดภายในโรงเรียนอย่างเครง่ ครดั และต่อเนอื่ ง

๑๖) เยยี่ มบ้าน สรา้ งขวัญกำลงั ใจนักเรียน ทั้งนกั เรียนท่ีมาเรียนแบบปกติ และทไี่ มส่ ามารถมาเรียน แบบ
ปกตไิ ด้

๔. บทบาทของผปู้ กครองนกั เรยี น
ผู้ปกครองนักเรียนเป็นบุคคลท่ีมสี ำคัญยิ่ง มีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใสน่ กั เรียนและตนเอง ในด้านสขุ อนามัย
และการป้องกันความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ( Covid-19)อย่าง
เคร่งครัด ต้องให้ความร่วมมือกับโรงเรียน ครูประจำชั้น หรือครูที่ปรึกษา เกี่ยวกับมาตรการการดูแลนักเรียน
ผู้ปกครอง นักเรียนจงึ มีบทบาทสำคัญร่วมกับครูเพื่อชว่ ยนักเรียนทั้งในเร่ืองการเรียนรู้และการดูแลความปลอดภยั
ของ นกั เรียน บทบาทของผปู้ กครองนักเรียน ควรมดี งั น้ี
๑) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ( Covid-
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของ
โรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหลง่ ข้อมูลที่เชอื่ ถือได้
๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเอง นักเรียน และคนในครอบครัวผ่านแอปพลิเคชัน Thai Save
Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ สังเกตอาการป่วยของนักเรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมีอาการไข้
ไอ มี น้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่น
กับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) หรือกลบั จากพน้ื ทเ่ี สี่ยงอยู่ในช่วงกกั ตัวใหป้ ฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อย่าง
เคร่งครัด
๓) จัดหาของใช้ส่วนตัวใหน้ ักเรยี นอยา่ งเพยี งพอในแตล่ ะวัน ทำความสะอาดทุกวนั เช่น หนา้ กากผา้ ช้อน
สอ้ ม แก้วนำ้ แปรงสีฟัน ยาสฟี นั ผา้ เชด็ หน้า ผา้ เช็ดตัว เป็นต้น
๔) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และกำกับดูแลนักเรียนให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้
ส้วม หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดี หลังเล่นกับเพื่อน และ
เมอ่ื กลบั มาถงึ บ้าน ควรอาบนำ้ สระผม และเปลย่ี นชดุ เส้ือผ้าใหม่ทันที

๒๔

๕) ดูแลสุขภาพนักเรียน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ ๕
หม่แู ละผัก ผลไม้ ๕ สี และควรจัดอาหารกลอ่ ง (Box Set) ให้แกน่ กั เรยี นในชว่ งเชา้ แทนการซื้อจากโรงเรียน (กรณี
ที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากทีบ่ ้าน) เพื่อเสริมสร้างภูมคิ ุ้มกัน ออกกำลังกาย อย่างน้อย ๖๐ นาที ทุกวันและ
นอนหลบั อย่างเพียงพอ ๙ - ๑๑ ช่วั โมงตอ่ วนั

๖) หลีกเลี่ยงการพานักเรียนไปในสถานเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) สถานที่
แออัดที่มีการรวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ๗
ขั้นตอน ดว้ ยสบู่และน้ำนาน ๒๐ วินาที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์
๗) กรณีนักเรียนเดินทางมาโรงเรียน โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรือรถอื่น ๆ ผู้ปกครองและโรงเรียนต้องขอ ความ
รว่ มมอื กับคนขบั รถใหป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรการของสาธารณสขุ อย่างเคร่งครัด

๘) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการ ดูแล
จัดการเรยี นการสอนแกน่ ักเรียน เช่น การสง่ การบ้าน การรว่ มทำกจิ กรรม เป็นต้น

๕. บทบาทขององค์กรสนบั สนุน
๕.๑ สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา

๑) ประชาสมั พนั ธ์สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจให้โรงเรียนในสังกัด เกี่ยวกับการปอ้ งกนั ตนเอง การ
ดูแล สุขอนามยั ของตนเอง และบุคคลในครอบครวั

