The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เสียงกู่เพื่อความเสมอภาค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ittiruth kullertpittaya, 2020-11-25 22:14:53

เสียงกู่เพื่อความเสมอภาค

เสียงกู่เพื่อความเสมอภาค

เสยี งกูเ่ พอ่ื ความเสมอภาค

“เร่อื งเลา่ จากครทู ท่ี ำ� งานกับกลุ่มเด็กบนทอ้ งถนน”

Thailand

สารบัญ

“เร่ืองเลา่ จากคร”ู หนา้
สะทอ้ นภาพเด็กบนทอ้ งถนน
สู่การเตรียมตวั ลงถนนการท�ำงาน 5

เน้ือหา 6
7
1. ครตู อ้ งมที ัศนคติต่อเด็กบนทอ้ งถนนอย่างไร ? 8
2. ครขู ้างถนนหรือคนท�ำงานดา้ นเดก็ บนทอ้ งถนน 12
ตอ้ งมคี วามรู้และทักษะพเิ ศษเรื่องอะไรบา้ ง?
3. หากเดก็ ปฏเิ สธความชว่ ยเหลือครูท�ำอยา่ งไร?
4. กรณกี ารช่วยเหลอื จนไดร้ บั ความสำ� เร็จน่าภูมใิ จ
5. มิติใหมข่ องเดก็ เรร่ ่อนท่หี ายไปจากท้องถนน

2

เสียงกู่เพอ่ื ความเสมอภาค Thailand

ค�ำใหก้ าร…ของคนท�ำงาน!!!
เสยี งกู่เพื่อความเสมอภาค
“เรื่องเล่าจากครูทีท่ ำ� งานกับกลุม่ เดก็ บนท้องถนน”

1. ท�ำไมตอ้ งมคี มู่ ือน้ี
การช่วยเหลอื และส่งเสรมิ การเรยี นรู้ส�ำหรับกลุ่มเดก็ บนท้องถนน เพ่อื พัฒนาให้เดก็ กลุ่มเปราะบาง
และเด็กด้อยโอกาสทางสงั คม ได้เข้าถงึ โอกาสทางการศกึ ษาเพือ่ เป็นทรพั ยากรของชาตทิ จ่ี ำ� เป็นต่อไปนน้ั เป็น
เร่อื งท่ียากและต้องใช้ระยะเวลานาน และองค์ประกอบท่สี ำ� คญั ในการขบั เคล่ือนงานน้คี ือครูหรือคนท�ำงาน
เก่ียวกับเด็กบนท้องถนน แต่ที่ผ่านมาครูและคนท�ำงานเร่ืองนี้กับมีจ�ำนวนลดลงเร่ือย ๆ จะด้วยเหตุผล
หลาย ๆ ด้านไม่ว่าเศรษฐกจิ ความก้าวหน้าในสายอาชพี ปัจจัยสนับสนนุ จากภาครัฐหรอื เอกชนมนี ้อยลงแต่
ปัจจัยที่ว่ามาน้ันก็อาจจะยังไม่ใช้สาเหตุท่ีส�ำคัญเท่ากับการหมดก�ำลังใจหรือขาดแรงบันดาลใจในการท�ำงาน
เพราะฉะน้ันคู่มือเล่มนี้จึงได้รวบรวมเร่ืองเล่าจากครูข้างถนนหรือคนท�ำงานด้านเด็กบนท้องถนนที่มีชื่อเสียง
หลายท่าน มาถ่ายทอดวธิ คี ิด ทัศนะมุมมองในการท�ำงาน เพือ่ เป็นแนวทาง สร้างแรงบนั ดาลใจ และส่งเสรมิ
ก�ำลังใจในการทำ� งานให้ครขู ้างถนนหรอื คนท�ำงานเก่ยี วกับเด็กบนท้องถนนรุ่นใหม่ ๆ ต่อไป
1.1 เด็กบนท้องถนน (Children in Street) หมายถงึ กลุ่มเดก็ ทีด่ ้อยโอกาส อยู่ในสภาวะยากล�ำบาก
มีความเปราะบาง หรอื อยู่ในภาวะเส่ยี งท่จี ะไม่สามารถเข้าถงึ บริการการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ ใช้ชีวติ ตามลำ� พงั
หรือกับกลุ่มเพอ่ื น หรือกบั ผู้ปกครองในพน้ื ทส่ี าธารณะท่อี าจเป็นข้างถนนสายหลกั บรเิ วณใต้สะพาน ท่วี ่าง
ท่ีเป็นพน้ื ท่สี าธารณะในชมุ ชน ใกล้พน้ื ทกี่ ่อสร้าง หรือบรเิ วณศนู ย์การค้าขนาดใหญ่ ร้านเกมส์ ฯลฯ โดยมกั
จะใช้เวลาในพ้นื ท่ีสาธารณะดงั กล่าวต้งั แต่ช่วงบ่ายไปถงึ เวลาดกึ ซง่ึ เดก็ เหล่านอ้ี าจมาจากครอบครวั แตกแยก
ถกู ทำ� ร้ายจนต้องหลบหนี ถกู ทอดท้งิ จากพ่อแม่ผู้ปกครอง กำ� พร้า ฯลฯ อาจมที อี่ ยู่ประจ�ำทแ่ี น่นอนหรอื ไม่
แน่นอนกไ็ ด้ ในกรณีที่มที ่อี ยู่อาศยั และหรอื อยู่กบั ผู้ปกครอง สภาพของทอ่ี ยู่อาศยั จะทรดุ โทรม อยู่ในทร่ี กร้าง
และโดยรวมมกั จะมฐี านะยากจนขดั สน ไม่สามารถพึง่ ตนเองได้แม้กระทง่ั การด�ำรงชีวติ ระดบั พ้นื ฐาน และ
ไม่มีศกั ยภาพพอทจ่ี ะเข้าถงึ การศึกษาอย่างมคี ณุ ภาพได้ หรอื มีแนวโน้มจะไม่ได้รบั การศกึ ษา หรือหลุดออก
จากระบบการศกึ ษากลางคันเน่อื งจากฐานะทางการเงนิ เดก็ กลุ่มน้นี อกจากอยู่กับผู้ปกครองแล้ว ยงั มเี ด็กท่ี
ต้องใช้ชวี ติ ตามล�ำพงั หรืออยู่ร่วมกบั เดก็ อนื่ ทม่ี ีสภาพการดำ� รงชีวติ ท�ำนองเดยี วกัน กลุ่มเดก็ เหล่าน้ยี งั รวมถงึ
กลุ่มเด็กทต่ี ้องอาศัยความช่วยเหลอื จากองค์กร มูลนธิ ิ หน่วยงานต่าง ๆ ในเร่อื งการดำ� รงชวี ติ ด้านทีอ่ ยู่อาศยั
มีอาหาร และปัจจยั เบ้ืองต้นในการด�ำรงชีวติ แต่ยังไม่ได้รบั ความช่วยเหลอื ทางการศึกษาอย่างเพยี งพอ

