ส่วนน�ำ
หลักการและเหตผุ ล
ปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในปัจจุบันมีแนวโน้มสูงข้ึน
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ อาชญากรรมพน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ อาชญากรรมเกยี่ วกบั การประทษุ รา้ ยตอ่ ชวี ติ
ร่างกาย เพศ และการประทุษร้ายต่อทรัพย์ ทั้งนี้ สืบเน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงทาง
ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรม กอรปกับโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศได้
มกี ารเปลยี่ นแปลงคอ่ นขา้ งรวดเรว็ และมคี วามสลบั ซบั ซอ้ นมากยงิ่ ขน้ึ เชน่ กนั สง่ ผลใหก้ าร
ก่ออาชญากรรมมีหลากหลายรูปแบบและสลับซบั ซ้อนมากย่ิงข้นึ เช่น ความปลอดภยั ใน
ชีวิตและทรัพยส์ ินของประชาชนและตอ่ สังคมในวงกว้าง โดยมอิ าจหลกี เลีย่ งได้
ในการขับเคลื่อนและการพัฒนาประเทศภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็น
ความม่ันคง (พ.ศ. 2561-2580) แผนย่อยท่ี 1 การรักษาความสงบภายในประเทศ
แนวทางการพัฒนา ข้อที่ 1 การเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและ
ความม่ันคงของมนุษย์ โดยก�ำหนดแนวทางการพัฒนาท่ีส�ำคัญไว้ 7 ด้าน ซ่ึงส�ำนักงาน
ต�ำรวจแห่งชาตติ ้องขับเคล่อื นใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ ไดแ้ ก่ 1) การแก้ไข
ปัญหาด้านอาชญากรรม 2) การแก้ไขปัญหาดา้ นจราจร 3) การแกไ้ ขปญั หาความรนุ แรง
ของสังคม 4) การเสริมสร้างความเป็นพลเมือง 5) ความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการ
สาธารณะและมีจิตสาธารณะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม 6) มีงานมีอาชีพและรายได้
ลดรายจ่ายในครอบครัว และ 7) มีความรักความสามัคคีตระหนักและให้ความส�ำคัญ
กบั ความมนั่ คงของชาติ
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนักงานตำ� รวจแห่งชาติ 1
ปที ่ีพมิ พ์ : 2565 จำ� นวนทพ่ี ิมพ์ 1,600 เล่ม
เรยี บเรียงโดย : จตุพล ดวงจิตร
ภาวนิ ี รอดประเสริฐ
เพญ็ นภา เวบ็ บ์
ผูจ้ ัดท�ำ : กองแผนงานอาชญากรรม
ส�ำนักงานยุทธศาสตรต์ �ำรวจ
ส�ำนักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ
พมิ พ์ท่ ี : ศนู ย์บรกิ ารสอ่ื และส่ิงพมิ พก์ ราฟฟคิ ไซท์
มหาวิทิ ยาลััยสวนดุุสิติ
295 ถนนนครราชสีมี า เขตดุสุ ิติ กรุุงเทพฯ 10300
โทร. : 0-2244-5081 โทรสาร. 0-2243-9113
แจกจ่ายโดย :
กองแผนงานอาชญากรรม
สำ� นกั งานยุทธศาสตรต์ �ำรวจ
สำ� นกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ
อาคาร 1 ชั้น 11 ส�ำนกั งานตำ� รวจแห่งชาติ
ถนนพระราม 1 แขวงปทมุ วัน เขตปทุมวัน
กรงุ เทพมหานคร 10330
บทสรปุ ผูบ้ รหิ าร
คู่มือการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรม
ระดับต�ำบล ฉบับน้ี เป็นผลจากการถอดบทเรียนและจัดท�ำคู่มือการสร้างเครือข่ายการ
มสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ
ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมุ่งท�ำการถอดบทเรียนและจัดการองค์ความรู้
การสรา้ งเครอื ขา่ ยของประชาชนในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล และเพอ่ื แสวงหา
แนวทางในการขับเคล่ือนการปฏิบัติงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกัน
อาชญากรรมระดับตำ� บล ของส�ำนักงานตำ� รวจแห่งชาติ ให้เกิดประสทิ ธิภาพตอ่ ไป
จากการถอดบทเรียนการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดับตำ� บล สำ� นักงานต�ำรวจแห่งชาติ ประจ�ำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 พบว่า ส�ำนักงานตำ� รวจแห่งชาติ ได้มกี ารกำ� หนดกรอบแนวคดิ ในการสรา้ ง
เครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล ไว้อย่าง
ชัดเจนโดยรายละเอียดแนวทางการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน
เป็นการมุ่งเนน้ การปฏบิ ัติหน้าที่หลักใน 2 มิติ ประกอบด้วย
มิติที่ 1 เป็นการแสวงหาความร่วมมือจากประชาชน/ชุมชน/ท้องถ่ิน โดยการ
เข้าถึงประชาชน สร้างศรัทธา ให้ความรู้ แนะน�ำวิธีการปฏิบัติ ให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ในการปฏิบตั ิงาน เพอ่ื ปอ้ งกันและปราบปรามอาชญากรรม ค้มุ ครองตนเองและชมุ ชน
มิติท่ี 2 มุ่งสร้างเครือข่ายชุมชนลักษณะแนวร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุน
การปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานต�ำรวจ ในการรักษาความปลอดภัยและความสงบ
เรียบร้อยของชุมชน/ทอ้ งถิน่
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นักงานต�ำรวจแหง่ ชาติ ก
เครือข่ายชุมชนลักษณะแนวร่วมเป็นการส่งเสริม และสนับสนุนการปฏิบัติงาน
ของเจ้าพนักงานต�ำรวจ ในการรักษาความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยของชุมชน/
ท้องถ่ินเพื่อให้การขับเคลื่อนการปฏิบัติหน้าท่ีของเครือข่ายประชาชนในการป้องกัน
อาชญากรรมระดบั ตำ� บล เปน็ ไปอยา่ งมสี ทิ ธภิ าพ เกดิ ผลเปน็ รปู ธรรม และบรรลเุ ปา้ หมาย
ตามท่ีก�ำหนด เครือข่ายประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล ส�ำนักงาน
ตำ� รวจแหง่ ชาติ จงึ กำ� หนดขอบขา่ ยหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของเครอื ขา่ ยประชาชน ในการ
ปอ้ งกันอาชญากรรมระดับต�ำบล ประกอบดว้ ย 1) รว่ มกบั สถานตี �ำรวจประชุมวางแผน
การด�ำเนินงาน 2) เป็นแกนน�ำให้ค�ำปรึกษา ให้ความรู้ต่าง ๆ แก่ประชาชนในหมู่บ้าน/
ชมุ ชน 3) เปน็ ตัวแทนในการประชาสมั พนั ธ์ ใหข้ ้อมูลข่าวสารผา่ นทางชอ่ งทางสือ่ ต่าง ๆ
4) จัดท�ำข้อมูลเบ้ืองต้นของชุมชน 5) เป็นแกนน�ำในการเชิญชวนและเข้าร่วมกิจกรรม
สาธารณประโยชน์ 6) แจ้งข้อมูลเบาะแส ข่าวสารเก่ียวกับยาเสพติด อาชญากรรม
อบายมขุ และอบุ ตั ภิ ยั 7) การแจ้งข่าวกอ่ นเกดิ เหตอุ าชญากรรม การแจง้ ข่าวขณะเกดิ เหตุ
และหลังเกิดเหตอุ าชญากรรม
จากการประเมินและคัดเลือกสถานีต�ำรวจต้นแบบจนได้มาซึ่ง สถานีต�ำรวจ
ต้นแบบในการขับเคลื่อนการสร้างเครือขา่ ยการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการป้องกัน
อาชญากรรมระดับต�ำบล ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และน�ำมาสู่การลงพ้ืนท่ีศึกษาเพ่ือ
ถอดบทเรยี นสถานตี ำ� รวจตน้ แบบน้นั บทเรยี นส�ำคญั จากสถานีต�ำรวจตน้ แบบ พบวา่
การสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั
ต�ำบล ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ท�ำงานบนฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของต�ำรวจชุดต�ำรวจ
ชุมชนสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการเน้นการน�ำนโยบายสู่การปฏิบัติตามเป้าหมายของส�ำนักงาน
ตำ� รวจแหง่ ชาติ เน้นการขยายการสรา้ งเครอื ข่ายการมสี ่วนร่วม ผา่ นการด�ำเนนิ กิจกรรม
รว่ มกบั หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชนทมี่ จี ติ อาสามคี วามพรอ้ มบนฐาน
ของการไว้วางใจของประชาชน โดยใช้แนวคิดการทำ� งานแบบ “การใชใ้ จ + ไวใ้ จ” หรือ
“แนวคิดเอาใจน�ำ สู่ภาคีเครือข่าย” เพ่ือสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับชุมชน และพบว่า
ส่วนใหญ่ชุดต�ำรวจชุมชนสัมพันธ์ปฏิบัติหน้าที่มีประสิทธิภาพเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว จนน�ำ
ไปสกู่ ารไดม้ าซงึ่ มวลชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของเจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
เครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล
ส�ำนกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ เป็นการตอ่ ยอดการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีของงานด้านชุมชนสมั พนั ธท์ ี่
เจา้ หนา้ ทตี่ ำ� รวจไดป้ ฏบิ ตั อิ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งในทกุ ทอ้ งทอ่ี ยแู่ ลว้ หากแตโ่ ครงการนเี้ ปน็ การนำ�
เอาการติดต่อสอื่ สารรูปแบบใหม่ มาใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื สอ่ื สารระหว่างสมาชกิ เครอื ข่ายกับ
เจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจ และประชาชนในทอ้ งท่ี ทำ� ใหเ้ กดิ ชอ่ งทางในการสอ่ื สารเพอื่ แจง้ ขา่ วบอก
ข คู่มอื การสร้างเครือขา่ ยการมสี ่วนรว่ มของประชาชน
ในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดับต�ำบล
เหตทุ อ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ หรอื เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ผา่ นสอื่ สมยั ใหม่ โดยกลมุ่ สมาชกิ เครอื ขา่ ย
การมสี ว่ นร่วมของประชาชน เช่น กลุ่ม Line, Facebook, Instagram หรอื แพลตฟอรม์
(platform) อื่น ๆ ตามความเหมาะสมแก่เจ้าหน้าท่ีต�ำรวจ เพื่อเข้าช่วยเหลือหรือระงับ
เหตไุ ดท้ นั ทว่ งที ซงึ่ ทำ� ใหล้ ดความสญู เสยี ทง้ั ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน ยงั ผลใหเ้ กดิ
ความสขุ สงบในสงั คม ซึง่ เป็นไปตามเปา้ หมายของยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 20 ปี
จากการขบั เคลอื่ นการสง่ เสรมิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนใน
การปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล ในปงี บประมาณทผี่ า่ นมาผลของการดำ� เนนิ โครงการ
ท�ำให้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจได้รับการยอมรับจากประชาชนมากขึ้น และประชาชนพร้อมทั้ง
ภาคเี ครอื ขา่ ยกส็ ามารถเข้ามามีสว่ นร่วมในการป้องกันอาชญากรรมไดม้ ากขนึ้
ส่วนแนวทางการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
ปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพในอนาคต
มีดงั น้ี
1. ด้วยก�ำลังเจ้าหน้าที่ต�ำรวจมีจ�ำนวนจ�ำกัด แต่ขอบข่ายภารกิจของเจ้าหน้าที่
ต�ำรวจมคี ่อนขา้ งมากทำ� ให้เจา้ หนา้ ท่ีตำ� รวจ 1 นายต้องรับหลายหนา้ ท่ี และด้วยภารกจิ
ด้านชุมชนสัมพันธ์เป็นภารกิจท่ีส�ำคัญไม่น้อยไปกว่าภารกิจด้านอื่น จึงควรมีการศึกษา
วิเคราะห์หาแนวทางในการก�ำหนดกรอบอัตราก�ำลังและการบรรจุแต่งต้ังข้าราชการ
ตำ� รวจตำ� แหนง่ ตำ� รวจชมุ ชนสมั พนั ธ์ เพอื่ สนบั สนนุ ภารกจิ ดงั กลา่ วใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมาก
ยง่ิ ขนึ้
2. ควรมีการขับเคล่ือนส่งเสริมงานด้านการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
เพอื่ เปน็ การสรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคประชาชนในการสรา้ งความสงบสขุ ในชมุ ชน สงั คม
และประเทศชาติตอ่ ไป
3. ฝ่ายอ�ำนวยการส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ควรจัดการฝึกอบรมให้แก่สมาชิก
เครือข่ายโดยใช้รูปแบบการฝึกอบรมระยะสั้นและรับรองความรู้ให้แก่สมาชิกเครือข่าย
เพอื่ เปน็ การเสรมิ ความรู้ ทกั ษะ และความมน่ั ใจแกส่ มาชกิ เครอื ขา่ ย ซงึ่ จะนำ� มาซง่ึ สมาชกิ
เครอื ขา่ ยทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถทเ่ี หมาะสมในการเขา้ มาเปน็ เครอื ขา่ ยการทำ� งานใหก้ บั
ภาครัฐโดยเฉพาะส�ำนกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ
4. ฝ่ายอ�ำนวยการส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ควรพัฒนาตัวช้ีวัดการปฏิบัติงาน
หรอื ตวั ชวี้ ดั การประเมนิ ใหม้ คี วามชดั เจน เพอ่ื ใหส้ ถานตี ำ� รวจหรอื เจา้ หนา้ ทตี่ ำ� รวจทป่ี ฏบิ ตั ิ
หน้าที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ตามเป้าหมายและมีทิศทางในการปฏิบัติ อันจะน�ำมาซ่ึง
ประสิทธิผล (effectiveness) และประสิทธภิ าพ (efficiency) ของโครงการ
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นกั งานต�ำรวจแห่งชาติ ฃ
5. ควรมกี ารตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพอื่ นำ� ผลการประเมนิ
มาสกู่ ารวางแผนและพฒั นาโครงการใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป
6. ควรมีการคัดเลือกสถานีต�ำรวจต้นแบบ/หรือเครือข่ายการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน ท่ปี ฏบิ ตั หิ นา้ ที่ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และให้รางวลั กับสถานีตำ� รวจต้นแบบ/
หรือเครือข่ายต้นแบบ อันจะเป็นการสร้างขวัญและก�ำลังใจในการปฏิบัติงานแก่สถานี
ตำ� รวจและเจา้ หนา้ ที่ต�ำรวจ
ค คูม่ อื การสร้างเครอื ข่ายการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
ในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล
ค�ำน�ำ
พลต�ำรวจเอก สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข ผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ ได้ก�ำหนด
วิสัยทัศน์ (Vision) ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ “เป็นองค์กรบังคับใช้กฎหมายที่น�ำสมัย
ในระดับมาตรฐานสากล เพ่ือให้ประชาชนเชื่อมั่นศรัทธา” ภายใต้วิสัยทัศน์ ดังกล่าว
สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาตมิ แี นวทางในการทำ� งานประสานความรว่ มมอื กบั ภาคประชาชน
ในการท�ำงานให้มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการมุ่งเน้นการแสวงหาความร่วมมือจาก
ประชาชนของสถานีต�ำรวจ เพ่ือสร้างเครือข่ายชุมชนลักษณะปฏิบัติการ ส่งเสริมให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานต�ำรวจ
เพ่ือปอ้ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม รักษาความสงบเรยี บร้อยและรักษาความปลอดภยั
ให้แก่ชมุ ชนและทอ้ งถิ่น
โดยใช้วิธีการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เด็กและเยาวชน บูรณาการ
ความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและเอกชน สนับสนุน
เจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ำรวจ ในการเฝ้าระวังป้องกันอาชญากรรม และร่วม
รับผิดชอบต่อสังคมให้ปลอดภัยจากปัญหาอาชญากรรม ซ่ึงเป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ
ประเด็นการพัฒนาเรง่ ดว่ นในช่วงระยะ 5 ปแี รก แผนตำ� บลม่ันคง มั่งค่ัง ยงั่ ยืน
สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ ไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ดงั กลา่ ว จงึ ไดจ้ ดั ทำ� “โครงการ
สร้างเครอื ข่ายการมีส่วนรว่ มของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล” ข้นึ
เพื่อเป็นการแสวงหาความร่วมมือจากทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไข
อาชญากรรมในพนื้ ท่ี อนั จะเปน็ การชว่ ยใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านของสถานตี ำ� รวจในการปอ้ งกนั
อาชญากรรมในระดับต�ำบลมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน และได้จัดท�ำแนวทางการสร้าง
เครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล เพอ่ื ใชเ้ ปน็
แนวทางในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งในเอกสารฉบับนี้
ครอบคลุมเน้ือหาท่ีส�ำคัญ ประกอบด้วย แนวทางการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ กรอบแนวคดิ
ในการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน ลักษณะการส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ฅ
ของประชาชน ข้ันตอนการด�ำเนินงานและการขับเคล่ือนสู่เป้าหมาย ขอบข่ายหน้าท่ี
ความรับผิดชอบของเครอื ข่ายประชาชนในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล แนวคดิ
สู่การสร้างเครอื ข่ายการมีสว่ นร่วม บทเรยี นจากสถานีต�ำรวจต้นแบบ รวมไปถงึ แนวทาง
การติดตามและประเมนิ ผลการด�ำเนนิ โครงการ
กองแผนงานอาชญากรรม ส�ำนักงานยุทธศาสตร์ต�ำรวจ ส�ำนักงานต�ำรวจ
แห่งชาติ ขอขอบคุณทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมท�ำให้การจัดท�ำคู่มือการสร้างเครือข่าย
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล ฉบับน้ีส�ำเร็จลุล่วง
และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือฯ ฉบับน้ี จะเป็นแนวทางการปฏิบัติให้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจท่ี
ปฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกบั การสรา้ งเครอื ขา่ ยภาคประชาชนมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขนึ้ อนั จะเกดิ
ผลดใี นการรกั ษาความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน และในการรกั ษาความ
สงบเรียบร้อยของสังคม ประเทศชาติ และเป็นการตอบสนองนโยบายของรัฐบาล และ
ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ
กองแผนงานอาชญากรรม
ส�ำนักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ
ปี 2565
ฆ คมู่ ือการสรา้ งเครือขา่ ยการมสี ว่ นร่วมของประชาชน
ในการป้องกันอาชญากรรมระดับตำ� บล
ส า ร บั ญ
หนา้
บทสรุปผบู้ รหิ าร ก-ค
คำ� นำ� ค-ฆ
ส่วนที่ 1 สว่ นนำ�
l ส่วนน�ำ 1
l หลักการและเหตุผล 1
l แนวทางการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน 2
ในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล ส�ำนกั งานตำ� รวจแห่งชาต ิ 3
l ลกั ษณะการส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของประชาชน 4
l ประเด็น/ขอบเขตการดำ� เนินงาน 4
- บทบาทหน้าทคี่ วามรับผิดชอบของสมาชกิ เครือขา่ ย 5
- ภารกจิ และการขบั เคลื่อนส่เู ปา้ หมาย 6
ขั้้�นตอนการดำเนิินงานและการขับั เคลื่�อนสู่�เป้้าหมาย 8
l ขอบขา่ ยหน้าท่คี วามรับผิดชอบของเครือขา่ ยประชาชน
ในการป้องกนั อาชญากรรมระดับตำ� บล
ส่วนที่ 2 แนวคิดส่กู ารสรา้ งเครือข่ายการมีส่วนร่วม 10
l แนวคิดสู่การสรา้ งเครือข่ายการมสี ่วนร่วม 11
l ความหมายของเครอื ข่ายทางสังคม (Social Network) 11
l ประเภทของเครือขา่ ยทางสงั คม 14
l กระบวนการปฏิบัติงานของเครอื ขา่ ย 17
l ทฤษฎสี ามเหลีย่ มอาชญากรรม (Crime Tringle Theory) 18
l มาตรการในการปอ้ งกนั อาชญากรรมเชงิ รกุ 19
l แนวคิดเกยี่ วกับวทิ ยากรกระบวนการ (Facilitator) 20
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นักงานต�ำรวจแห่งชาติ
l หลักการออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ส่กู ารปฏบิ ัติ 21
l ข้อควรคำ� นึงถงึ หลักการออกแบบการเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วม 22
l คุณสมบัติของวทิ ยากรกระบวนการ 23
l ทกั ษะท่ีจำ� เปน็ ของวทิ ยากรกระบวนการ 24
l การเป็นวิทยากรกระบวนการที่ดี 26
สว่ นท่ี 3 บทเรียนจากสถานตี �ำรวจตน้ แบบ 28
สถานีีตำรวจนครบาลมีีนบุรุ ีี กองบัังคัับการตำรวจนครบาล 3 29
l สถานีต�ำรวจนครบาลลาดพรา้ ว กองบงั คบั การตำ� รวจนครบาล 4 32
l สถานีต�ำรวจภูธรเมืองนนทบรุ ี อ�ำเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบุร ี 34
l สถานตี �ำรวจภธู รสนามชยั เขต อ�ำเภอสนามชยั เขต จังหวดั ฉะเชิงเทรา 36
l สถานีต�ำรวจภูธรจัตุรัส อำ� เภอจัตุรัส จงั หวดั ชยั ภูมิ 38
l สถานตี �ำรวจภธู รขวาว อำ� เภอเสลภูมิ จังหวัดรอ้ ยเอ็ด 40
สถานีีตำรวจภููธรเมือื งลำปาง อำเภอเมืืองลำปาง จัังหวััดลำปาง 42
l สถานีต�ำรวจภูธรทงุ่ เสลยี่ ม อ�ำเภอทุง่ เสลี่ยม จงั หวัดสุโขทยั 44
l สถานตี �ำรวจภธู รบางเลน อ�ำเภอบางเลน จงั หวัดนครปฐม 47
l สถานีต�ำรวจภูธรเมอื งชมุ พร อำ� เภอเมืองชมุ พร จังหวัดชมุ พร 49
l สถานีต�ำรวจภูธรสะบ้ายอ้ ย อ�ำเภอสะบ้ายอ้ ย จงั หวดั สงขลา 52
ส่วนท่ี 4 แนวทางการติดตามและประเมินผลการด�ำเนนิ โครงการ 54
l การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ 55
เอกสารอา้ งองิ 57
ภาคผนวก 59
ภาคผนวก ก แบบฟอรม์ ประวัติของสมาชิกเครือข่ายการมีสว่ นรว่ ม 62
ของประชาชน ในการป้้องกัันอาชญากรรมระดับั ตำบล
ภาคผนวก ข แบบฟอร์มบัญชรี ายชือ่ สมาชิกเครอื ขา่ ยการมสี ่วนร่วม
ของประชาชนในการปอ้ งกันอาชญากรรมระดับตำ� บล
คมู่ อื การสร้างเครอื ขา่ ยการมีส่วนรว่ มของประชาชน
ในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล
ส า ร บั ญ ภ า พ
ภาพท่ี 1 แสดงแนวทางการสร้างเครอื ขา่ ยการมีส่วนร่วมของประชาชน หนา้
ในการป้องกนั อาชญากรรมระดับต�ำบล ส�ำนักงานตำ� รวจแห่งชาติ 4
ภาพท่ี 2 การถ่ายทอดความรู้ส่วู ทิ ยากรในทกุ สถานตี ำ� รวจ 6
ภาพท่ี 3 ข้ันตอนการด�ำเนินงานและการขบั เคลื่อนสเู่ ปา้ หมาย 7
ภาพที่ 4 แสดงขอบขา่ ยหนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบของเครอื ข่ายประชาชน 9
ในการป้องกันอาชญากรรมระดบั ตำ� บล 17
ภาพที่ 5 กระบวนการปฏบิ ัติงานของเครือข่าย 19
ภาพท่ี 6 มาตรการหรอื ขนั้ ตอนการป้องกันอาชญากรรมโดยใช้ 21
ทฤษฎสี ามเหลี่ยมอาชญากรรม 22
ภาพท่ี 7 หลักการออกแบบกระบวนการเรยี นร้สู กู่ ารปฏบิ ัติ 24
ภาพที่ 8 “5 ขัน้ ตอน” ในการออกแบบกระบวนการเรยี นรู้
ภาพที่ 9 ทักษะท่จี �ำเป็นของวทิ ยากรกระบวนการ
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ
สว่ นท่ี 1
สว่ นนำ�
ค่มู อื การสรา้ งเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการป้องกันอาชญากรรมระดบั ตำ� บล
ส่วนน�ำ
หลักการและเหตผุ ล
ปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในปัจจุบันมีแนวโน้มสูงข้ึน
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ อาชญากรรมพน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ อาชญากรรมเกยี่ วกบั การประทษุ รา้ ยตอ่ ชวี ติ
ร่างกาย เพศ และการประทุษร้ายต่อทรัพย์ ทั้งนี้ สืบเน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงทาง
ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรม กอรปกับโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศได้
มกี ารเปลยี่ นแปลงคอ่ นขา้ งรวดเรว็ และมคี วามสลบั ซบั ซอ้ นมากยงิ่ ขน้ึ เชน่ กนั สง่ ผลใหก้ าร
ก่ออาชญากรรมมีหลากหลายรูปแบบและสลับซบั ซ้อนมากย่ิงข้นึ เช่น ความปลอดภยั ใน
ชีวิตและทรัพยส์ ินของประชาชนและตอ่ สังคมในวงกว้าง โดยมอิ าจหลกี เลีย่ งได้
ในการขับเคลื่อนและการพัฒนาประเทศภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็น
ความม่ันคง (พ.ศ. 2561-2580) แผนย่อยท่ี 1 การรักษาความสงบภายในประเทศ
แนวทางการพัฒนา ข้อที่ 1 การเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและ
ความม่ันคงของมนุษย์ โดยก�ำหนดแนวทางการพัฒนาท่ีส�ำคัญไว้ 7 ด้าน ซ่ึงส�ำนักงาน
ต�ำรวจแห่งชาตติ ้องขับเคล่อื นใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ ไดแ้ ก่ 1) การแก้ไข