๒) ประสานงานองคก์ รต่างๆ ในเขตพืน้ ท่ีการศึกษาในการชว่ ยเหลือสนบั สนนุ โรงเรียน
๓) นิเทศ กำกับ ตดิ ตาม โรงเรยี นในสงั กัดด้านการบรหิ ารโรงเรยี นภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่
ระบาด ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๔) กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสงั กดั ด้านการบริหารขอ้ มลู สารสนเทศเกยี่ วกับการได้รบั
วัคซีน ของนกั เรยี น ครู ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น และผ้ปู กครองนกั เรยี นใหไ้ ด้รับวคั ซีนตามมาตรการที่กำหนด
๕) รายงานผลการดำเนินการตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กดั ใหท้ ราบความเคล่ือนไหวอย่างต่อเนือ่ ง
สม่ำเสมอ ๖) ประชุม ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา สร้างขวัญกำลังใจในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ท้ัง
แบบปกติและแบบทางไกล
๕.๒ สำนกั งานสาธารณสุข
๑) ให้คำแนะนำเกีย่ วกบั ข้อควรปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษา สนบั สนนุ การดำเนินงานของโรงเรยี นให้
สอดคล้องตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
๒) สนบั สนนุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชดุ ตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อปุ กรณว์ ัด
อณุ หภมู ิ หนา้ กากอนามัย เจลล้างมอื ฯลฯ
๓) สนับสนุนบคุ ลากรทางการแพทยใ์ นการบริการตรวจคัดกรองความเสี่ยงใหแ้ ก่ นักเรียน
ครู และบุคลากรทางการศึกษา
๔) จัดให้มชี อ่ งทางการส่ือสาร การให้ข้อมลู ขา่ วสารท่ีถกู ต้อง เป็นปจั จบุ นั ให้กบั สถานศกึ ษา และ
จดั ระบบสนับสนุนเมื่อมีนกั เรียน ครหู รือบคุ ลากรมีความเสี่ยงตอ่ การติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๔) สำรวจ ตดิ ตามสถานการณ์ในพนื้ ที่บริการอย่างตอ่ เนื่อง กรณี พบผมู้ ีอาการเสี่ยงหรือ

๒๕

ป่วย ต้องดำเนินการทันที และรายงานให้สถานศึกษาทราบเพื่อดำเนินการตามมาตรการต่อไป ๖) ออกให้บริการ
ตามที่สถานศึกษาร้องขอ เช่น จัดเจ้าหน้าที่ อสม.ประจำหมู่บ้าน ตำบล ตรวจเวรยาม บันทึกตู้แดงตามจุดท่ี
โรงเรียนกำหนด และอน่ื ๆตามความตอ้ งการจำเป็น

๕.๓ องคก์ รทางปกครอง
๑) ประชาสมั พันธส์ ร้างความเขา้ ใจให้โรงเรยี น และชุมชนในเขตการปกครองมีความรู้ความเข้าใจ เกยี่ วกับ
การป้องกันตนเอง การดแู ลสุขอนามยั ของตนเอง และบุคคลในครอบครัว
๒) สนบั สนนุ ช่วยเหลือโรงเรียนในเขตปกครองตามคำสัง่ ของจงั หวดั อย่างเครง่ ครัด
๓) กำกบั ติดตามการได้รบั วคั ซีนของประชาชนในเขตปกครองและมขี ้อมลู ทางสถิติท่ีอา้ งองิ เช่ือถือได้
๔) ใหบ้ รกิ ารตามที่สถานศึกษาร้องขอตามความต้องการเรง่ ด่วนและจำเปน็
๕.๔ องค์กรเอกชน
๑) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณ์วัด
อุณหภมู ิ หนา้ กากอนามยั เจลล้างมอื ฯลฯ
๒) สนับสนุนงบประมาณให้แก่สถานศึกษาในการนำไปใช้บริหารจัดการภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๓) อำนวยความสะดวกให้ความชว่ ยเหลือกรณีฉุกเฉิน จำเป็นในการส่งตัวนักเรียน ครูและบคุ ลากรที่ คาด
ว่าจะไดร้ บั เชอ้ื หรือเป็นกลุ่มเส่ียงส่งหน่วยงานสาธารณสุขได้อย่างรวดเร็ว
๔) สร้างระบบการติดตอ่ สือ่ สารหน่วยงานภายในจังหวดั อำเภอ ตำบล ใหม้ ีความรวดเร็วในการ ชว่ ยเหลอื
ดูแล นักเรียน ครู บุคลากร และผู้ปกครอง ทสี่ ถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๒๖

ส่วนท่ี 6
การตดิ ตามและประเมนิ ผล

การติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการสำคัญที่จะต้องดำเนินการ ให้เป็นไปตามแนวทางการ
เตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัส โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดไว้ เพื่อติดตาม ดูแลช่วยเหลือหรือ
แก้ไขปญั หา รับทราบความก้าวหน้า ปญั หาอุปสรรคของการดำเนนิ งาน และข้อเสนอแนะ ดังนี้

สถานศึกษากำหนดหรือแต่งตั้งผู้รับผิดชอบดำเนินการตามแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยให้ มี
การตดิ ตามและประเมินผล ดงั นี้

๑) การนำแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์ การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การ
ปฏิบตั ิ

๒) การประเมินตนเองผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมินผล
ผา่ น MOE Covid

๓) การปฏบิ ตั ิตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ท้ัง ๔ องค์ประกอบ
๔) การปฏบิ ตั ิตาม ๗ มาตรการเข้มของสถานศกึ ษาระหว่างการจดั การเรียนการสอน
๕) การทำและการปฏิบตั ิตามแผนการเผชิญเหตทุ ี่กำหนดไว้

ขอ้ เสนอแนะ / ข้อคิดเหน็ อื่นๆ
การสนบั สนุนหนา้ กากอนามยั แอลกอฮอล์ และเจลแอลกอฮอลส์ ำหรับลา้ งมือ สำหรับนักเรยี นท่ีขาด
แคลน เพื่อใช้ในชว่ งการจดั การเรียนการสอนแบบ Onsite

๒๗

ภาคผนวก


































Click to View FlipBook Version