3

Thailand เสียงกเู่ พ่ือความเสมอภาค

อาจจ�ำแนกกล่มุ เด็กเป้าหมายของครแู ละคนท�ำงานออกไดเ้ ปน็ 3 กล่มุ ดังน้ี
1. กลุ่มเดก็ บนท้องถนน เป็นกลุ่มทค่ี รแู ละคนท�ำงานน่าจะเข้าถงึ และท�ำงานด้วยได้ยากทส่ี ดุ เป็น
กลุ่มเด็กทต่ี ้องใช้ทักษะในการท�ำงานขน้ั สูง
2. กลุ่มเดก็ ท่ดี ้อยโอกาสทางการศกึ ษา เป็นเดก็ อายรุ ะหว่าง 3-18 ปีทคี่ วรจะอยู่ในระบบการศกึ ษา
แต่ด้วยอปุ สรรคหลายประการเดก็ กลุ่มนี้จึงไม่ได้อยู่หรอื ถกู ผลักออกนอกระบบการศกึ ษา และระบบทีม่ ีใน
ปัจจบุ นั กไ็ ม่สามารถเข้าถงึ เด็กกลุ่มนีไ้ ด้ กลุ่มนี้เป็นภาระงานทโ่ี ครงการฯ ไม่สามารถดดู ายได้
3. กลุ่มเดก็ ท่อี ยู่ในภาวะเสี่ยง หรอื กลุ่มเด็กที่เปราะบางในด้านการศกึ ษา ปัจจบุ ันเด็กเหล่านย้ี ังอยู่
ในระบบการศกึ ษา แต่กพ็ ร้อมท่จี ะหลุดออกจากระบบการศกึ ษาได้จากภาวะความเส่ยี งต่าง ๆ
1.2 ครูข้างถนน หมายถึง บุคคลทท่ี ำ� หน้าอทุ ศิ ชวี ติ ในการช่วยเหลอื กลุ่มเดก็ บนท้องถนน บคุ คลที่
กลุ่มเด็กบนท้องถนนไว้วางใจเป็นอย่างย่งิ พร้อมท่จี ะเปิดเผยชวี ติ ของตนเอง พร้อมทจ่ี ะมกี ารเปล่ยี นแปลง
จากเดก็ บนท้องถนนเป็นเดก็ ปกติทัว่ ไป กลับคนื สู่ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม (ทองพลู บวั ศรี และแววรุ้ง
สุบงกฎ, 2553)
1.3 คู่มือน้ีเป็น การน�ำเสนอมมุ มองทศั นคติเชิงบวกจากครขู ้างถนนหรอื คนท�ำงานเกย่ี วกบั เด็กบน
ท้องถนนทม่ี ชี ื่อเสียง เพื่อเป็นแนวทาง สร้างแรงบนั ดาลใจ และส่งเสรมิ กำ� ลังใจในการท�ำงานให้ครขู ้างถนน
หรือคนทำ� งานเกย่ี วกบั เด็กบนท้องถนนรุ่นใหม่: เสยี งกู่เพือ่ ความเสมอภาค
1.4 คู่มือ E-book ชดุ นปี้ ระกอบด้วยเอกสาร 4 เล่มคอื
1.4.1 แนวทางการบรหิ ารจดั การส�ำหรบั การช่วยเหลอื และส่งเสรมิ การเรยี นรู้ส�ำหรบั กลุ่ม
เดก็ บนท้องถนน : โตค้ ล่ืนงานบรหิ ารจดั การ
1.4.2 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ส�ำหรับกลุ่มเดก็ บนท้องถนน: จดั การใหเ้ รียนรู้
1.4.3 เรื่องเล่าจากครทู ่ที �ำงานกบั กลุ่มเด็กบนท้องถนน: เสยี งกูเ่ พือ่ ความเสมอภาค
1.4.4 การท�ำงานของครทู ่ที �ำงานกบั กลุ่มเด็กบนท้องถนน: ฐานรากจิตอาสา
2. วัตถปุ ระสงค์เพอื่ อะไร

2.1 เพ่ือเป็นการแลกเปล่ยี นประสบการณ์ในการเตรยี มตวั เป็นครหู รอื คนท�ำงานด้านเดก็ บนท้องถนน
2.2 เพอ่ื เสรมิ สร้างแรงบนั ดาลใจและก�ำลงั ใจในการท�ำงานให้ครูหรอื คนท�ำงานด้านเดก็ บนท้องถนน
รุ่นใหม่


3. กลุ่มเปา้ หมายผู้ใชค้ มู่ อื ฉบบั น้ีคอื ใครบ้าง
กลุ่มเป้าหมายผู้ใช้คู่มอื คอื คนทที่ �ำงานกบั เดก็ เร่ร่อนบนท้องถนน และครูรุ่นใหม่

4

เสยี งกเู่ พอ่ื ความเสมอภาค Thailand

“เรอ่ื งเลา่ จากครู”
สะท้อนภาพเดก็ บนท้องถนน
สู่การเตรยี มตัวลงถนนการทำ� งาน

ครูต้องมีทศั นคติต่อเด็กบนท้องถนนอยา่ งไร ? ขโมยน้อยเพ่อื ให้ได้เงนิ มาไปเล่นเกม ซ่งึ อนาคตกอ็ าจกลาย
เป็นอาชญากรได้ในทส่ี ดุ ”
ครูจว๋ิ ทองพลู บัวศรี มลู นิธิสร้างสรรค์เดก็ (สัมภาษณ์ “แนวหน้า” 7 ตลุ าคม พ.ศ. 2562)
เด็กบนท้องถนนในท่นี แ้ี บ่งเป็น 3 กลุ่มหลักๆ ได้แก่
เด็กทอี่ อกจากบ้านมาอาศยั อยู่บนถนน เดก็ เร่ร่อนท่ีออก
จากบ้านมาอาศยั อยู่บนถนนแต่ประกอบอาชพี เช่น ขาย ครนู าง นริศราภรณ์ อสพิ งษ์
หวั หนา้ แผนกครูข้างถนน
พวงมาลยั ขอทาน เป็นต้น และกลุ่มท่สี ามคือ กลุ่มเดก็ และ มลู นิธิสง่ เสรมิ การพฒั นาบุคคล (Mercy)
ครอบครวั ท่อี าศยั อยู่บนถนนซ่งึ ส่วนใหญ่เป็นต่างด้าว “ในความคดิ ของครู เดก็ เร่ร่อนท่ใี ช้ชวี ติ อยู่ตามท้อง
“ในส่วนของเดก็ เร่ร่อนไทยยงั แบ่งได้อกี 2 กลุ่ม คือ ถนน เขาก็คือเด็กคนนงึ ทเ่ี ป็นมนษุ ย์เหมือนกบั เด็กคนอ่นื ๆ
เด็กเร่ร่อนทท่ี ำ� มาหากนิ กับเด็กเร่ร่อนทต่ี ิดเกม ซึง่ กลุ่มหลัง ในสังคม แต่เขาเป็นเดก็ ท่มี ีความแตกต่างจากเดก็ ท่วั ไปตรง
เป็นกลุ่มเส่ยี งท่ตี ้องได้รบั การดแู ลอย่างเร่งด่วน เพราะเป็น ทีอ่ อกมาใช้ชวี ิตตามลำ� พงั ใช้ชีวติ อย่างไร้จดุ หมายเพราะว่า
การน�ำไปสู่ปัญหาอ่นื ๆ ตามมา เช่น กลายเป็นเดก็ เดินยา ไป เขาไม่มใี คร ในขณะท่ตี ้องการใช้ชีวิต ต้องการเท่ียว ต้องการ
สู่การเป็นผู้ค้า และกลายเป็นผู้ตดิ ยา กลายเป็นเดก็ ลกั เล็ก กินเหมอื นกบั เดก็ ทั่วไป”

5

Thailand เสยี งกู่เพื่อความเสมอภาค

ครขู า้ งถนนหรอื คนทำ� งานดา้ นเดก็ บนท้องถนน
ต้องมคี วามรแู้ ละทกั ษะพเิ ศษเร่ืองอะไรบ้าง?