ปัญหาด้านอาชญากรรม 2) การแก้ไขปัญหาดา้ นจราจร 3) การแกไ้ ขปญั หาความรนุ แรง
ของสังคม 4) การเสริมสร้างความเป็นพลเมือง 5) ความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการ
สาธารณะและมีจิตสาธารณะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม 6) มีงานมีอาชีพและรายได้
ลดรายจ่ายในครอบครัว และ 7) มีความรักความสามัคคีตระหนักและให้ความส�ำคัญ
กบั ความมนั่ คงของชาติ
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนักงานตำ� รวจแห่งชาติ 1
แผนพัฒนาดังกล่าวข้างต้น โดยเฉพาะด้านที่ 1) การแก้ไขปัญหาด้าน
อาชญากรรม 2) การแก้ไขปญั หาด้านจราจร 3) การแก้ไขปญั หาความรุนแรงของสงั คม
และ 4) การเสรมิ สร้างความเปน็ พลเมอื ง เปน็ ภารกจิ หลกั ของสำ� นกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ
ท่ีจะต้องเป็นผู้ขับเคลื่อน หากแต่ในปัจจุบันหน้าที่ความรับผิดชอบของต�ำรวจใน
แตล่ ะพนื้ ทม่ี ภี ารกิจหลายดา้ น สง่ ผลใหก้ �ำลงั ของตำ� รวจไมเ่ พยี งพอตอ่ การปฏิบตั หิ น้าทไ่ี ด้
ครอบคลมุ ทกุ ดา้ น โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การปอ้ งกนั อาชญากรรมใหส้ อดคลอ้ งตามนโยบาย
รัฐบาล แต่หากต�ำรวจได้มีการบูรณาการการด�ำเนินการป้องกันอาชญากรรมร่วมกับ
ภาคเี ครอื ขา่ ยภายในพน้ื ทไี่ ด้ จะสง่ ผลใหก้ ารดำ� เนนิ งานเกดิ ประสทิ ธภิ าพและสอดคลอ้ งกบั
นโยบายรัฐบาลมากขึ้น แนวทางการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในทกุ ระดบั เพอ่ื การปอ้ งกนั อาชญากรรมจงึ เปน็ แนวทางหนง่ึ ของสำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ
ทม่ี งุ่ บรู ณาการการปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ ว่ มกบั หนว่ ยงานภาคเี ครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ในพนื้ ทภ่ี ายใตแ้ ผน
ตำ� บลมน่ั คง มง่ั คง่ั ยง่ั ยนื กำ� หนดดำ� เนนิ การลด/ปอ้ งกนั อาชญากรรมในพนื้ ทรี่ ะดบั ตำ� บล
ทั่วประเทศ โดยใช้วธิ ีการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เด็กและเยาวชน บูรณาการความ
รว่ มมือกับองคก์ รภาครฐั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และเอกชน สนับสนุนเจา้ พนกั งาน
ฝา่ ยปกครองหรอื ตำ� รวจในการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั อาชญากรรม และรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม
ใหป้ ลอดภยั จากปญั หาอาชญากรรมและเพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์
ชาติ ประเด็นการพัฒนาเร่งด่วนในช่วงระยะ 5 ปีแรก แผนต�ำบลมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน
แผนงานท่ี 3 แผนการลด/ปอ้ งกนั ปญั หาอาชญากรรม สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ จงึ ไดจ้ ดั ทำ�
โครงการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมระดับ
ต�ำบล ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้น เพ่ือเป็นการแสวงหาความร่วมมือจาก
ทุกภาคส่วน ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขอาชญากรรมในพื้นที่ อันจะเป็นการช่วยให้
การปฏิบตั ิงานของสถานีต�ำรวจในการปอ้ งกนั อาชญากรรมมปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน
แนวทางการสรา้ งเครอื ข่ายการมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการ
ปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล ส�ำนักงานต�ำรวจแหง่ ชาติ
ตามแนวทางการส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน ท้องถ่ินและองค์กรมีส่วนร่วม
ในกิจการตำ� รวจ ทท่ี างสำ� นกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ กำ� หนดไว้มีวัตถุประสงค์ ดงั นี้
1) เพอ่ื สนบั สนนุ สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และองคก์ ร
ในกจิ การต�ำรวจ
2) เพอื่ ก�ำหนด ปรับและยกระดับลักษณะการมสี ว่ นร่วมต่าง ๆ ให้เป็นรปู แบบ
และมาตรฐานเดียวกนั ทว่ั ประเทศ โดยเลือกใช้รูปแบบตามสถานการณ์
2 คูม่ ือการสร้างเครือข่ายการมีสว่ นรว่ มของประชาชน
ในการป้องกันอาชญากรรมระดบั ตำ� บล
3) เพื่อเสนอให้การมีส่วนร่วมแต่ละรูปแบบ มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
รองรบั อยา่ งถกู ตอ้ ง
4) เพ่ือให้การมีส่วนร่วมของส่วนต่าง ๆ ท้ัง 3 รูปแบบ เป็นเครือข่ายโยงใย
ซง่ึ กันและกัน สามารถสนบั สนนุ และเกอ้ื กูลกนั ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผล
5) เพ่ือให้สถานีต�ำรวจน�ำรูปแบบมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ไปปรับใช้ให้เหมาะสม
ตามสภาพของสถานตี �ำรวจ
ลกั ษณะการสง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มของประชาชน*
ภายใต้การขับเคลื่อนภารกิจ ต�ำรวจต้องมุ่งเน้นการแสวงหาความร่วมมือ
จากประชาชนของสถานตี ำ� รวจ เพอื่ สรา้ งเครอื ขา่ ยชมุ ชนลกั ษณะปฏบิ ตั กิ าร เปน็ การสง่ เสรมิ
ใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ในการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของเจา้ พนกั งาน
ต�ำรวจ เพื่อป้องกันปราบปรามอาชญากรรม รักษาความสงบเรียบร้อยและรักษาความ
ปลอดภัยใหแ้ ก่ชุมชนและทอ้ งถิน่ ช่วยเหลอื และสนับสนนุ การจดั การจราจร รวมถึงการ
เข้าร่วมในการป้องกันภัย ระงับเหตุ และช่วยเหลือหรือกู้ภัยจากอุบัติภัยต่าง ๆ ซึ่ง
เครือขา่ ยชุมชนลักษณะแนวร่วมปฏบิ ัติการ มงุ่ เน้นการปฏิบตั หิ นา้ ทห่ี ลักใน 2 มิติ ดงั นี้
มิติท่ี 1 เปน็ การแสวงหาความรว่ มมอื จากประชาชน/ชมุ ชน/ทอ้ งถ่ิน โดยการ
เข้าถึงประชาชน สร้างศรัทธา ให้ความรู้ แนะน�ำวิธีการปฏิบัติ ให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ในการปฏบิ ัติงาน เพอื่ ป้องกนั และปราบปรามอาชญากรรม คมุ้ ครองตนเองและชมุ ชน
มิติที่ 2 มุ่งสร้างเครือข่ายชุมชนลักษณะแนวร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุน
การปฏบิ ตั งิ านของเจา้ พนกั งานตำ� รวจ ในการรกั ษาความปลอดภยั และความสงบเรยี บรอ้ ย
ของชมุ ชน/ท้องถน่ิ
* ระเบยี บสำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ ว่าดว้ ยการสง่ เสริมใหป้ ระชาชน ชุมชน ท้องถน่ิ และองค์กรมีส่วน
ร่วมในกิจการตำ� รวจ พ.ศ. 2551
* สรุปกรอบแนวทางจาก ระเบียบส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ว่าด้วยการส่งเสริมให้ประชาชน
ชุมชน ท้องถิ่นและองค์กรมีส่วนร่วมในกิจการต�ำรวจ พ.ศ. 2551 และ จากการสนทนากลุ่มย่อย
(Focus Group) ร่วมกับผู้บังคับบัญชาส�ำนักงานยุทธศาสตร์ต�ำรวจ (กองแผนงานอาชญากรรม)
สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ วนั พฤหัสบดที ่ี 24 ธันวาคม 2563 เวลา 10.00-12.00 น.
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ 3
สงบเรียบร้อยของชมุ ชน/ทอ้ งถ่นิ
มิติที่ 1
ประชาชน/ช
มติ ทิ ่ี 1 การแสวงหาความรว่ มมอื
จากประชาชน/ชมุ ชน/ท้องถิน่
เครอื ข่ายการมีส่วนรว่ มของประชาชน มิติท่ี 2
ในการป้องกันอาชญากรรม ร่วมในการ
ของเจา้ พน
มิติท่ี 2 สร้างเครือข่ายชุมชนลักษณะ
ภำพท่ี 1 แสดงแนวทางแกกานราวปรรฏ่วมสบิ ใตั นริงกา้านารขงสอเ่งงคเเสจ้ารรพิมือแนลกัขะงาส่านนยตับำ� สกรนวาจุนรมสี ่วนรว่
ภาพที่ 1 แสดงแนวทางการสร้างเครอื ข่ายการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกัน
อาชญากรรมระดบั ตาบล สานกั งานตารวจแหอาชญากรรมระดบั ต�ำบล สำ� นักงานตำ� รวจแห่งชาติ
ประเด็น/ขอบเขตการด�ำเนนิ งาน
รูปแบบลกั ษณะแนวร่วมเปน็ การแสวงหาความรว่ มมือจากประชาชนในพ้นื ท่ที ี่
รบั ผดิ ชอบ เชน่ การตง้ั เครอื ขา่ ยเพอื่ ตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหวา่ งสมาชกิ เพอ่ื แจง้ ขา่ วอาชญากรรม
การสรา้ งชุมชนเข้มแข็ง และความร่วมมอื ในลักษณะเพอื่ นบ้านเตอื นภยั เปน็ ต้น
1. บทบาทหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบของสมาชิกเครือขา่ ย
1) ผู้ผ่านการอบรมเป็นแกนน�ำให้ค�ำปรึกษา ให้ความรู้ด้านต่าง ๆ แก่
ประชาชนในพืน้ ท่ที ี่พกั อาศยั หรอื ประกอบอาชพี
2) เป็นตัวแทนในการประชาสมั พนั ธข์ อความรว่ มมือจากชุมชน/ทอ้ งถิน่
3) จดั ทำ� ขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ของชมุ ชน/ทอ้ งถนิ่ เกยี่ วกบั พฤตกิ ารณข์ องบคุ คลใน
พื้นที่เพื่อใช้ประกอบการปฏบิ ัตงิ านรว่ มกับเจา้ หนา้ ที่ตำ� รวจ
4) แจง้ ขอ้ มลู เบาะแส ขา่ วสารเกย่ี วกบั อาชญากรรม ยาเสพตดิ และอบุ ตั ภิ ยั
4 คู่มือการสร้างเครือข่ายการมีสว่ นรว่ มของประชาชน
ในการป้องกันอาชญากรรมระดับตำ� บล
2. ภารกจิ และการขับเคลอ่ื นสเู่ ปา้ หมาย
1) ส�ำนกั งานตำ� รวจแห่งชาติ อบรมข้าราชการต�ำรวจตน้ แบบ (ครู ก.) โดย
กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล และต�ำรวจภูธรภาค 1-9 คัดเลือกข้าราชการต�ำรวจใน
สังกัดที่มีความรู้ ความสามารถและมคี วามพร้อม กองบังคบั การละ 5 นาย ยศพันตำ� รวจ
โทขึ้นไป เพ่ือเป็นวทิ ยากรถ่ายทอดความรู้แก่ (ครู ข.)
2) กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล, ต�ำรวจภูธรภาค 1–9 มอบหมายให้
กองบังคับการต�ำรวจนครบาล, ต�ำรวจภูธรจังหวัด มอบหมายผู้รับผิดชอบขับเคล่ือน
การปฏิบัติให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม และบรรลุเป้าหมาย
ตามทก่ี �ำหนด โดยจัดอบรมวทิ ยากร (ครู ข.) และใหด้ �ำเนนิ การ ดังน้ี
1) ให้สถานีต�ำรวจ (โดย ครู ข.) ประชุมวางแผนร่วมกับผู้น�ำชุมชน/
ท้องถิน่ ประชาชน และกลมุ่ เป้าหมายเครือข่ายประชาชน
2) ให้สถานีต�ำรวจ จัดให้มีการฝึกอบรม และจัดท�ำประวัติประชาชน
กลุ่มเป้าหมายทเี่ ขา้ ฝกึ อบรม
3) ให้สถานีต�ำรวจ จัดตั้งเครือข่ายอย่างน้อยสถานีละ 1 เครือข่าย
เครอื ขา่ ยละ 100 คน และให้สถานีต�ำรวจทุกแห่ง แต่งต้งั เจ้าหนา้ ทตี่ �ำรวจประจำ� หม่บู ้าน
รบั ผิดชอบดำ� เนนิ การเก่ียวกับเครือข่ายการมสี ่วนร่วมของประชาชนท่ีผา่ นการฝึกอบรม
4) ใหส้ ถานตี ำ� รวจ กำ� หนดระบบ และแนวทางการประสานงานระหวา่ ง
สมาชิกเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล
รว่ มกบั เจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจ โดยจดั ทำ� ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ สอ่ื สารเพอื่ ประสานการปฏบิ ตั ิ การแจง้
ขอ้ มลู ขา่ วสารตา่ ง ๆ โดยสรา้ งกลมุ่ เครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน เชน่ กลมุ่ Line,
Facebook, Instagram หรอื แพลตฟอรม์ (platform) อ่นื ๆ ตามความเหมาะสม
5) ใหส้ ถานตี �ำรวจ จัดประชุมระดมความคดิ เหน็ ร่วมกบั เครอื ข่ายการมี
ส่วนร่วมของประชาชน เพ่ือก�ำหนดเป้าหมายและการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือแก้ไข
ปัญหาอาชญากรรมในพนื้ ที่
6) ให้สถานีต�ำรวจ ควบคุม ติดตามและประเมินผลการมีส่วนร่วม
ของเครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนทง้ั ในและนอกพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบของสถานตี ำ� รวจ
ซ่งึ ขน้ั ตอนการด�ำเนินการสามารถสรุปได้ ดงั ภาพที่ 2
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นักงานต�ำรวจแห่งชาติ 5
10
ตร. อบรม (ครู ก.)
ครู ก. ถา่ ยทอด
ความรู้ให้ (ครู ข.)