ครูแก้ว กญั ญภัค สขุ อยู่
ผู้จดั การมลู นธิ สิ ายเดก็ 1387

ครูแกว้ กัญญภคั สขุ อยู่
ผจู้ ัดการมลู นธิ สิ ายเด็ก 1387
“ครตู ้องไม่คาดหวงั อะไรกบั เดก็ เพราะฉะนน้ั เดก็ ที่ ครจู ว๋ิ ทองพลู บวั ศรี
เราช่วยเหลือนั้นครูไม่เคยมองว่าเขามีปัญหาอะไรมา แค่ มลู นธิ ิสร้างสรรค์เดก็

เขาต้องการความช่วยเหลือเราก็เข้ามาช่วยเหลือ แค่ว่าไม่ ครูจ๋วิ ทองพลู บัวศรี
คาดหวังแค่น้นั เอง เขาจะเรยี นจบไหม จะได้งานทำ� ไหม ได้ “ในกระบวนการแก้ปัญหาในเดก็ เร่ร่อนแต่ละราย ไม่มี
งานแล้วจะมีความอดทนไหมฯลฯ ครูจะไม่มองมุมนั้นเลย หลกั สตู รหรอื วธิ กี ารตายตวั ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ปญั หาและความ
เพราะเด็กบางคนกจ็ ะล้มเหลว บางคนก็ประสบความสำ� เร็จ ตอ้ งการของเดก็ เปน็ รายบคุ คล เดก็ แตล่ ะกรณศี กึ ษาไมใ่ ชว่ า่
บางคน ทเี่ คยใหค้ วามชว่ ยเหลอื มากวา่ จะประสบความสำ� เรจ็ พบเด็กแล้วจะสามารถเข้าไปช่วยเหลือได้ทันที แต่ต้องใช้
ใชเ้ วลาประมาณ 2 ปี เริ่มเหน็ แววว่าพอไปรอด แต่บางคน ระยะเวลาในการทำ� ความรู้จกั ท�ำให้เดก็ เกิดความไว้ใจ และ
อาจนานหน่อย บางคนอยู่กบั เขาถึง 6 ปียังไม่ได้อะไร และ ศึกษาปัญหารวมถงึ พฤติกรรมของเดก็ แต่ละคน ซ่งึ อาจจะ
ยังกลบั ไปใช้ชวี ติ บนท้องถนนอกี ครงั้ ” ต้องใช้เวลานาน ทจ่ี ะช่วยเหลอื เดก็ ได้สำ� เรจ็ อีกทง้ั บางกรณี

ครอู อ็ ด สุรชัย สขุ เขียวออ่ น ปญั หาไมใ่ ชแ่ คเ่ ดก็ คนเดยี ว แตย่ งั ตอ้ งเขา้ ไปถงึ ครอบครวั เดก็
ผอู้ �ำนวยการ มูลนิธิบา้ นนกขมน้ิ อกี ด้วย”

“ภาพการท�ำงานกับเด็กบนท้องถนนปัจจุบันเปลี่ยน
ไป เพราะเดก็ บนท้องถนนมรี ูปแบบเปล่ยี นไม่แสดงตวั ตนที่
ชัดเจนจงึ ท�ำให้ดูน้อยลง การท�ำงานเก่ยี วกบั เดก็ บนท้องถนน
จึงมุ่งเน้นไปท่ีการป้องกันเด็กกลุ่มเส่ียงไม่ให้ออกไปใช้ชีวิต
บนท้องถนน เช่นทบี่ ้านนกขมน้ิ กจ็ ะมีรปู แบบการจดั กิจกรรม
ต่าง ๆ เพ่อื ดงึ ความสนใจในเดก็ กลุ่มเส่ียงเหล่าน้ี ทง้ั ในด้าน
กีฬา ดนตรี การเรยี นภาษาและการสร้างอาชพี ให้กับเดก็ ๆ
รวมไปถึงครอบครวั ด้วย”
ภาพจาก...มูลนธิ สิ ร้างสรรค์เดก็

6

เสยี งก่เู พอ่ื ความเสมอภาค Thailand

บางคนไม่ได้เรยี นจบปรญิ ญาด้วยซำ้� ไป แต่สามารถท่อี ยู่กบั
เดก็ สามารถทจ่ี ะช่วยให้เดก็ มีชีวิตทดี่ ีข้นึ ได้”

ครนู าง นรศิ ราภรณ์ อสิพงษ์ ครแู กว้ กญั ญภคั สขุ อยู่
มลู นธิ ิส่งเสรมิ การพฒั นาบุคคล (Mercy) ผู้จัดการมูลนิธิสายเด็ก 1387
“ครตู อ้ งเขา้ ใจคนในแตล่ ะชว่ งวยั เพราะชว่ งวยั นนั้ มคี วาม
สำ� คัญ เนอ่ื งจากกลุ่มเป้าหมายหลกั คอื กลุ่มวัยรุ่นก่อน ถ้า
เราเข้าใจช่วงวยั ของเขากจ็ ะทำ� งานง่ายขน้ึ ครูจะต้องมีความ
อดทนมาก ๆ จะต้องมีความช่างสงั เกต ที่สำ� คญั จะต้องเข้า
กบั คนง่าย มคี �ำพูดและมีเทคนคิ ในการเข้าถงึ จิตใจของเด็ก”

ครูนาง นรศิ ราภรณ์ อสิพงษ์ หากเด็กปฏเิ สธความช่วยเหลอื ครทู �ำอยา่ งไร?
“สำ� หรบั ครู เร่อื งใจมาอนั ดบั หนง่ึ มีความเหน็ อก
เหน็ ใจ บางคนจบปรญิ ญาตรหี รือจบสงั คมสงเคราะห์มา ครูจ๋ิว ทองพูล บัวศรี
ถ้าไปเจอเด็กกลุ่มนี้แล้วไม่มีใจที่จะช่วยเหลือก็จะไปไม่รอด “การลงพ้ืนที่แต่ละครั้งเพ่ือพูดคุยและส�ำรวจลักษณะ
เพราะเดก็ บนท้องถนนไม่เหมอื นใคร เน่ืองจากในสายตาของ แบบน้ี ครจู ๋วิ และคณะของมูลนธิ ิสร้างสรรค์เดก็ ก็จะลงปฏิบัติ
คนทั่วไปมักมองว่าเด็กพวกนี้แต่งตัวมอมแมมและนอนอยู่ งานสัปดาห์ละ 3 ครั้งท�ำแบบน้ีมาตลอดและต่อเนื่องเป็น
ข้างถนน จึงไม่มใี ครกล้าเข้าไปใกล้และพดู คุยด้วย เพราะ ระยะเวลานาน เพ่ือสร้างความคุ้นเคยกบั ผู้ด้อยโอกาสแต่ละ
อาจเป็นในเร่อื งของความปลอดภยั เด็กกลุ่มนอี้ าจถกู มองว่า คน เพอ่ื ให้เขาไว้วางใจ และเปิดใจยอมรบั ความช่วยเหลอื
ไม่เป็นมติ ร ดังนน้ั ครทู ีจ่ ะเข้ามาทำ� งานกับเดก็ กลุ่มน้อี นั ดบั จากมลู นธิ ิฯ ในแต่ละกรณคี รจู ๋ิวจะต้องใช้ความพยายามและ
แรกจะต้องมใี จ และมีความไว้วางใจให้กบั เด็กกลุ่มน้ี อดทนเป็นอย่างมาก บางคนกว่าจะยอมรบั และเช่อื ใจเราได้
นอกจากนแ้ี ล้วจะต้องมเี รอ่ื งจิตอาสา การทำ� งานกับ กอ็ าจต้องให้เวลาถงึ 4-5 ปีกม็ ี แต่เมือ่ เขายอมรบั และเปิด
เดก็ กลุ่มน้ี บอกตรง ๆ ว่าช่วงแรกล�ำบากมาก ครตู ้องพาเขา ใจเป็นมติ รกับเราแล้ว เราจะสามารถทำ� งานได้ง่ายขน้ึ ความ
มาท�ำกจิ กรรม ต้องเดนิ ไปปลุกแต่ละท่ี ๆ เขานอนอยู่ ไม่ว่า ช่วยเหลอื กจ็ ะถกู ส่งถงึ ผู้ด้อยโอกาสเหล่านไ้ี ด้มากข้ึน รวมถงึ
ใต้สะพาน ใต้ต้นไม้ ใต้สะพานพทุ ธ ครตู ้องตามเขามานง่ั การแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่เี กิดจากกลุ่มคนด้อยโอกาสเหล่านก้ี ็
เรียน ให้เขามาอาบนำ้� มาน่งั กินข้าวด้วยกนั คอื ต้องมใี จกับ จะสามารถแก้ไขได้อย่างไม่ยากนกั ”
พวกเขาและต้องทำ� บ่อย ๆ อย่างต่อเนอ่ื ง ดังนน้ั ครตู ้องมี
ความอดทนสูง เพราะแรก ๆ เดก็ จะยงั ไม่ยอมรบั เรา ครูนาง นรศิ ราภรณ์ อสิพงษ์
แม้ว่าตวั เองจะเรยี นจบสายครมู า แต่คดิ ว่าคนทม่ี า “จากประสบการณ์ท่ีครูเคยพาเด็กไปเข้าค่าย ท�ำให้
ทำ� งานกบั เดก็ กลมุ่ นไี้ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเรยี นจบสายสงั คมสงเคราะห์ เด็กบางคนคิดว่าครูเปลี่ยนไปแล้ว เพราะครูเป็นหน่วยงาน
หรอื สายครู บางคนเรยี นจบสายอน่ื ทไี่ ม่เก่ยี วกบั เด็กมาเลย จับเด็ก ความจริงการไปเข้าค่ายเพื่อให้เด็กเลือกทางเดิน
แต่ถ้าเขามีจิตวิญญาณและมองเด็กกลุ่มน้ีเหมือนเด็กท่ัวไป ของชวี ติ เช่น จะเลอื กอาชพี เลอื กเรียน หรือการกลับคนื สู่
แล้วเข้ามาหากลุ่มน้บี ่อย ๆ จนเกดิ การสร้างสมั พันธภาพท่ี ครอบครวั โดยเราจะใหเ้ ดก็ เลอื กเอง แตบ่ างคนเลอื กไปอยใู่ น
ดี เกดิ ความไว้ใจซ่งึ กนั และกนั คน ๆ นัน้ ก็สามารถเป็นครูได้ สถานสงเคราะหห์ รือว่าหน่วยงานรฐั ในทตี่ ่าง ๆ เมื่อเขาไม่มี

7

Thailand เสียงกูเ่ พื่อความเสมอภาค

ภาพจาก...องค์การเฟรนด์ประเทศไทย

ความสขุ เขาก็หนีออกมา แลว้ เขากบ็ อกเพอ่ื นวา่ ครจู บั เดก็ ไป หิวขอแค่มากินมานอนแค่น้ันเอง ซึ่งครูก็ให้ความช่วยเหลือ
อยสู่ ถานสงเคราะหแ์ ล้วถูกท�ำร้ายแล้วหนีออกมา แต่ครูก็ ทวั่ ไป”
ไม่ถอดใจว่าเด็กจะมองเราเป็นยงั ไง เพราะเดก็ บางคนตอน
แรกไม่อยากให้เราช่วยเหลอื แต่สุดท้ายเขาเจอทางตนั เขา กรณกี ารช่วยเหลอื จนได้รับความสำ� เร็จน่าภูมิใจ
มาขอเองว่าผมอยากกลบั บ้านหรอื บางคนอยากทำ� งาน ครู
ช่วยผมหน่อย น่คี ือสง่ิ ท่เี ขาไม่ปฏเิ สธเราแต่เขาร้องขอเรา” ครนู าง นรศิ ราภรณ์ อสิพงษ์
ความส�ำเรจ็ ไม่ได้อยู่ท่คี รแู ต่อยู่ท่ตี วั เดก็ เอง แต่ครูทำ�
ครแู กว้ กัญญภัค สุขอยู่ หน้าท่ปี ทู างให้เขาเดนิ เองเป็น ตัวอย่างเช่น “นอ้ งมีน” เป็น
“ครูไม่ท้อเราก็พูดเร่ือย ๆ บางคนต้องใช้เวลาเป็นปี เดก็ เรร่ อ่ นรนุ่ แรก ๆ เราไดส้ ง่ ใหเ้ ขาไดเ้ รยี นแตส่ ดุ ทา้ ยเขาเรยี น
กว่าเขาจะเข้ามาเร่มิ มาคุยกับเรา เช่น บางคนบอกว่าอยาก ไม่จบปรญิ ญา แต่เขากไ็ ด้เปล่ยี นแปลงตวั เอง ตอนน้เี ขา
กนิ ข้าว อยากเรียนหนังสอื ฯลฯ การถูกปฏเิ สธบ่อย ๆ เรากไ็ ม่ มีงานทำ� มเี งนิ ทเ่ี ลี้ยงชพี ตัวเอง อกี ตวั อย่างหนง่ึ คือ “นอ้ ง
เคยท้อ เพราะเรารู้ว่าเดก็ กลุ่มนจี้ ะช่วยทนั ทเี ลยไม่ได้เพราะ ปอน” ออกมาใช้ชีวติ เร่ร่อนต้ังแต่เลก็ ก่อนทีจ่ ะมาเจอครู
เขาไม่ต้องการ เขาไม่ได้ต้องการความช่วยเหลือจากเรา เขาใช้ชวี ิตเร่ร่อนท่อี ่นื มาแล้ว จนเขาอายุ 11-12 ปี ออกมา
นอกจากเวลาท่เี ขาเดอื ดร้อนจรงิ ๆ เขาถงึ จะเดนิ เข้ามาหา เร่ร่อนท่สี ะพานพทุ ธเขามาเจอครู ในกลุ่มเขากบ็ อกครูว่า
ครู ดงั นน้ั เราต้องใช้เวลาระยะในการสร้างความไว้ใจ เอาน้องไปเรียนเถอะเพราะน้องอยู่แบบน้ีน้องดมกาวเยอะ
เด็กบางคนไม่ตอบรับความช่วยเหลือ ครูอาจต้องใช้ มาก ช่วงแรก ๆ เดก็ ปฏเิ สธไม่ยอมรับครู จนมกี ารกล่อมจาก
เวลาอย่างเร็วสุด 1 เดือน ช้าสุดก็ประมาณ 1 ปี ก็จะแค่ เพื่อนในกลุ่มพูดให้ก�ำลังใจว่าให้ไปเรียนกับครูที่มูลนิธิ เมื่อ
ยกมือไหว้ครูเท่าน้ัน แต่เขาไม่คุยด้วย ไม่ได้ให้เราช่วย ครูช่วยเหลอื และใกลช้ ดิ เขามาก ๆ สดุ ทา้ ยเขารอ้ งขอเองวา่ ผม
เหลือ แค่ขอเรื่องปัจจัย 4 แต่เขาไม่ต้องการเรื่องอื่น เช่น อยากไปเรียน หลงั จากทค่ี รพู าเขาไปเจอพ่อแม่ และสุดท้าย
ไม่ต้องการเรียน ไม่ต้องการหาหมอ ไม่ต้องการอะไร เวลา แม่ก็เสียชีวิต ครูก็ถามปอนว่าจะอยู่ท่ีมูลนิธิต่อหรือจะ