ติดตามประเมินผล
ถา่ ยทอดความรู้
(ครู ก. และ ครู ข.)
ภำพทภา่ี 2พทก่ี า2รถกา่ารยถทา่ อยดทคอดวคามวารมสู้ รู่วสู้ ิทูว่ ยทิ ายการกใรนในททุกกุ สสถถาานนตีีตาำ� รรววจจ
ข้ันตอนกำรดำเนนิ งำนและกำรขับเคลื่อนส่เู ป้ำหมำย
ขั้นตอนการด1�ำเ.นสินางนาักนงแาลนะตกาารรวขจับแหเค่งลชื่อาตนิจสัด่เู ปให้า้มหีกมาารยอบรมข้าราชการตารวจ
ต้นแบบ (ครู ก.) ในสังกัดกองบัญชาการตารวจนครบาล และตารวจภูธรภาค 1-9
ใปหร้มะีค(คแชคลาววรชาาะูมมนทกสรำ� .แู้าห)คลมน1ใวะาา้น.าทร ทสมถสา่ีอังสห�ำกบแานน2ัดรมลัก.้ามกะาทขงวอรมาีอ่้าิทงถีคนรบบยวาตแรัญาาช�มกลำมชกรระวพาาวิทมก(รรจคยีคตา้อแารรวามกหูตารทขรม�ำ่วง.ี่จรจพช)(ะวตคารเจต้น้ปรอนูิจมแ็นขคับดทเร.ป)ใบ่ีจบห็นะา(้วมเลคปิทีกร็นยแาู กาเลรปก.ะอ)็นรตบสใว�ำนรังิทรมกกวยขาัดจาร้ภากกสรอูธรรารงใ้าชภบนงกาังกเคคคาารรับรือ1ตสกข-�ำรา9่าร้ารยวงตใปเหจาครตร้มระว้ีคนือชจวแขนาาบ่าชคมยนบรรู้
บาล 1-9 และ2ก.อ กงบองั บคับงคกับากรตารา/รตว�ำจรภวูธจรภจูธังรหจวังัดหวทัด่ีผ่าจนัดกฝาึกรอฝบึกรอมบขร้ามราเชปก็นาวริทต�ำยราวกจรถ(่าคยรทู อขด.)
เคควราอื มโเสคขดรร่ารยกู้า้ ยอืมงาปขเรอค่าสรบรยะรือหล3ช้าขมะง.า า่เาชคส1ยยน0ถรปใ0ือหาร3อนขะ้ข.คยีตช่า้าขน่ายร�ำาง้าราชปโนรดชวนรอ้าจยกะแยชมาชกสจกรอาข่ ัดถตาบชา้ ฝาร�ำนรหนึกรตาแมวอีลาชกาจบะรกย่ขตวราใ1า้้นจมรหรตแสป้ขาเำ�บถรชค้าระบรากรวชานือาจชา(รขีลคชกสตา่ะนราถายรูอราเ5ตกควนย�ำ.จรนา่ตี)รอืสงำ�าวนขเถรยจป้อว่าา็นยจ(นย(คควลลสีลริทะะรถะู ูยขา51ข5นา.0)ก.นีตน)0เรำ�าปาถจรยคย็น่าวัดน(วยจ(ฝคทิทคลึกรยะรอูอาูขดขบ1กค.).รร)วเถมคาา่ รม/ยอืสรทขู้กรอ้่าาาดยงร
ความรู้
6 คู่มือการสร้างเครือขา่ ยการมสี ว่ นร่วมของประชาชน
ในการป้องกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล
4. กองบญั ชาการตำ� รวจนครบาล และตำ� รวจภธู รภาค 1-9 ตดิ ตาม กำ� กบั ดแู ล
และรวบรวมผลการฝึกอบรม รายงานผล โดยมี ภาพถา่ ย บัญชีรายช่ือขา้ ราชการตำ� รวจ
และบัญชีรายชื่อประชาชนท่ีผ่านการฝึกอบรม ในรูปแบบไฟล์ Excel ส่งให้ส�ำนักงาน
ต�ำรวจแหง่ ชาติ : ผ่านกองแผนงานอาชญากรรม
ภาพท่ี 3 ขั้นตอนการดำ� เนนิ งานและการขับเคลอื่ นสเู่ ปา้ หมาย
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนกั งานตำ� รวจแห่งชาติ 7
ขอบขา่ ยหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของเครอื ขา่ ยประชาชน
ในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดับตำ� บล
เครือข่ายชมุ ชนลกั ษณะแนวรว่ มนั้น เปน็ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การปฏิบัติ
งานของเจ้าพนักงานต�ำรวจ ในการรักษาความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยของ
ชุมชน/ท้องถ่ิน เพื่อให้การขับเคลื่อนการปฏิบัติหน้าท่ีของเครือข่ายประชาชนในการ
ปอ้ งกนั อาชญากรรมระดับต�ำบล เปน็ ไปอยา่ งมีสทิ ธิภาพ เกดิ ผลเปน็ รูปธรรม และบรรลุ
เป้าหมายตามทีก่ �ำหนด ส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ จึงกำ� หนดขอบข่ายหน้าท่คี วามรบั ผิด
ชอบของเครอื ขา่ ยประชาชนในการปอ้ งกันอาชญากรรมระดับตำ� บล ดงั นี้
1) รว่ มกบั สถานตี ำ� รวจประชมุ วางแผน กำ� หนดระบบและแนวทางการประสานงาน
ระหว่างสมาชิกเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรม
ระดับต�ำบลกับเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ โดยจัดท�ำช่องทางการติดต่อสื่อสาร เพ่ือประสานการ
ปฏบิ ัติ การแจง้ ขอ้ มูลข่าวสารตา่ ง ๆ โดยสร้างกล่มุ เครือขา่ ยการมสี ่วนร่วมของประชาชน
เช่น กล่มุ Line, Facebook, Instagram หรอื แพลตฟอรม์ (platform) อืน่ ๆ ตามความ
เหมาะสม
2) เป็นแกนน�ำใหค้ �ำปรกึ ษา ให้ความรูต้ า่ ง ๆ แก่ประชาชน ในหม่บู า้ น/ชุมชน
ของตนเอง
3) เปน็ ตวั แทนในการประชาสมั พนั ธ์ ใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารผา่ นทางชอ่ งทาง สอื่ ตา่ ง ๆ
เช่น แอพพลเิ คชน่ั ไลน์ วทิ ยชุ ุมชน หอกระจา่ ยข่าว เพอื่ ให้ประชาชนรู้เท่าทันเหตกุ ารณ์
4) จดั ทำ� ขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ของชมุ ชน/ทอ้ งถนิ่ เกยี่ วกบั พฤตกิ ารณข์ องบคุ คลในพน้ื ที่
เพ่ือใช้ประกอบการปฏิบตั งิ านรว่ มกบั เจา้ หนา้ ท่ีตำ� รวจ
5) เปน็ แกนนำ� ในการเชญิ ชวน และเขา้ รว่ มกจิ กรรมจติ อาสาสาธารณประโยชน์
หรือกจิ กรรมเพ่อื สง่ เสรมิ การปอ้ งกนั อาชญากรรมในพ้นื ที่
6) แจ้งข้อมูลเบาะแส ข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพติด อาชญากรรม อบายมุข
และอุบตั ิภยั แก่เจ้าหนา้ ที่ต�ำรวจผู้รับผดิ ชอบประจ�ำหมู่บ้านหรือผู้นำ� ชมุ ชน และหัวหน้า
สถานีตำ� รวจ
7) การแจ้งข่าวก่อนเกิดเหตุ โดยการสอดส่องดูแลพฤติกรรมของบุคคลหรือ
กลุ่มบุคคลที่มีพฤติกรรมน่าสงสัย เช่น ผู้มีพฤติกรรมการลักเล็กขโมยน้อย ผู้ค้าและ
ผู้เสพยาเสพติดให้โทษ บุคคลแปลกหน้าที่มีพฤติกรรมน่าสงสัย แหล่งซ่องสุมหรือ
หลบซอ่ นตัวของคนรา้ ย หรอื รบั ซ้อื ของโจร แหล่งลอ่ ลวงหญงิ คา้ ประเวณหี รือทารุณกรรม
แหล่งกักขงั ใชแ้ รงงานเดก็ หรอื ใชแ้ รงงานคนต่างด้าวผิดกฎหมาย ฯลฯ
8 คมู่ อื การสร้างเครอื ข่ายการมีสว่ นรว่ มของประชาชน
ในการปอ้ งกันอาชญากรรมระดบั ต�ำบล
8) การแจง้ ขา่ วขณะเกดิ เหตแุ ละหลงั เกดิ เหตุ ใหแ้ จง้ เจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจทนั ที หาก
ได้พบเห็นบุคคลหรือผู้ต้องสงสัยว่ากระท�ำผิด จดจ�ำลักษณะ ต�ำหนิรูปพรรณและยาน
พาหนะของผูน้ ั้นไว้ กรณีท่พี บอบุ ัตเิ หตรุ ถชนกนั มีผู้ได้รับบาดเจบ็ ควรรีบแจ้งเจ้าหน้าท่ี
โดยด่วนแล้วช่วยดูแลทรพั ย์สินของผปู้ ระสบเหตุ และถ่ายภาพที่เกิดเหตไุ ว้ สามารถสรุป
ได้ ดังภาพท่ี 4
ภาพท่ี 4 แสดงขอบขา่ ยหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบของเครือข่ายประชาชน
ในการป้องกนั อาชญากรรมระดับต�ำบล
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นกั งานต�ำรวจแห่งชาติ 9
สว่ นที่ 2
แนวคดิ สกู่ ารสร้าง
เครอื ข่าย
การมีส่วนรว่ ม
10 คมู่ อื การสร้างเครอื ข่ายการมสี ่วนร่วมของประชาชน
ในการป้องกนั อาชญากรรมระดบั ต�ำบล
แนวคดิ ส่กู ารสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ ม
1. ความหมายของเครอื ขา่ ยทางสังคม (Social Network)
การนิยามความหมายของเครือข่ายทางสังคม มีผู้ให้นิยามไว้หลากหลายความ
หมาย ในการศกึ ษานค้ี ณะผู้ศึกษาขอนำ� เสนอนยิ ามความหมายโดยสงั เขป ดังนี้
Wheatly (1999, p. 61) กล่าววา่ สรรพสิ่งทัง้ หลายต่างก็มกี ารพงึ่ พาอาศัยกัน
มีการดำ� รงอยรู่ วมกันเปน็ กลุ่มกอ้ น เปน็ ขา่ ยใยแหง่ ความสมั พนั ธ์ มคี วามเปน็ อสิ ระตอ่ กนั
และมีตัวตนทแ่ี ท้จรงิ กลา่ วคือ สรรพสิ่งท้งั หลายเปน็ เครือข่ายทเ่ี ช่อื มโยงมกี ารขยายและ
เติบโตอย่างต่อเน่ืองสามารถปรับเปลี่ยนรูปร่างรูปทรงและเปล่ียนพลังงานเพื่อการเข้าสู่
ภาวะทีเ่ หมาะสม
Starkey (1997, p. 14) ใหค้ วามหมายของ “เครือขา่ ย (Network)” หมายถึง
การรวมกลมุ่ ของปจั เจกชน หรอื องคก์ ารโดยสมคั รใจโดยมกี ารแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ขา่ วสาร
หรอื ด�ำเนนิ กิจกรรม ร่วมกัน
ระพีพรรณ ทองหอ่ และคณะ (2551) กล่าววา่ เครือข่าย หมายถึง การประสาน
ความรว่ มมอื ระหวา่ งบคุ คล กลมุ่ และองคก์ รทมี่ กี จิ กรรมคลา้ ยคลงึ กนั และเชอ่ื มโยงขยายผล
การทำ� งานหรือแนวคดิ ไปสู่กลุ่มหรอื องคก์ รอื่น ๆ เพือ่ เสริมสร้างพลงั ในการแก้ไขปญั หา
และแลกเปล่ียนส่ิงต่าง ๆ โดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน การมี
ส่วนร่วม และกระบวนการกลุ่มที่จะน�ำไปสู่การระดมทรัพยากรในการสร้างพลังและ
อ�ำนาจในการต่อรองให้สูงข้ึน กระบวนการต่าง ๆ เหล่าน้ีจะน�ำไปสู่การเปล่ียนแปลง
ตามวัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายร่วมกันของทุกฝา่ ย
ประเวศ วะสี (2541, น. 13-16) กล่าวถงึ เครือข่ายทางสังคมทมี่ กี ารขยายตวั
ออกไปว่า เครอื ขา่ ยทางสงั คมจะคล้ายเครอื ข่ายในสมอง โดยโครงสร้างของสมองนนั้ จะ
ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ในระดับที่สูงเพื่อการมีชีวิตรอด และโครงสร้างทางสังคมจะมีการ
ววิ ัฒนาการไปเหมอื นโครงสรา้ งทางสมองมากข้นึ เรอ่ื ย ๆ ซ่งึ ก่อใหเ้ กิดความเปลี่ยนแปลง
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ 11
ทางพฤตกิ รรมของสงั คม จากสงั คมใชอ้ ำ� นาจไปเปน็ สงั คมแหง่ การเรยี นรแู้ ละการทจี่ ะเกดิ
สงั คมแหง่ การเรยี นรไู้ ดน้ นั้ จะตอ้ งปรบั เปลย่ี นโครงสรา้ งทางสงั คมจากแนวดง่ิ ไปเปน็ เครอื
ข่ายสังคมที่มีการเช่ือมโยงใยความสัมพันธ์ ในทุกทิศทางเป็นเครือข่ายทางสังคมแห่ง
กลั ยาณมติ รหรอื เครอื ขา่ ยสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ (Learning social networks) โดยทเ่ี ครอื
ข่ายสังคมจะต้องมีความสามารถในการเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องหรือมีการขยายแนวคิด
กระบวนการออกไปจงึ จะสามารถปรับตวั ให้อยใู่ นดุลยภาพได้
เสรี พงศ์พิศ (2548, น. 8) ใหค้ วามหมายของเครอื ข่ายว่า หมายถงึ ขบวนการ