8

เสียงกู่เพือ่ ความเสมอภาค Thailand

ไปอยู่สะพานพทุ ธหรอื จะไปอยู่ไหน ปอนตอบว่าผมไม่มที ไ่ี ป เศรา้ และพยายามจะฆา่ ลกู จนพสี่ าวชงิ ฆา่ ตวั ตายไปกอ่ น แม่
ผมอยู่เมอร์ซ่แี หละครบั ตง้ั แต่น้ันมาปอนกเ็ ข้าเรียน กศน. ถึง เอาหมอนกดหน้าพยายามจะฆ่าเขาหลายรอบมากจนรู้สึก
จดุ นี้แลว้ ทป่ี อนเองรวู้ า่ ตอ้ งเรยี นใหจ้ บ และบอกวา่ ถา้ เรยี นจบ ว่าไม่ไหวแล้ว แล้วเขากข็ ึ้นรถไฟมาแล้วกม็ าเจอเรา เราก็
แลว้ จะหางานทำ� ทำ� อะไรกไ็ ด้ทส่ี ามารถเลย้ี งตัวเองได้ ช่วยเหลอื เขาเรื่องการศกึ ษา เรอ่ื งงาน อาชีพ มนั เป็นอะไร
ตอนนี้เขาเรียนอยู่เมอร์ซ่ีเติบโตแล้วเพียงแต่เขาไม่มี ทย่ี ากมากเพราะความคดิ ของเขามแี ต่ความรนุ แรง ถ้าเธอ
ใคร ตอนน้อี ายุ 16-17 จากทีค่ รูคดิ ว่าเขาไม่น่าอยู่เกนิ สอง อยากมแี ฟนเธอกต็ ้องให้ฉันตนี ะ คอื เขามแี ค่ความรนุ แรง
อาทติ ย์ เพราะครูเอาเดก็ เข้ามาอยู่เมอร์ซ่บี างคนแค่อาทติ ย์ กรณศี กึ ษานด้ี แู ลมา 2 ปี ฝึกอาชีพเขาแล้วกค็ ยุ กนั ทุกวนั คุย
เดยี วก็ออกแล้ว บางคนอยู่เดอื นนงึ กห็ นอี อกไป แต่ปอนอยู่ เหมอื นทะเลาะกนั เขาจะคุยกับเราเสยี งดังตลอดเวลา เราก็
ไดน้ าน เขากพ็ ยายามทจี่ ะใหค้ รตู ามหายายของเขาซง่ึ อนาคต บอกวา่ เบา ๆ นงั่ ลงใจเยน็ ๆ ไหนคยุ กนั สวิ า่ มเี รอ่ื งอะไร พยายาม
เขาบอกว่าอยากอยู่กบั ยาย อยากตามหาคนทเ่ี คยเล้ียงดเู คย ทำ� อารมณ์วยั รุ่นของเราให้เยน็ ลง จนเขาไปสมคั รงานด้วยตวั
ผูกพนั ครูกพ็ ยายามตามหาซง่ึ สืบได้แล้วว่ายายอยู่ไหนกำ� ลัง เอง แล้วเขากล็ าออกจากงาน เรากบ็ อกว่าไม่เป็นไร เราล้ม
เตรียมตัวท่จี ะไปเจอ ได้เราก็ลกุ ได้ ใคร ๆ ก็ต้องเปล่ียนงานบ่อย ๆ ทง้ั นนั้ แหละ
ไม่ใช่เราคนเดยี ว ครูกเ็ ปลยี่ นงานมาหลายอย่าง
ครูแก้ว กญั ญภคั สุขอยู่ วันหนึ่งเขาก็ตกงานช่วงโควิดและตอนน้ีเขาได้งาน
ผูจ้ ัดการมูลนิธิสายเดก็ 1387 ใหม่ ได้มาขอบคุณครมู ากนะครับท่ีเตอื นสตผิ ม ถ้าไม่ได้ครู
มีน้องอยู่คนหน่งึ ไม่มเี ลขบัตรประชาชน แล้วน้องก็ ผมกค็ งไปเสพยา และไปอยู่กบั เพื่อนที่มนั ไม่เหมาะสม ซงึ่
อายุน้อยแค่ 16 ปี น้องท�ำหน้าที่เป็นผู้จัดหาคนเพ่ือค้า ตอนนเ้ี ขามที กั ษะ มอี ารมณ์เยน็ ลง มีเหตุผลมากข้นึ มีชวี ติ ที่
ประเวณี เร่ร่อนมาตง้ั แต่อายุ 7 ขวบ ช่วงนั้นน้องเขากโ็ ดน ปกติ เข้าสู่สงั คมมเี พ่ือนร่วมงานใหม่ๆ ทไ่ี ม่ใช่สงั คมเดิมทีเ่ ขา
แสวงหาผลประโยชน์มาถงึ ข้นั ที่น้องเป็นคนจดั หาเอง เช่น อยู่ เราก็ไปเย่ยี มเขาบ่อย ๆ ทที่ ำ� งาน ไปทำ� ความรู้จกั กับ
เอาเพ่อื นไปส่ง เรากร็ ู้ว่าปัญหาของเดก็ คนนี้อยู่ในระดบั ไหน หัวหน้างานเขา
ไม่ใช่เหย่อื แต่เป็นการกระทำ� จากเดก็ เอง เขาเคยผ่านจดุ
ที่เขาแย่มาแล้ว เขาไม่ต้องการความช่วยเหลอื แล้ว เพราะ
ฉะน้ันกย็ นื ด้วยตัวเอง เจอหน้าไม่คยุ กับครเู ป็นปี จนมาวนั
หนงึ่ เราชวนเขาไปเขา้ คา่ ยซง่ึ เขาไมเ่ คยไป เขาอยแู่ ตห่ วั ลำ� โพง
มีคนมาซ้อื บริการ อยู่ในห้องสูบบุหร่ี สิ่งแวดล้อมมอี ยู่แค่นี้
พอเราบอกว่าจะชวนเขาไปเข้าค่ายเขากไ็ ป ช่วงทไ่ี ปเข้าค่าย
เขาหลบั ตลอด 4 วนั ไม่ได้คยุ กับเราเลย ไม่ได้ร่วมกจิ กรรม
กบั เราเลยแตส่ ง่ิ ทไ่ี ดร้ บั กลบั มาคอื เขาคยุ กบั เรา แลว้ เขากเ็ ดนิ
มา บอกเราว่าเขาอยากเรยี นสูงๆ มนั กเ็ ป็นจดุ เปิดทางแล้ว
ว่าเขาต้องการความช่วยเหลอื จากเรา
นอกจากน้ีแล้ว ยังมีเด็กคนหนึ่งมาจากใต้ พ่อเป็น
อิสลามแม่เป็นพทุ ธ แล้วด้วยคนอสิ ลามเรอ่ื งศาสนาอสิ ลาม
เขาเคร่งมาก เขากจ็ ะถูกกดข่ขี ่มเหง ท�ำให้คณุ แม่เครียด ซมึ ภาพจาก...มูลนธิ ิสายเดก็ 1387

9

Thailand เสียงกู่เพ่ือความเสมอภาค

ประโยชน์ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน และพยายามสร้างก�ำลัง
ใจให้เดก็ ทกุ คนก่อนเป็นอนั ดับแรก เพ่ือให้เขามที ัศนคตทิ ่ีดี
ต่อตัวเองเม่ือมีทัศนคติที่ดีแล้วก�ำลังใจหรือพลังใจก็จะเกิด
และน�ำพาไปสู่จดุ มุ่งหมายในอนาคตได้ ซง่ึ เงินอาจไม่ใช่เร่อื ง
ใหญ่เท่ากบั กำ� ลงั ใจ

ครูออ็ ด สรุ ชยั สขุ เขยี วอ่อน
ผู้อ�ำนวยการ มูลนธิ บิ ้านนกขม้นิ

ครูอ็อด สุรชัย สขุ เขยี วอ่อน
ผอู้ �ำนวยการ มูลนธิ บิ า้ นนกขมน้ิ
ความช่วยเหลือท่ีคิดว่าท�ำให้เกิดความภูมิใจมากที่สุด
คอื กรณีของคุณโชค ซง่ึ ในอดตี คณุ โชคเป็นเดก็ กลุ่มเสยี่ งมา
จากจังหวดั พทั ลงุ พ่อแม่เสยี ชวี ิตหมดและเกอื บจะกลายเป็น นายเชาวลติ สาดสมัย (ครเู ชาว์)
เด็กเร่ร่อน หลังจากท่ีได้เข้าไปให้ความช่วยเหลือและดูแล นักพฒั นาสงั คมศูนย์สร้างโอกาสเดก็ พระราม 8
ท�ำให้เขามีชีวิตท่ีดีเหมือนคนทั่วไปท่ีไม่มีปัญหาชวี ติ คณุ
ส�ำนกั พัฒนาสงั คม กรงุ เทพมหานคร

โชค ได้เรยี นจบสายสงั คมสงเคราะห์ท่มี หาวิทยาลยั หวั เฉยี ว นายเชาวลติ สาดสมัย (ครูเชาว)์
ปัจจบุ นั เป็นเจ้าหน้าทข่ี องมลู นธิ ิบ้านนกขมน้ิ ทำ� หน้าท่เี ป็นผู้ นกั พฒั นาสังคมศนู ยส์ ร้างโอกาสเดก็ พระราม 8
จัดการโครงการหน่งึ ซ่ึงเป็นโครงการทร่ี ่วมมอื กับมูลนธิ บิ ้าน สำ� นกั พฒั นาสงั คม กรุงเทพมหานคร
นกขมิ้น นอกจากผมดแู ลเดก็ ทส่ี ังคมไม่ยอมรบั เช่น เดก็ เคย มเี ดก็ ในชมุ ชนมาบอกกบั ผมวา่ “ครเู ชาวห์ นอู ยากเรยี น
มปี ระวตั นิ กั เลงหวั ไม้ ตดิ คุกบ้างหรอื ว่าทำ� อะไรทม่ี นั ไม่ดี ไป หนังสอื ” แต่ทางบ้านไม่มเี งินส่ง ผมมองแล้วเด็กคนนม้ี ีแววท่ี
สมคั รงานท่ไี หนเขาไม่ค่อยรบั เขาจะเรียนได้ ผมก็ช่วยหาช่องทางส่งเขาเรียน ตอนนี้ผม
ทางมลู นธิ ฯิ ได้รบั เดก็ กลุ่มน้เี ข้ามาแล้วพยายามอบรม ช่วยเดก็ ได้เรยี น กศน. และปรญิ ญาตรีอยู่หลายคน ถ้าพวก
ให้พวกเขาเปล่ยี นแปลงเป็นคนท่ดี ีในสงั คม รวมท้งั กลุ่มคน เขาสำ� เรจ็ การศกึ ษา นน่ั คอื ความภาคภูมใิ จของผมแล้ว
พิการซงึ่ เรากร็ บั เข้ามาทำ� งานและดแู ล ตอนนท้ี ่ผี มดูแลเดก็ ทงั้ หมดเกอื บ 80 คน ท่เี ราดแู ล
นอกจากนี้แล้วยังมีเด็กอีกหลายคนท่ียังเป็นวัยรุ่นอยู่ อยา่ งนคี้ อื เดก็ ทขี่ าดโอกาสทางดา้ นการศกึ ษาผมประสานงาน
เราก็ให้เขามาทำ� งานแล้วสนบั สนุนด้านต่าง ๆ ใครอยากจะ กบั กทม.แล้ว กทม.มที ุนการศึกษาเป็นข้นั ตอนของเขา แต่
เรยี นต่อก็มที ุนให้เรยี น บางคนเขากค็ ดิ ว่าต้องมงี านก่อนแล้ว ของผมต้องไปประสานกับเอกชนเพื่อให้เขาสนับสนุนเด็ก
ค่อยเรียนเอาไว้ทีหลัง เราก็พยายามให้เขามีโอกาสทางการ คนนี้จนเรียนต่อ เรียนจบปริญญาตรี ตอนน้ีเราส่งเด็ก
ศึกษาแล้วก็ท�ำยังไงก็ได้ให้เขารู้สึกว่าเขามีคุณค่ากับสังคม เรียนตั้งแต่มหาวิทยาลัยคนหน่ึง เข้าราชภัฏฯ สองคน
เพราะว่าเขาท�ำให้น้อง ๆ ได้เรียนหนังสือ ซึ่งเราพยายาม แล้วก็ปัญญาภวิ ัฒน์คนหนง่ึ ธุรกิจบณั ฑิตคนหนึง่ ครบั ผม
ปลูกฝังเข้าไปในความคิดของเขาเพื่อให้รู้สึกว่าตนเองมีคุณ ได้มองว่าเด็กทุกคนเขาอยากให้เราจูงมือไปสู่ความส�ำเร็จแต่

10

เสียงกูเ่ พอื่ ความเสมอภาค Thailand

เราต้องดเู ขาด้วยว่าเขาจะไปกบั เราไหม ถ้าเราบงั คบั เขา เดก็
ต้องท�ำตามเราแต่คุณรู้ไหมว่าถ้าเราตายไปแล้วเด็กจะอยู่กับ
ใครบางทีเราเอาตัวเองเป็นที่ตั้ง