ทางสังคมอนั เกิดจากการสรา้ งความสัมพนั ธ์ ระหว่างบคุ คล กลุม่ องค์กร สถาบัน โดยมี
เปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ และความตอ้ งการบางอยา่ งรว่ มกนั ดำ� เนนิ กจิ กรรมบางอยา่ งโดยที่
สมาชกิ ของเครอื ขา่ ยยงั คงความเปน็ เอกเทศไม่ขนึ้ ต่อกัน
พระมหาสทุ ิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) (2547, น. 44) ไดใ้ หค้ วามหมายของเครือ
ขา่ ยวา่ หมายถึง ความร่วมมือ และการเปดิ รบั ของฝ่ายต่าง ๆ ทจ่ี ะมขี ้อตกลงร่วมกันใน
การท�ำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้
ซึ่งข้อก�ำหนดที่เกิดขึ้นนั้นเป็นความพยายามท่ีจะระดมทรัพยากรกระบวนการความรู้
และวธิ กี ารตา่ ง ๆ เพอื่ ใหไ้ ดม้ าซงึ่ ความสำ� เรจ็ จากการรว่ มมอื และการเปดิ รบั ในสงิ่ ใหมน่ นั้ เสมอ
Schuler (1996, น. 9 อา้ งถึงใน พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอนุ่ ), 2547, น. 37-38)
ได้กลา่ ววา่ เครอื ข่าย คือ สายใยของความสมั พันธท์ างสงั คม มีความเป็นเอกภาพ มพี ลงั
ความยึดโยง และการสนับสนุนเก้ือกูล ซ่ึงกันและกัน ทํานองเดียวกันกับเทคโนโลยี
กค็ อื สายใยทเ่ี ชอ่ื มโยงความสมั พนั ธ์ และการสอื่ สารของผคู้ นตา่ ง ๆ ในสงั คม โดยเทคโนโลยี
คอมพิวเตอรแ์ ละระบบการส่อื สารผ่านวิทยุ โทรทศั น์ โทรศัพท์ จะมีบทบาทในการสร้าง
เครือข่ายในรูปแบบต่าง ๆ ที่สมาชิกในเครือข่าย มารวมตัวกันโดยไม่จ�ำกัดเชื้อชาติ
เผา่ พนั ธุ์ เพศ วยั ศาสนา และฐานะทางเศรษฐกิจ
จากความหมายดังกล่าว สรุปได้ว่า เครือข่ายทางสังคม หมายถึง รูปแบบ
ความสัมพันธ์ทางสังคมของปัจเจกบุคคล กลุ่ม ผ่านรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
โดยการทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั ตลอดจนมีเปา้ หมายเดยี วกนั
ชินสัคค สุวรรณอัจฉริย (2549 อ้างถึงใน วรรณพร กลิ่นบัว, 2554, น. 19)
กล่าวว่า เครือข่ายทางสังคม หมายถึง ช่องทางท่ีมีความสัมพันธ์ร่วมกับจุดยืนส่วนตัว
ซึ่งเป็นเสมอื นพน้ื ท่ภี ายในสงั คมวัฒนธรรมหนึง่ และหลาย ๆ พน้ื ที่ สงั คมวฒั นธรรม เชน่
เครือญาติมีอาชีพเป็นชนช้ันมีต�ำแหน่งฐานะในท้องถิ่นหลากหลาย แต่มีความสัมพันธ์
กบั ญาตพิ ีน่ อ้ งอยู่ ขณะเดยี วกนั ก็มีความสัมพนั ธก์ ับเพือ่ นฝงู และคนร้จู ักด้วย
12 คมู่ อื การสรา้ งเครือขา่ ยการมีส่วนรว่ มของประชาชน
ในการป้องกนั อาชญากรรมระดับตำ� บล
สนธยา พลศรี (2550, น. 207 อ้างถึงใน ธีรวุฒิ ก่ายแก้ว, 2556, น. 7) กล่าววา่
เครือข่าย หมายถึง ความสัมพันธ์ท่ีเช่ือมโยงระหว่างสมาชิกซึ่งอาจเป็นบุคคลต่อบุคคล
บคุ คลตอ่ กลมุ่ เครอื ขา่ ยตอ่ เครอื ขา่ ย กลายเปน็ เครอื ขา่ ยยอ่ ยภายใตเ้ ครอื ขา่ ยใหญ่ ในการ
เชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ยไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งการรวมตวั กนั โดยทวั่ ไป แตม่ เี ปา้ หมายในการทำ� กจิ กรรม
รว่ มกนั ทง้ั ทเี่ ปน็ ครงั้ คราวหรอื อาจเปน็ กจิ กรรมทต่ี อ่ เนอื่ ง จงึ เปน็ การเชอ่ื มโยงคนทมี่ คี วาม
สนใจร่วมกัน พบปะสังสรรค์ และพัฒนาไปสู่การลงมือร่วมกันท�ำกิจกรรมต่าง ๆ
ด้วยเป้าหมาย และจุดประสงค์เดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายจึงไม่ใช่เป็นเพียงการรวบรวม
รายละเอยี ดบคุ คลทเี่ ปน็ สมาชกิ เทา่ นน้ั แตม่ กี ารจดั ระบบใหส้ มาชกิ สามารถดำ� เนนิ กจิ กรรม
ร่วมกัน เพื่อบรรลุจุดหมายที่สมาชิกเห็นพ้องต้องกัน ส่ิงท่ีเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน คือ
วตั ถุประสงค์ หรอื ผลประโยชน์ท่ีต้องการบรรลุผลร่วมกนั การสนบั สนุนช่วยเหลอื ซ่งึ กนั
และกัน
เครือข่ายทางสังคม หมายถงึ การรวมตวั ของบุคคล กลุ่ม หรอื องค์กรทีม่ คี วาม
สัมพนั ธก์ ัน โดยมกี ารแลกเปลยี่ นทรพั ยากรกนั ทัง้ ข้อมลู ข่าวสาร บรกิ าร และค�ำแนะน�ำ
เพอ่ื แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพอ่ื สนบั สนนุ การทำ� งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ (เกษม นครเขตต,์ 2554)
ซงึ่ มี 3 องคป์ ระกอบ (น้�ำทพิ ย์ วภิ าวนิ , 2558) ไดแ้ ก่
1) กลุ่มของบุคคลหรือตวั แสดง
2) แต่ละบุคคลมีคุณลกั ษณะเฉพาะ
3) จดุ เชื่อมโยงทบ่ี ่งบอกถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลในสงั คม
รากฐานของแนวคิดเครือข่ายทางสังคม มาจากทฤษฎีแห่งการแลกเปล่ียน
(Exchange Theory) โดยมีพื้นฐานส�ำคัญที่เชื่อว่า การกระท�ำระหว่างกันของบุคคล
จะกระท�ำโดยอาศัยการโต้ตอบซึ่งพิจารณาจากรางวัล (Reward) กับการลงโทษ
(Unsatisfactory) หรอื ความพอใจ (Satisfactory) กับความไม่พอใจ (Unsatisfactory)
ซง่ึ เปน็ การแลกเปลยี่ นการกระทำ� ระหวา่ งกนั ตลอดจนการพจิ ารณาจากการทไ่ี ดร้ บั ความ
พึงพอใจสงู สดุ (ก�ำไร) เมอ่ื ไดล้ งมอื กระท�ำไปแล้ว (ลงทุน) และคดิ ว่าการกระทำ� หรอื การ
ตอบแทนจากผอู้ น่ื ทำ� ใหผ้ กู้ ระทำ� มคี วามพอใจเปน็ อยา่ งมาก (ธนพฤกษ์ ชามะรตั น, 2551)
สรุปความได้ว่า การสร้างเครือข่ายทางสังคม หมายถึง รูปแบบความสัมพันธ์
ทางสังคม (Pattern of Social Relationship) ของปัจเจกบุคคล (Individual) กลุ่ม
(Group) และองค์กร (Organization) ผ่านรูปแบบของปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social
Interaction) ในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ กิจกรรม การส่ือสาร ความรว่ มมือ การพ่งึ พาอาศัย
การแลกเปลี่ยน การเรียนรู้ ซึ่งเป็นปฏิสัมพันธ์ท่ีมีโครงสร้างและรูปแบบที่หลากหลาย
ตลอดจนมเี ป้าหมายร่วมกัน
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ 13
2. ประเภทของเครอื ขา่ ยทางสังคม
เสรี พงศพ์ ศิ (2548, น. 198-199) เครือขา่ ยมีหลายประเภท ข้ึนอยู่กบั สมาชกิ
พื้นที่กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ และโครงสร้างการด�ำเนินงานในลักษณะองค์กรของ
เครอื ขา่ ยเอง ดังนี้
1) เครอื ขา่ ยแนวราบ โดยการประสานบุคคลที่อยใู่ น “ระดับ” เดยี วกนั อาชีพ
เดยี วกนั ให้มาเชื่อมประสานเป็นเครือขา่ ยกัน เชน่ เครือขา่ ยเกษตร เครอื ขา่ ยนกั พฒั นา
เครอื ขา่ ยนักวิจยั เปน็ ต้น อาจเปน็ ปจั เจกบุคคล หรอื อาจเปน็ สถาบนั ก็ได้ เชน่ เครือขา่ ย
สถาบนั วจิ ยั เครอื ขา่ ยศนู ยข์ อ้ มลู เปน็ ตน้ บางเครอื ขา่ ยอาจเปดิ สำ� หรบั บคุ คลทว่ั ไป สถาบนั
ทว่ั ไป ใครก็ไดท้ สี่ นใจในเร่ืองหรือประเดน็ เดยี วกนั นนั้
2) เครือข่ายท่ีมีลักษณะแนวต้ัง เช่น การน�ำผู้คนจากหลากหลายอาชีพท่ี
แตกตา่ งกนั มาเปน็ เครอื ขา่ ยกนั เชน่ เกษตรกร นกั พฒั นา นกั วชิ าการ นกั ธรุ กจิ นกั การเมอื ง
องคก์ รทนุ เปน็ ตน้ ทง้ั นี้ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและรวมกนั เครอื ขา่ ยนม้ี มี ากขน้ึ ในปจั จบุ นั
เพราะการส่ือสารทางอินเทอร์เน็ตช่วยให้คนไม่ว่าอาชีพอะไร ฐานะอะไร ระดับใด
สามารถเปน็ สมาชกิ อย่างเทา่ เทียมกัน
3) เครือข่ายส่วนใหญ่เกิดข้ึนเพ่ือท�ำให้การสื่อสารการแลกเปลี่ยนข้อมูล
และประสบการณ์ดีขนึ้ งา่ ยขนึ้ และมีการร่วมมอื กันในเร่อื งต่าง ๆ ได้สะดวก และดยี ิ่งข้นึ
และอกี บางส่วนท�ำใหเ้ ปน็ พลงั ต่อรองกับอ�ำนาจตา่ ง ๆ ไดด้ ีขน้ึ ไมว่ ่าจะเป็นองค์กรของรฐั
หรือเอกชนองค์กรทุนหรือองค์กรวิชาการท�ำให้ได้รับความสนใจ และความช่วยเหลือ
ง่ายขน้ึ
4) เครือข่ายจ�ำนวนหนึ่งเกิดข้ึนเพื่อก่อให้เกิดความร่วมมือในด้านการวิจัย
การศกึ ษา การฝกึ อบรม การจดั การทรพั ยากร การจดั การตลาด บางเครอื ขา่ ยแลกเปลย่ี น
ทรพั ยากรกัน เชน่ พันธุ์ไม้ พันธ์สุ ัตว์ ผลผลติ ทางการเกษตรในทอ้ งถ่นิ บางเครือขา่ ยเน้น
การรวมตัวกันเพื่อกดดันทางการเมือง รณรงค์เพ่ือให้สังคมเกิดส�ำนึกในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เช่น การสร้างเขือ่ น เป็นต้น
พระมหาสุทติ ย์ อาภากโร (อบอ่นุ ) (2547, น. 84-90) การแบง่ ประเภทรูปแบบ
และลักษณะความสัมพันธ์ของเครือข่ายก็เพื่อสร้างความเข้าใจ และมองเห็นภาพความ
เคลื่อนไหวของกลุม่ องค์กรเครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ไดช้ ัดเจนย่ิงข้ึน จากพัฒนาการของความเปน็
เครือข่ายในสงั คมไทย จะเหน็ ไดว้ า่ มกี ระบวนการเกิดข้นึ ของเครือข่ายในภาคส่วนต่าง ๆ
อย่างมากมายท้ังภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน และภาคประชาชน
รวมทงั้ ในดา้ นแนวคิด กิจกรรม ก็มีกระบวนการแบ่งประเภท และรูปแบบของเครือข่าย
14 คูม่ ือการสร้างเครือขา่ ยการมสี ่วนรว่ มของประชาชน
ในการปอ้ งกันอาชญากรรมระดับต�ำบล
ออกเป็นนัยต่าง ๆ ดังนั้น ประเภทและรูปแบบของเครือข่ายจึงมีความแตกต่างกันไป
ตามนิยาม และกิจกรรมที่แต่ละกลุ่ม หรือผู้ท่ีใช้กิจกรรมเครือข่ายก�ำหนดข้ึนโดยในท่ีนี้
จะกล่าวถึงเกณฑ์บางประการในการจัดประเภท และรูปแบบของเครือข่าย เพื่อให้
เหมาะสมกับการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเสริมสรา้ งการเรยี นรู้ของทกุ ฝ่าย ดังนี้
1) เครอื ขา่ ยเชงิ พน้ื ท่ี หมายถงึ การรวมตวั ของ กลมุ่ องคก์ ร เครอื ขา่ ย
ท่ีอาศัยพ้ืนท่ีรูปธรรม หรือพื้นที่ด�ำเนินการเป็นปัจจัยหลักในการท�ำงานร่วมกัน เป็น
กระบวนการพฒั นาทอี่ าศยั กจิ กรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ ในพนื้ ทเ่ี ปา้ หมายนำ� ทาง และเปน็ การพฒั นา
แบบบรู ณาการทไ่ี มแ่ ยกสว่ นตา่ ง ๆ ออกจากกนั โดยยดึ เอาพนื้ ทเ่ี ปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความสำ� เรจ็
ในการทำ� งานร่วมกันของทกุ ฝ่าย
2) เครอื ขา่ ยเชงิ ประเดน็ กจิ กรรม ไดแ้ ก่ เครอื ขา่ ยทใี่ ชป้ ระเดน็ กจิ กรรม
หรอื สถานการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เปน็ ปจั จยั หลกั ในการรวมกลมุ่ องคก์ ร โดยมองขา้ มมติ ใิ นเชงิ พนื้ ท่ี
มุ่งเน้นการจัดการในประเด็นกิจกรรมน้ัน ๆ อย่างจริงจังและพัฒนาให้เกิดความร่วมมือ
กบั ภาคอนื่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
3) เครือข่ายแบ่งตามโครงสร้างหน้าท่ี ได้แก่ เครือข่ายท่ีเกิดข้ึน
โดยอาศัยภารกิจ/กิจกรรม และการก่อตัวของกลุ่มผลประโยชน์ในสังคม เป็นแนวทาง
ในการแบ่งเครือข่าย ซง่ึ อาจแบง่ เป็นเครือขา่ ยภาครฐั ภาคประชาชน ภาคธรุ กิจเอกชน
และภาคองค์กรพฒั นาเอกชน โดยเครอื ขา่ ยต่าง ๆ ดังกลา่ วม่งุ เนน้ การดำ� เนินการ ภายใต้
กรอบแนวคิด หลักการ วตั ถปุ ระสงค์ และเป้าหมายหลกั ของหนว่ ยงาน หรือโครงสรา้ ง
หลักของกลุ่มผลประโยชนน์ ้นั ๆ
นฤมล นริ าทร (2543, น. 18-21) ไดจ้ ำ� แนกประเภทของเครือขา่ ยทางสังคม
ตามมิติ 4 มติ ิ ดงั นี้
1) จำ� แนกตามพน้ื ที่ด�ำเนนิ การ เชน่ เครอื ขา่ ยระดับหมบู่ า้ น ต�ำบล
อำ� เภอ จงั หวดั ภาค และประเทศ
2) จ�ำแนกตามกิจกรรมหรือประเด็นปัญหา เช่น เครือข่ายที่ท�ำงาน
ด้านเด็ก สตรี สาธารณสขุ เศรษฐกิจ พฒั นาชุมชน สทิ ธมิ นุษยชน สงิ่ แวดลอ้ ม
3) จ�ำแนกตามอาชีพหรือสถานภาพทางสังคม เช่น เครือข่าย
ด้านแรงงาน เครือข่ายกลุ่มพระสหธรรม เครือข่ายครูพิทักษ์สิทธิเด็ก เครือข่าย
สารวัตรนกั เรยี น
4) จ�ำแนกตามรูปแบบโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ ท�ำให้เกิด
เครือข่ายใน 2 ลักษณะ คือ 1) เครือข่ายตามแนวต้ัง เป็นเครือข่ายท่ีมีโครงสร้างเป็น
ชว่ งช้ัน ท�ำใหค้ วามสัมพันธ์ ระหว่างองคก์ รภายในเครือข่ายไม่เท่ากัน และ 2) เครือขา่ ย
ตามแนวนอน เป็นเครือขา่ ยทคี่ วามสมั พนั ธ์ ระหวา่ งองคก์ รภายในเครือข่ายเทา่ เทียมกนั
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นักงานต�ำรวจแห่งชาติ 15
ชาติชาย ณ เชยี งใหม่ (2551) อธบิ ายถงึ ประโยชนข์ องเครือข่ายความรว่ มมือ
ไว้ว่า เป็นการตัดสินใจได้เร็ว แก้ปัญหาได้เร็ว ท่ามกลางความไม่แน่นอนและความสลับ
ซบั ซอ้ น ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารราชการและผใู้ ชบ้ รกิ าร ใหบ้ รกิ ารแกก่ ลมุ่ เปา้ หมายได้
ตรงความตอ้ งการ และเป็นการสร้างทุนทางสังคมใหแ้ ก่หนว่ ยงานและประเทศ
นฤมล อนุสนธิ์พัฒน์ (2561) เสนอว่า เครือข่ายการเรียนรู้ของชุมชนมี
ความส�ำคัญต่อการพัฒนาชุมชนการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายการเรียนรู้ของชุมชนใช้
ประโยชนไ์ ด้ ดงั น้ี
1) การใชเ้ ครือขา่ ยเปน็ ศูนย์กลางในการรวมคน ควรใชเ้ ครอื ขา่ ยเพอื่
รวบรวมคนในชุมชนให้เป็นกลุ่มหรือพวกเดียวกันไม่แบ่งพรรคแบ่งพวกกัน เพื่อรองรับ
การสรา้ งเครือขา่ ยการเรยี นรแู้ ละการพัฒนาดา้ นอน่ื ๆ ที่มีอย่ใู นชมุ ชนตอ่ ไป
2) การใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลางในการประสานงาน ได้แก่
การประสานความรู้ ความเข้าใจ ความคิด วิธีการท�ำงานระหว่างสมาชิกด้วยกันและ
ผู้ท่ีเกย่ี วข้อง
3) การใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การแลกเปลี่ยนความรู้ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ระหว่างสมาชิก เป็นหัวใจของ
เครือข่ายการเรียนรู้ในงานพัฒนาชุมชน เพ่ือขยายกิจกรรมของเครือข่ายให้กว้างขวาง
มากยิ่งขนึ้
4) การใชเ้ ครอื ขา่ ยเปน็ ศนู ยก์ ลางในการระดมพลงั ของชมุ ชนเครอื ขา่ ย
ท�ำหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางในการระดมพลังท้ังพลังของสมาชิกและคนอ่ืน ๆ ในชุมชนเพื่อ
ประโยชนต์ อ่ ชุมชนและการพัฒนาชุมชน
5) การใชเ้ ครอื ขา่ ยเปน็ เวทใี นการสรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นาความรใู้ หม่ ๆ
เปน็ รูปแบบของการวจิ ยั ชุมชนแบบงา่ ย ๆ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้รว่ มกนั ระหว่างสมาชิก
เป็นทงั้ การพฒั นาสมาชกิ การสร้างสรรคแ์ ละการพฒั นาความร้ใู หม่ ๆ ให้เกิดขึน้
6) การใชเ้ ครอื ขา่ ยเปน็ ศนู ยก์ ลางในการระดมทรพั ยากรมาใชร้ ว่ มกนั
เปิดโอกาสให้สมาชิกน�ำทรัพยากรมาใช้ร่วมกับสมาชิกอื่น หรือแลกเปลี่ยนทรัพยากร
ระหว่างกันทงั้ ทรัพยากรที่เป็น คน เงนิ ทุน เครอ่ื งมือเครอื่ งใช้ สถานที่ในการด�ำเนนิ งาน
เป็นตน้
7) การใชเ้ ครอื ขา่ ยเพอ่ื เสรมิ สรา้ งนวตั กรรมของชมุ ชนการแลกเปลยี่ น
เรียนรู้ท�ำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ข้ึนในชุมชน น�ำไปสู่การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นในชุมชน
ท้ังทเี่ ป็นระบบความคดิ เทคนคิ วิธีการตา่ ง ๆ เครื่องมือเคร่ืองใชต้ ่าง ๆ ซงึ่ เปน็ นวตั กรรม
(Innovation) ทเ่ี หมาะสมกับชมุ ชนมปี ระโยชน์ตอ่ ชุมชนอยา่ งแท้จริง
16 คมู่ อื การสรา้ งเครอื ขา่ ยการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล
8) การใชเ้ ครอื ขา่ ยเปน็ ศนู ยก์ ลางในการดำ� เนนิ งานทางวฒั นธรรมของ
ชมุ ชน การพัฒนาชมุ ชนท่สี อดคลอ้ งกับวิถีชีวติ หรือวฒั นธรรมของคนในชุมชนสง่ ผลต่อ
การด�ำเนนิ งานทางวฒั นธรรมของชมุ ชนด้วย
3. กระบวนการปฏิบตั งิ านของเครือข่าย
ชาติชาย ณ เชยี งใหม่ (2551) ไดท้ ำ� การเสนอแนวทางการจัดการแบบเครือขา่ ย
ไวว้ ่า ชมุ ชนท่ีจะสรา้ งเครือข่ายต้องมเี ป้าหมาย ดงั นี้
1) การแสวงหาจุดม่งุ หมายร่วมกัน (Purpose)
2) การก�ำหนดความเช่อื พืน้ ฐานร่วมกัน (Principle)
3) การก�ำหนดความสามารถท่ตี ้องมีร่วมกัน (Capability)
4) การก�ำหนดบทบาทของแตล่ ะฝ่ายและความสัมพนั ธท์ ่ีมีต่อกัน ความรับผดิ
ชอบต่อกัน (Concept)
5) การก�ำหนดกฎ ระเบียบทีย่ ดึ โยงความสัมพันธ์ทม่ี ีต่อกนั (Structure)
6) การกำ� หนดโครงการ กจิ กรรมทีค่ วรท�ำรว่ มกนั (Practise)
ภาพท่ี 5 กระบวนการปฏบิ ตั งิ านของเครือขา่ ย 17
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ
4. ทฤษฎีสามเหลีย่ มอาชญากรรม (Crime Triangle Theory)
การปอ้ งกนั อาชญากรรมเชงิ รุก (Proactive Crime Prevention) โดยใช้ทฤษฎี
สามเหลย่ี มอาชญากรรม (Crime Triangle Theory) เป็นแนวคดิ ท่ีมีการบรู ณาการกบั
ภาคประชาชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ อยา่ งเปน็ เหตแุ ละผล งา่ ยตอ่ การเขา้ ใจ ซงึ่ สามารถ
น�ำไปใช้ปฏิบัติงานได้จริง อันเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานราชการ และ
ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันอาชญากรรมได้เป็นอย่างดี ทฤษฎี
สามเหลี่ยมอาชญากรรม เป็นทฤษฎีท่ีอธิบายถึงสาเหตุหรือองค์ประกอบของการเกิด
อาชญากรรมไดอ้ ยา่ งชัดเจน เข้าใจง่าย โดยมอี งค์ประกอบด้านต่าง ๆ 3 ดา้ น คือ
1) ผู้กระท�ำผิด/คนร้าย (Offender) หมายถึง ผู้ท่ีมีความต้องการ
(Desire) จะกอ่ เหตุ หรอื ลงมือกระทำ� ผิด
2) เหย่ือ (Victim)/เป้าหมาย (Target) หมายถึง บุคคล สถานท่ีหรือ
วัตถุ สิง่ ของทผี่ ู้กระท�ำผิดหรือคนร้ายมุง่ หมายกระทำ� ตอ่ หรือเปน็ เป้าหมายทีต่ อ้ งการ
3) โอกาส (Opportunity) หมายถึง ช่วงเวลา (Time) และสถานท่ี
(Place) ที่เหมาะสมท่ีผู้กระท�ำผิด หรือคนร้ายมีความสามารถจะลงมือกระท�ำความผิด
หรอื กอ่ อาชญากรรม
เม่ือเหตุการณ์หรือสถานการณ์ครบองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน ดังกล่าวข้างต้น
จะท�ำให้เกิดอาชญากรรมขึ้น นอกจากน้ีทฤษฎีดังกล่าวยังได้เสนอแนวคิดในการแก้ไข
ปัญหาอาชญากรรมหรือการป้องกันไม่ให้เกิดอาชญากรรม โดยต้องพยายามท�ำอย่างไร
กต็ ามทจ่ี ะใหอ้ งคป์ ระกอบของสามเหลยี่ มอาชญากรรมดา้ นใดดา้ นหนงึ่ หายไป กจ็ ะทำ� ให้
อาชญากรรมไม่เกิดขึ้น หวั หน้าหนว่ ยงานหรอื สถานตี ำ� รวจตอ้ งใช้เทคนคิ การระดมสมอง
(Brainstorming) จากตำ� รวจทกุ ฝา่ ยในหนว่ ยงานเพอ่ื ร่วมคดิ รว่ มวางแผน และกำ� หนด
แนวทางการปฏบิ ตั โิ ดยจะตอ้ งชแ้ี จงใหเ้ หน็ ถงึ สภาพปญั หาอาชญากรรมทเี่ กดิ ขน้ึ และสรา้ ง
ความเข้าใจกับต�ำรวจทุกฝ่าย ให้มีความพร้อมและเต็มใจท่ีจะร่วมมือกันแก้ไขปัญหา
อาชญากรรมที่เกิดข้ึนอย่างจริงจัง เมื่อต�ำรวจผู้ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีทราบและเข้าใจเหตุ
และผล ตลอดจนเป้าหมายในการท�ำงานแล้วย่อมจะเกิดผลดีโดยเฉพาะในเรื่องของ
ประสทิ ธิภาพของการท�ำงาน (ชยพล ฉัตรชยั เดช. 2558)
18 ค่มู ือการสร้างเครือขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
ในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดับตำ� บล
ภาพที่ 6 มาตรการหรอื ขนั้ ตอนการปอ้ งกนั อาชญากรรม โดยใชท้ ฤษฎีสามเหล่ยี มอาชญากรรม
ที่มา: ชยพล ฉัตรชัยเดช. (2558). หนา้ 40.