ภาพจาก...องค์การเฟรนด์ประเทศไทย

ในกรณีนี้ ช่วยค่ารักษาพยาบาลในการยุติการตั้งครรภ์ไม่
ปลอดภยั เจอน้องตอนท่ีลงในชุมชน ได้พูดคุยกับเด็กและ
นางสาวพรทพิ ย์ บุญสุข เข้าไปสู่ครอบครวั
องค์การเฟรนด์ประเทศไทย เราช่วยเหลือครอบครัวน้ีมานานมากจนล่าสุดทราบ

ข่าวว่ายายเสยี ชวี ิตแล้ว เราก็เข้าไปดูแลเดก็ ต่อ
นางสาวพรทิพย์ บุญสุข ชว่ ยใหม้ คี นดแู ลนอ้ ง ลา่ สดุ มกี รณเี ดก็ มแี ฟนทเี่ กยี่ วขอ้ ง
องค์การเฟรนด์ประเทศไทย กบั ยาเสพติด ครอบครวั เกยี่ วข้องกับยาเสพตดิ พ่อแม่ถกู จบั
ครูทิพย์เล่าถึงความประทับใจในการช่วยเหลือกรณี เดก็ อยู่กบั น้อง และแฟนท่เี ป็นเยาวชน ไม่ไปโรงเรยี นเพราะ
ศึกษาว่า มีกรณเี ด็กไทยแถวรงั สิต อยู่กับยาย ช่วงกลางคนื อายเพื่อน เฟรนด์ลงไปประเมนิ ครอบครัวกบั โรงเรียน มกี าร
ยายจะพาเดก็ มาขายของ ขายพระ เด็กขาดด้านการเรยี น วางแผนการทำ� งานร่วมกนั คนที่มาดแู ลเด็กเป็นคนอน่ื เรา
องค์การเฟรนด์ได้ช่วยเหลือให้เด็กได้เข้าสู่ระบบโรงเรียน กงั วลวา่ คนอนื่ จะมาแสวงหาผลประโยชนก์ บั เดก็ ทางโรงเรยี น
และเข้าสู่กระบวนการส่งเดก็ กลบั บ้าน โดยส่งเดก็ ไปอยู่กับ ใหส้ ง่ เดก็ ไปอยสู่ ถานสงเคราะห์ แตเ่ รากอ็ ยากใหส้ ถานสงเคราะห์
ญาตทิ ี่จังหวัดพิษณุโลก เด็กต้องปรับตัวใหม่ทั้งหมด เรา เปน็ ทสี่ ดุ ทา้ ยทเี่ ดก็ จะไปอยู่ จงึ ใหค้ รลู งไปตดิ ตามการไปโรงเรยี น
ได้พยายามประสานกับน้าของเด็ก แนะน�ำวิธีการดูแล เราสนับสนุนให้เด็กไปโรงเรียน ตอนน้ีได้ประสานญาติของ
ช่วยเหลือเด็ก จนวันหนึ่งเด็กปรับตัวได้ดี ตอนน้ีเด็กน่าจะ พ่อเดก็ ให้รบั เดก็ ไปดูแล ระหว่างทีร่ อพ่อแม่ตดิ คกุ ซงึ่ จะเห็น
อยู่ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้นแล้ว การช่วยเหลือต้องมีความต่อเน่ืองโดยเฉพาะเด็กกลุ่มเส่ียง
แต่ความสำ� เร็จไม่ได้ออกมาอย่างง่ายดาย ในตอน ถ้าไม่ติดตามอย่างใกล้ชิดเด็กก็มีโอกาสที่จะเข้าไปสู่ของ
ที่ไปเข้าไปประสานกับยายต้องใช้วิธีการหลายอย่างให้เขา ความเส่ยี งได้ทันที
ยอมรับในการช่วยเหลือ ไปบ่อย ๆ ให้ยายเห็น สร้างความ
คุ้นเคย เป็นกันเอง ให้เขาไว้ใจ ไปท่ีบ้าน บ่อย ๆ ช่วงเวลา
ตอนนัน้ ลูกของยายท้องแบบไม่พร้อม เราจึงอาสาเข้าไปช่วย

11

Thailand เสียงก่เู พอ่ื ความเสมอภาค

มติ ใิ หมข่ องเดก็ เรร่ อ่ นทหี่ ายไปจากทอ้ งถนน

มุมมองความคดิ จาก ศาสตราจารย์ ดร. สมพงษ์ จิต
ระดับ หวั หน้าหน่วยปฏบิ ัติการวจิ ยั เพื่อการพฒั นาเด็กและ
เยาวชน คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
“ผมเคยนำ� นสิ ิตจุฬาลงไปทำ� งานกบั เดก็ เร่ร่อน กำ� ลงั
สอนและเด็กเน้อื ตัวมอมแมมเลยนะ เดก็ ถามครู ว่าครหู วิ น้�ำ
ไหม ครกู ็บอกว่าหวิ เหมอื นกนั เดก็ เร่ร่อนเลยออกไปหานำ้�
ให้ด่ืมไปประมาณครึ่งชั่วโมงเด็กก็กลับมาพร้อมกับมะพรา้ ว
2 ลกู มะพร้าวลูกหน่ึงเดก็ ดมื่ กันเอง อีกลกู หนึ่งเด็กนำ� มาให้ จะเหน็ ภาพเดก็ บนท้องถนน ในรปู ลกั ษณะท่ีมีฟันเหลอื ง ผม
ครูแต่มะพร้าวลกู นน้ั มนั ดำ� ไปด้วยขม้ี ือของเดก็ เด็กก็มองที่ แดง ผิวขรุขระมอมแมม ตัวเหมน็ ดมกาว นอนอยู่ตามคอ
ครวู ่าจะด่มื หรอื ไม่ ซึง่ เป็นวธิ วี ดั ใจครขู องเดก็ ๆ นสิ ติ เขาบอก สะพาน ตามตลาด ตามท่สี าธารณะ มเี สอื้ ผ้าชุดเดยี ว กระ
ว่าในใจจรงิ แทบกนิ ไม่ลงแต่กต็ ้องกลนั้ ใจกนิ ทำ� ให้ซ้ือใจเด็ก ดำ� กระด่าง หากนิ ตามกองขยะ สิง่ ที่เราค้นพบอกี อย่างคือ
ได้ ซึง่ ภายหลงั ทำ� ให้การพูดคยุ กบั เดก็ เป็นไปอย่างง่ายขน้ึ ” สิ่งทเี่ ด็กเหล่าน้ชี อบที่สุดคอื ชอบความอิสระ มเี สรีภาพ จะไป
มันมีกระบวนการละเอยี ดอ่อนพวกน้ที ี่แฝงอยู่ เราต้องเข้าใจ ไหนก็ได้ตามทเ่ี ขาคดิ และถ้ามีครเู ป็นเพ่อื น เขาจะมคี วาม
วฒั นธรรมของเดก็ เร่ร่อนสกั นดิ ว่า แรก ๆ เราไปคุยกบั เด็ก รู้สกึ อุ่นใจ
เร่ร่อนเขาจะไม่ไว้ใจเราหรอก เด็กจะโกหก และจะพูดข้อมลู ปัจจบุ ัน มิตขิ องเดก็ เร่ร่อนเปล่ียนไปโดยท่เี ราไม่รู้เลย
ไม่จรงิ ให้คณุ ฟังจนกว่าเขาจะไว้ใจคณุ สัมผสั คณุ และรกั วา่ ทำ� ไมอยดู่ ี ๆ เดก็ ถงึ หายจากถนน จะสงั เกตไดว้ า่ ปจั จบุ นั
คุณถึงจะทำ� งานต่อไปได้” เราจะไม่ค่อยเหน็ เด็กออกมาเร่ร่อนอยู่ตามถนน ตามตลาด
เพราะฉะน้นั ภาพจ�ำของเดก็ บนท้องถนนในตอน 10 ปี หรอื ตามท่ตี ่าง ๆ โดยเฉพาะในกรงุ เทพฯ แต่จะเหน็ ไปอยู่
ทแ่ี ล้ว ครจู ะเป็นคนท่สี ำ� คัญทสี่ ดุ ในชวี ติ เดก็ ครจู ะมนี ยิ าม ในครอบครวั ไปอยู่กบั ชมุ ชน แต่ก็ยงั มคี วามผูกพนั กับถนน
และความหมายในความคิดของเด็กที่สูงส่ง ในอดีตเรา ที่แน่นแฟ้น มีความสมั พันธ์เชิงเศรษฐกจิ มากขึ้น โดยใช้ถนน