5. มาตรการในการปอ้ งกนั อาชญากรรมเชิงรุก
มาตรการในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรกุ อาจแบ่งเปน็ 5 มาตรการ ดงั น้ี คอื
1) โดยต�ำรวจ หมายถึง การป้องกันอาชญากรรมในหน้าที่ของต�ำรวจ เช่น
การจดั สายตรวจออกตรวจตัง้ จดุ ตรวจค้น
2) โดยเจ้าของพน้ื ที่ หมายถึง เจา้ ของพนื้ ท่ใี นแต่ละพนื้ ท่ีต้องใหค้ วามสนใจใน
การป้องกันอาชญากรรมที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ของตนเอง เช่น ห้างสรรพสินค้า หมู่บ้าน
สถานท่ที �ำงาน หนว่ ยราชการต่าง ๆ เป็นตน้
3) โดยผู้ใชพ้ ื้นท่ี หมายถงึ ประชาชนโดยท่วั ไปท่เี ข้าไปใชพ้ ืน้ ทต่ี า่ ง ๆ จะตอ้ ง
รู้จกั ระมัดระวังในการป้องกนั ตนเอง เช่น การแต่งตัว การประดบั ของมีค่าตดิ ตวั
4) โดยหนว่ ยงานอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง หมายถงึ หนว่ ยงานราชการหรอื ภาคเอกชน
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การป้องกนั อาชญากรรม เช่น องคก์ ารบรหิ าร การปกครอง ส่วนทอ้ งถ่นิ
ฝ่ายปกครอง เปน็ ตน้
5) โดยใช้เทคโนโลยี หมายถึง การใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยช่วยในการป้องกัน
อาชญากรรม เช่น กล้องโทรทศั นว์ งจรปิด (CCTV) สัญญาณเตือนภยั
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นกั งานต�ำรวจแห่งชาติ 19
6. แนวคดิ เกี่ยวกับวทิ ยากรกระบวนการ (Facilitator)
Facilitator คือ ผ้ทู ่ีเข้าใจในระบบของการเรียนรู้ สามารถคน้ หาวิธที ่ีเหมาะสม
ต่อการเรยี นรใู้ นระดับกลุม่ เพ่ือท่ีจะท�ำใหก้ ลุ่ม/องคก์ ารสามารถใชร้ ะบบการเรียนร้มู าใช้
ในการสรา้ งและพฒั นาการทำ� งานทเ่ี ปน็ อยใู่ หเ้ กดิ ผลทดี่ ขี น้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (Pedler, 1996)
พรอ้ มกนั น้ี เปน็ ผใู้ หก้ ารสนบั สนนุ ทง้ั แรงกายและแรงใจในการสรา้ งสงั คมรอบขา้ งใหใ้ สใ่ จ
ตอ่ การเรยี นรู้ พร้อมยอมรับต่อการเปล่ียนแปลงไปในทศิ ทางท่ีดี อนั จะนำ� ไปสู่เปา้ หมาย
ทีม่ รี ว่ มกนั ของทุกคนในกลุ่มหรอื องคก์ าร (ทวศี ักด์ิ นพเกสร, 2545)
บทบาทของ Facilitator เป็นบทบาทท่ีมาจากการประยุกต์ทักษะด้านต่าง ๆ
มารวมกัน ไม่ว่าจะเป็นทักษะในการบริหารจัดการ ทักษะด้านการด�ำเนินกิจกรรม
แลกเปล่ียนเรียนรู้ ทักษะด้านความเป็นผู้น�ำที่จะต้องเข้าใจความต้องการของสมาชิก
ในกลมุ่ กระตุ้นใหส้ มาชกิ แสดงความคิดเห็น หรอื ทักษะในการสอ่ื สาร เพอื่ การจดั การกับ
การสื่อสารทีส่ ่อื ออกไปใหม้ ีความชดั เจนและเข้าใจถูกต้องตรงกัน ทักษะในการวิเคราะห์
บุคคล เพ่ือหาสาเหตุของพฤติกรรมท่ีสมาชิกในทีมแสดงออกว่ามาจากสาเหตุใดและ
สามารถจดั การสาเหตเุ หลา่ นนั้ ได้ บทบาทของ Facilitator จงึ เปน็ บทบาททต่ี อ้ งไดร้ บั การ
ฝกึ ฝน โดยบทบาทของ Facilitator แบ่งออกเป็น 6 บทบาท (สถาบันพฒั นาข้าราชการ
พลเรอื น, 2545: กลมุ่ สง่ เสรมิ การถา่ ยทอดวฒั นธรรม สำ� นกั สง่ เสรมิ และเผยแพรว่ ฒั นธรรม
ส�ำนกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม, 2551) ประกอบดว้ ย
1) บทบาทการเปน็ ผู้ประสานงาน (Role of Coordinator) โดยดำ� เนิน
การจัดกระบวนการ หรือกิจกรรมให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นท้ังผู้ให้ความรู้และ
ผ้รู บั ความรู้ พร้อมกับขยายขอบเขตการเรยี นรใู้ หส้ มาชกิ ได้นำ� ไปปฏบิ ตั ิ
2) บทบาทการเปน็ ผู้กระตนุ้ เร่งเร้า (Role of Stimulator) เป็นผดู้ ำ� เนนิ
การกระตุ้นเร่งเร้ากลุ่มให้คิดและแสดงความคิดเห็น คิดทบทวนใคร่ครวญ ถึงประเด็นที่
ก�ำลงั พดู คยุ รวมถงึ การวางแผนลงมอื ปฏิบัติ
3) บทบาทในการเป็นผู้สงั เกตการณ์ (Role of Observer) เปน็ ผดู้ �ำเนิน
กจิ กรรมดว้ ยความเปน็ กลางไมถ่ อื อคติ ไมใ่ หค้ วามสนใจกบั แรงกดดนั ตา่ ง ๆ ใหค้ วามสนใจ
ในการฟังการสนทนาของกลุ่ม สงั เกตความเป็นไปของกระบวนการทีเ่ กดิ ข้ึนกบั กลมุ่
4) บทบาทในการเป็นผูส้ ร้างบรรยากาศ (Role of Learning Creator)
ท�ำหน้าที่ในการรับผิดชอบดูแลกระบวนการ พร้อมกับปรับสถานการณ์ในแต่ละช่วง
มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้สร้างให้มีการสื่อสารอย่างเปิดเผยและเท่าเทียม รวมถึงการให้
ก�ำลังใจภายในกลมุ่
20 คมู่ ือการสร้างเครือขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
ในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดับต�ำบล
5) บทบาทในการเป็นผู้ช่วยสื่อสาร (Role of Communicator)
ช่วยช้ีแนะหรือต้ังค�ำถามสะท้อนความคิด แสดงความคิดเห็น ประสบการณ์เม่ือกลุ่ม
ดำ� เนนิ มาถึงจดุ ทีส่ มาชกิ เกดิ การแสดงความคิดเห็นกันนอ้ ยลง
6) บทบาทในการเป็นพ่ีเล้ียงให้เกิดการเรียนรู้ (Role of Learning
Guidance) ให้ค�ำแนะน�ำ รวมถึงสะท้อนให้ผู้เข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้ได้เห็นและ
ยอมรับศักยภาพของตนเอง และผู้อ่ืน รวมถึงช้ีให้เห็นประเด็นที่จะพัฒนา และสร้าง
การเปล่ยี นแปลง
7. หลักการออกแบบกระบวนการเรยี นรสู้ ู่การปฏิบตั ิ
การออกแบบการเรียนรู้เพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติ หรือการเรียนรู้เพื่อการ
เปลยี่ นแปลง (Transformative Learning) นน้ั เรมิ่ จากคำ� ถามทว่ี า่ เรา (หรอื ทมี วทิ ยากร
กระบวนการ) จะสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่ดีสู่การพัฒนา/แก้ไข อย่างไร ดังน้ัน ขอให้
ค�ำนึงถงึ สงิ่ เหลา่ น้เี ปน็ เรอ่ื งส�ำคญั หรอื หัวใจของการออกแบบการเรียนรทู้ ่จี ำ� เปน็ ตอ้ งมี คือ
1) เสรมิ พลงั อ�ำนาจให้ผ้เู รยี นรู้ (Empowerment)
2) เป็นกระบวนการที่สร้างการเรียนรู้และสะท้อนกลับ (Learning &
Refection)
3) เน้นการเปลี่ยนแปลง (Transformation)
4) การเรยี นรรู้ ว่ มกนั (Collective Learning) ทง้ั ผนู้ ำ� กระบวนการและ
ผเู้ ขา้ รว่ ม
5) มที ง้ั การวางแนวคิดและการลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ (Strategy & Action)
ภาพที่ 7 หลักการออกแบบกระบวนการเรียนรสู้ กู่ ารปฏิบัติ 21
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ
8. ข้อควรคำ� นึงถงึ หลกั การออกแบบการเรียนรู้แบบมสี ่วนรว่ ม
1) ผเู้ รยี นรู้ (หรอื ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการ) เปน็ แหลง่ เรยี นรทู้ สี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ
2) การเรียนรู้สัมพันธก์ ับชีวิตจรงิ
3) ไมม่ ีการบังคับใหเ้ กดิ การเรียนรู้/การเขา้ ร่วมโครงการ
4) ผเู้ รยี น/ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการ จะเรยี นรไู้ ดด้ ที สี่ ดุ จากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ
5) สรา้ งพลังการเรยี นรู้รว่ มกัน
6) การเรียนร้ทู ด่ี ีเกดิ ได้ เม่ือไมม่ ีความกดดัน
7) ผลสำ� เรจ็ เปน็ ปจั จัยใหเ้ กิดการเรยี นรู้ย่งิ ขึ้น
ภาพที่ 8 “5 ขนั้ ตอน” ในการออกแบบกระบวนการเรยี นรู้
“5 ขนั้ ตอน” ในการออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ (Transformative Learning
Design)
1) ขั้นน�ำเข้า (Intro): น�ำสู่การเรียนรู้พาผู้เข้าร่วมกลับไปส�ำรวจ
ประสบการณแ์ ละความรเู้ กา่ ภายในของแต่ละคนกอ่ น
2) ขนั้ กระตนุ้ ความสนใจ (Simulation): กระตนุ้ การเรยี นรปู้ ระสบการณ์
ใหมใ่ นมมุ ทต่ี า่ งไป จากความรู้และประสบการณ์เก่าท่ีผ่านมา
3) ขนั้ สร้างประสบการณ์การเรยี นรู้ (Learning Experiences): เรียนรู้
ผ่านประสบการณ์ “ร่วม” เรียนรู้ประสบการณ์ใหม่จากความรู้ใหม่ที่เกิดข้ึนจากภายใน
ของแตล่ ะคน
22 คู่มือการสร้างเครอื ขา่ ยการมีสว่ นรว่ มของประชาชน
ในการป้องกันอาชญากรรมระดบั ต�ำบล
4) ข้นั สรปุ บทเรียน (Conclusion): เปิดพน้ื ทใ่ี ห้ผเู้ ขา้ ร่วมได้ตกตะกอน
ความรู้ เพอ่ื แตล่ ะคน สามารถสรา้ งหรอื เปลยี่ นแปลง “ความหมายของประสบการณใ์ หม”่ ได้
5) ข้ันประยุกต์ใช้ (Applies): เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมมีเวลาในการ
(ทดลอง) ปรบั ใช้ความรู้ใหม่ กล่าวคือสามารถพาผเู้ ข้าร่วมไปถงึ การสร้างความรูใ้ หมจ่ าก
ประสบการณใ์ หมข่ องแต่ละคนได้
การสรา้ งกระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื การสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
ในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล นอกจากกระบวนการการจัดการเรียนรู้แล้ว
วิทยากรกระบวนการจ�ำเปน็ ตอ้ งรู้ รายละเอียดตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปนี้
(1) วัตถุประสงคข์ องการจัดกจิ กรรม/โครงการ
(2) ใครบ้างทเี่ ขา้ ร่วม จ�ำนวนเทา่ ใด
(3) ประเด็นหลกั
(4) เวลาทม่ี ี
(5) กติกาทจ่ี ำ� เปน็
(6) การติดตามประเมนิ ผล
9. คุณสมบตั ิของวทิ ยากรกระบวนการ
1) เป็นบุคคลท่ีพยายามเปลี่ยนแปลง ฝึกฝน พัฒนาตนเองและบุคคล