12

เสียงกู่เพอ่ื ความเสมอภาค Thailand

ในการหารายได้ เชงิ อิสระแต่ว่ามมี ติ ทิ ีน่ ่าสนใจมากข้นึ เป็น
วัฒนธรรมย่อยทจ่ี ะเหน็ ความเป็นกลุ่มก้อน เหน็ ภาษาท่เี ขา
ใช้ และสงิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ กค็ ือว่ามันจะสร้างระบบทเ่ี ขาเรยี กว่าต่อ
ต้านสังคม ป้องกนั ตนเอง สังคมในกลุ่มเลก็ ๆ ของเขา จะมี
การเลือกใครจะเป็นหวั หน้ากลุ่ม ใครจะเป็นคนปกป้อง ใคร
จะท�ำหน้าทอ่ี ะไรกนั บ้าง ผู้หญิงต้องทำ� อะไร ผู้ชายต้องทำ�
อะไร กลุ่มจะขยับหรอื เคลือ่ นย้ายกนั ไปเป็นกลุ่ม สงั เกตุว่า
เราจะไม่ค่อยเจอเดก็ เร่ร่อนเดนิ เดยี่ ว เวลาท่กี ลุ่มเดก็ เร่ร่อน
เจอเดก็ เร่ร่อนทเ่ี ดนิ เดยี่ ว เช่นท่ีหวั ล�ำโพง เขาจะดึงเข้าไปใน
กลุ่มทันที ออกมาให้ได้เป็นองค์ความรู้ เป็นข้อค้นพบว่าขณะนี้สังคม
ไทยมีความเคล่ือนไหวแบบน้ี มีเด็กจ�ำนวนแค่นี้ หลักการ
อีกประเด็นท่ีพวกเราจะต้องช่วยกันคือเวลาเจอกรณี องคค์ วามรู้ ขอ้ คน้ พบ เนอื้ หาสาระ และแกน่ แทข้ องเดก็ เรร่ อ่ น
ศึกษาเด็กเร่ร่อนเหล่าน้ี คือ การเก็บข้อมูลให้เป็นแฟ้มหรอื คืออะไร เพราะฉะน้ันครู หรือคนท�ำงานท่ีเก่ียวกับเด็ก
เป็นแผ่นกระดาษ A4 แล้วเกบ็ เป็นกรณี ๆ ไปลงพ้นื ทเ่ี มอ่ื ไร บนทอ้ งถนนซึ่งจะมาชว่ ยเสริมในงานนี้ กจ็ ะตอ้ งเปน็ นกั วชิ าการ
เจอเหตกุ ารณ์อะไรให้จดบนั ทึกไว้ เพราะฉะน้นั หลักง่าย ๆ ด้วยส่วนหนึ่ง และเป็นนักปฏิบัติด้วย เป็นคนบันทึกกรณี
ของการท�ำกรณศี ึกษาพวกนค้ี อื ต้องท�ำให้เป็น สามเหลย่ี ม ศึกษา จะต้องมีการเก็บข้อมูลในการลงพ้ืนท่ีแต่ละคร้ัง เรา
แห่งความน่าเช่อื ถอื Triangular Method ด้านหน่งึ ดูเร่ืองการ จะสังเกตเด็ก จะสัมภาษณ์อย่างไร เราจะเก็บเอกสาร

อย่างไร ต้องเกบ็ ออกมาให้เป็นขบวนการ เป็นระบบเกดิ ขึ้น

สรปุ สาระของคูม่ ือเล่มน้ีคอื อะไร
1. ครูต้องมที ัศนคตติ ่อเดก็ บนท้องถนนอย่างไร ?
2. ครูข้างถนนหรอื คนท�ำงานด้านเดก็ บนท้องถนนต้อง
มคี วามรู้และทกั ษะพเิ ศษเร่อื งอะไรบ้าง?
3. หากเดก็ ฏิเสธความช่วยเหลอื ครูท�ำอย่างไร?
4. กรณกี ารช่วยเหลอื จนได้รบั ความส�ำเรจ็ น่าภมู ใิ จ
5.มิติใหม่ของเดก็ เร่ร่อนท่หี ายไปจากท้องถนน
สงั เกต ด้านหน่ึงคอื การสมั ภาษณ์การพดู คยุ และอีกด้านคอื
การท�ำเอกสาร ถ้าครูได้ Triangular ตวั ข้อมลู ของเดก็ คนน้นั ๆ
ข้อมูลน้นั จะน่าเชอ่ื ถือ และพอครไู ด้เกบ็ กรณีศกึ ษาเยอะ ๆ
ข้ึนกจ็ ะเร่มิ ถอดเป็นหลกั การ ถอดเป็นทฤษฎี ถอดเป็นองค์ คณะผู้จดั ทำ� ทปี่ รึกษา
ความรู้ กรณีศกึ ษาทเ่ี ก็บ ๆ มามชี วี ิตมาก แต่ถ้าเราเกบ็ หรอื นายพสิ ิษฐ์ กำ� จรเกริกไกรวลั รศ.ดร.ชูเกียรติ ลีสุวรรณ์
สรุปข้อมูลเหล่านี้ไม่เป็น มันก็จะเป็นข้อมูลท่ีเอาไว้พูดไว้ นายธเนตร หลงศรี รศ.ดร. นิตติยา ปภาพจน์
นางวรณี เนตรจ๋อย ดร.ปาน กิมปี
บรรยายเท่าน้นั แต่เวลาเราน�ำเสนอกับภาครฐั กับผู้ก�ำหนด นายมนสั วนิ สิงหา อาจารยเ์ ก้ือ แกว้ เกต
นโยบาย เช่น กศน.หรอื หน่วยงานอน่ื จะต้องสรปุ และนำ� ผศ.ดร. สุวธิ ิดา จรุงเกียรติกลุ

จดั ท�ำโดย
สมาคมสถาบันสง่ เลริมและพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชวี ติ
โดยการสนับสนุนจาก กองทุนเพือ่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.)

www.childreninstreetthailand.com


Click to View FlipBook Version