ในทีม ใหเ้ ป็นผรู้ อบรู้ มโี ลกทัศนท์ ี่ถูกตอ้ ง (personal mastery)
2) มคี วามเข้าใจในกระบวนการกลุม่
3) มคี วามสามารถในการจัดใหม้ ีการให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ
4) ให้ความเอาใจใส่กับกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของทีม (team
learning)
5) มคี วามเป็นกลาง อสิ ระ เป็นธรรม ไม่เอนเอยี งหรอื อคติ เปิดใจกว้าง
และเปิดเผย
6) มีจิตใจรักมนุษย์ มีความสุขกับการเห็นมนุษย์เกิดการยกระดับทาง
จิต วญิ ญาณ และภูมิปัญญา และมีความเช่อื มน่ั ในพลังทวคี ูณ (synergy) ระหว่างมนษุ ย์
ไมด่ ูถกู มนุษย์
7) มีจติ ใจประชาธิปไตย ใจกวา้ ง ให้ความส�ำคญั กับการมีส่วนรว่ ม และ
ยอมรับความแตกตา่ งหลากหลาย ไมเ่ ป็นเผด็จการ เพ่อื ให้เกดิ การปรับวสิ ัยทศั น์ รว่ มกนั
(shared vision)
8) มวี ิธีคดิ แบบองค์รวม (system thinking) ไมแ่ ยกส่วน
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ 23
9) มีความคิดสร้างสรรค์ ไม่ติดกรอบ พร้อมท่ีจะขยาย ปรับ หรือ
เปลี่ยน แบบแผนทางความคิด (mental model) กล้าคิด กล้าท�ำ กล้าจินตนาการ
กล้าเปลีย่ นแปลง (creativity - คดิ สร้างสรรค์สง่ิ ใหม่ ออกนอกกรอบเดิม ๆ)
10) สามารถใชส้ มองสองซกี ซา้ ย-ขวาอยา่ งเชอื่ มโยง มที งั้ ศาสตรแ์ ละศลิ ปะ
11) มีประสาทสมั ผัสทดี่ ี นอกเหนอื จากตาดู หูฟัง ต้องมคี วามรู้ ความเห็น
(ญาณทศั นะ) ท่ีแจ่มชัด เป็นนกั สังเกตการณ์ มีความละเอยี ดออ่ น (sensibility) สามารถ
รบั ร้อู ารมณค์ วามรู้สึกของคนได้ง่าย
12) มอี ารมณท์ ดี่ ี สมาธดิ ี ใจเยน็ ไมต่ น่ื ตระหนกงา่ ย ไมฉ่ นุ เฉยี ว ไมเ่ อาแตใ่ จ
ตัวเอง มีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
13) มคี วามสนกุ ตน่ื เตน้ ตลอดเวลากบั การปฏสิ มั พนั ธ์ และการแลกเปลย่ี น
เรยี นรูข้ องมนุษย์
14) ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการสื่อสารระหว่างมนุษย์ต่อมนุษย์และ
สงั คม โดยเฉพาะการส่อื สาร 2 ทาง (two-way communication)
15) กล้าตัดสินใจ และมคี วามรบั ผดิ ชอบสูง 34
10. 1ท0ัก.ษทะกั ทษี่จะาทเจ่ีป�ำน็ เปข็นอขงวอิทงวยทิากยรากกรระกบรวะบนวกนากราร
ภำษำกำย กำรตง้ั กำรฟงั
กำรจบั คำถำม กำรสังเกต
ประเดน็ กำรสรำ้ ง
บรรยำกำศกลุ่ม
กำรให้ข้อมูล
ปอ้ นกลบั
ภาพท่ี 9 ทักษะทจี่ ำ� เป็นของวิทยากรกระบวนการ
ภาพที่ 9 ทักษะทจี่ าเปน็ ของวทิ ยากรกระบวนการ
24 คมู่ อื การสรา้ งเครือขา่ ยการมีสว่ นรว่ มของประชาชน
1) การตง้ั คาถามในการป้องกันอาชญากรรมระดบั ต�ำบล
การตั้งคาถามเป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกของทีมมีส่วนร่วมในการแสดง
1) การตง้ั คำ� ถาม
การต้ังค�ำถามเป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกของทีมมีส่วนร่วมในการแสดง
และแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจรว่ มกนั ซง่ึ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ทสี่ ดุ ทจี่ ะทำ� ให้
ทีมท�ำงานไดส้ ำ� เร็จ
2) การฟงั
การฟงั หมายถงึ การทผี่ ฟู้ งั เขา้ ใจในสง่ิ ทผ่ี พู้ ดู ตอ้ งการสอื่ ใหท้ ราบ การฟงั ให้
เขา้ ใจสงิ่ ทเ่ี พอื่ นรว่ มทมี พยายามบอก ถอื วา่ เปน็ หวั ใจทส่ี ำ� คญั ยง่ิ ของทมี งาน การฟงั ทด่ี จี ะ
ช่วยกระตนุ้ ใหเ้ พือ่ นร่วมทีมรว่ มแสดงความคดิ เหน็ และแสดงให้เหน็ ว่า ท่านให้คณุ คา่ ตอ่
ความคิดเห็นของเพ่ือนร่วมทีม ย่ิงเราฟังผู้อื่นมากข้ึนเท่าไร ผู้อ่ืนก็จะย่ิงฟังเรามากขึ้น
เทา่ นน้ั การฟงั ทดี่ จี ะตอ้ งใชท้ ง้ั ตาและหู รบั รภู้ าษากาย และคำ� พดู ทำ� ความเขา้ ใจในความ
หมายของสิ่งทีส่ อ่ื ออกมาทง้ั หมด ไม่ใชเ่ ข้าใจอยา่ งผิวเผิน
3) การสังเกต
การสังเกต หมายถึง การเฝ้าดูพฤติกรรมบางอย่างระหว่างการประชุม
ผทู้ ำ� หนา้ ทสี่ งั เกตอาจจะเปน็ วทิ ยากรกระบวนการ หรอื ผนู้ ำ� ซง่ึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการสงั เกต
คือการน�ำผลการสังเกตนั้นไปใช้กระตุ้น หรือแทรกแซง เพื่อให้กลุ่มมีพฤติกรรมที่
เหมาะสม ละเวน้ พฤติกรรมท่ไี ม่เหมาะสม
4) การใหข้ อ้ มูลปอ้ นกลับ
การให้ข้อมูลป้อนกลับ คอื การสะทอ้ นให้ผูใ้ ดผูห้ นึง่ ทราบถึงผลการกระท�ำ
ของเขา ทักษะการให้ข้อมูลป้อนกลับท่ีดีเป็นสิ่งจ�ำเป็นเพื่อปรับปรุงการประชุมของทีม
และปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ทมี สมาชกิ ของทมี ควรทำ� ความตกลงกนั วา่ การใหแ้ ละการ
รับข้อมูลป้อนกลับเป็นวิธีการที่ทุกคนยอมรับ (ความเป็นประชาธิปไตย การยอมรับฟัง
ความคิดเหน็ ) เพ่ือปรบั ปรงุ วธิ กี ารท�ำงานรว่ มกนั เพอื่ วา่ เมอ่ื มกี ารให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลับและ
ผู้รับจะไมเ่ กดิ ความตกใจหรือแปลกใจ
5) การจับประเดน็
การจับประเดน็ หมายถงึ การจบั แก่นของเรอื่ งราวท่เี ป็นใจความส�ำคญั ของ
เรื่อง หรือเป็นใจความส�ำคัญท่ีสามารถอธิบายภาพของตัวสารที่เรารับรู้ได้ท้ังหมด หรือ
หมายถงึ การจบั ขอ้ ความสำ� คญั หรอื ใจความสำ� คญั ของเรอื่ ง แลว้ หยบิ ยกเอาความคดิ หลกั
หรอื ประเดน็ ทสี่ ำ� คญั ของเรอื่ งมากลา่ วยำ�้ ใหเ้ ดน่ ชดั โดยใชป้ ระโยคสนั้ ๆ แลว้ เรยี บเรยี งให้
เป็นระเบยี บ การจบั ประเด็นสามารถดำ� เนินการได้ ทงั้ จากการฟัง การอา่ น และดูหรอื
สงั เกตแลว้ สกดั เอาแกน่ ความรนู้ นั้ มาเปน็ ขอ้ ๆ เรยี งรอ้ ย จดั ระบบหรอื หมวดหมเู่ พอ่ื อธบิ าย
สาระทีเ่ รารบั รู้มาเพอื่ น�ำไปประยุกตใ์ ช้ กอ่ ใหเ้ กิดกระบวนการเรียนรไู้ ดต้ ่อไป
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ 25
6) ภาษากาย
ภาษากาย เป็นสว่ นทส่ี ำ� คญั ท่วี ิทยากรกระบวนการส่ือไปยังสมาชิกของทีม
อกี สว่ นหนง่ึ นอกเหนอื จากคำ� พดู ในระหวา่ งการประชมุ จะมกี ารสง่ ผา่ นภาษากายระหวา่ ง
สมาชิกในทีมมากกว่าค�ำพูด วิทยากรกระบวนการท่ีมีไหวพริบจะไม่ส่งภาษากายซ่ึงอาจ
จะไดร้ บั การแปลความหมายในทางลบโดยสมาชิกของทีม ซึง่ ท�ำใหก้ ารอภิปรายไมค่ บื ไป
ข้างหนา้ เชน่ การดูนาฬิกา เพราะอาจท�ำใหเ้ กิดการเข้าใจผดิ ว่าอยากให้หยุดพูด
7) การสรา้ งบรรยากาศกลุม่
การสร้างบรรยากาศกลุ่ม เป็นการสร้างความเป็นกันเองระหว่างสมาชิก
ในกลุ่มด้วยกัน หรือระหว่างวิทยากรกับสมาชิกกลุ่ม มีความส�ำคัญกับเป้าหมายหรือ
วัตถุประสงค์ของกลุ่ม การเข้าใจในพื้นฐาน ความคิด ทัศนะ หรือขนบธรรมเนียม
วัฒนธรรมของกลุ่มเป็นส่ิงที่วิทยากรกระบวนการต้องศึกษาท�ำความเข้าใจ ทั้งนี้ เพ่ือให้
สามารถสรา้ งความเป็นมิตร ความเปน็ กันเองของสมาชกิ น�ำไปสคู่ วามจริงใจในการรว่ ม
กิจกรรม
11. การเปน็ วทิ ยากรกระบวนการท่ดี ี
การที่จะก้าวสู่การเป็นวิทยากรท่ีดี นอกจากจะต้องมีทักษะพ้ืนฐานที่ดีแล้ว
จะตอ้ งยดึ ถอื จรรยาบรรณ คำ� พดู และการแสดงออกดว้ ยคำ� พดู วทิ ยากรมที งั้ คณุ และโทษ
ในเวลาเดยี วกนั ดงั นนั้ ตอ้ งมกี ารแสดงออกในเชงิ ประพฤติ หรอื ปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเหมาะสม
ทั้งด้านความคิด และการกระทำ� การให้เกียรติผูฟ้ ัง การแสดงออกถึงความพร้อมในการ
ท่ีจะรับฟังขอ้ เสนอ ในทุกขณะเม่ือมขี อ้ ซักถาม ขอ้ สงสัย สง่ิ ทีว่ ิทยากรไมค่ วรนำ� มาพดู /
สอ่ื สาร คอื ภมู หิ ลงั ผเู้ ขา้ อบรม เรอ่ื งสว่ นตวั ของผ้อู น่ื หรอื หยบิ ยกเรอื่ งสว่ นตวั ของผอู้ น่ื มา
ประกอบอ้างอิงในเชิงลบ ดังนั้น ในการเตรียมการอย่างดี เตรียมการอย่างเข้าใจ
เตรยี มอยา่ งมขี อ้ มลู จงึ ถอื เปน็ ขอ้ แรกของการเปน็ วทิ ยากรทด่ี ซี งึ่ มหี ลกั การตามลำ� ดบั ดงั นี้
1) ตอ้ งเตรียมเน้ือหาทจ่ี ะพูดหรอื อบรมให้พรอ้ ม
2) ตอ้ งมกี ารวางแผนเพอ่ื เชอื่ มโยงเขา้ สเู่ นอื้ หา เชน่ การใชเ้ กมส์ การใชก้ จิ กรรม
เสริมต่าง ๆ
3) มคี วามเปน็ กนั เอง พร้อมช่วยเหลือและให้ค�ำแนะน�ำ
4) เปน็ คนชา่ งสงั เกต รจู้ กั สงั เกตพฤตกิ รรมของผอู้ บรม และสามารถปรบั เปลย่ี น
เนอ้ื หาการอบรมใหเ้ หมาะสมกับสถานการณไ์ ด้ตลอดเวลา
5) มีความกระตือรือรน้ คล่องแคล่ว และยมิ้ แย้มแจม่ ใสตลอดเวลา
26 คมู่ อื การสร้างเครือข่ายการมสี ่วนร่วมของประชาชน
ในการป้องกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล
6) มีความมัน่ ใจในการพดู และเชอ่ื มั่นในขอ้ มูลท่นี ำ� เสนอ
7) ใช้ภาษาพูดจาอย่างชัดเจน และมีอารมณ์ขัน เพื่อสร้างบรรยากาศไม่ให้
น่าเบอ่ื
8) แต่งกายใหด้ สู ะอาด เหมาะกบั เวลา และสถานที่
9) รู้จักการน�ำประสบการณ์ หรือตัวอย่างมาประกอบการสื่อสารได้อย่าง
เหมาะสม
10) ต้องตระหนกั อยูเ่ สมอวา่ ผู้เขา้ อบรมไดร้ ับประโยชนอ์ ะไรในแตล่ ะชว่ งเวลา
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ 27
ส่วนท่ี 3
บทเรียน
จากสถานตี �ำรวจ
ต้นแบบ
28 คู่มอื การสรา้ งเครือขา่ ยการมสี ่วนรว่ มของประชาชน
ในการป้องกนั อาชญากรรมระดับตำ� บล
บทเรยี นจากสถานีตำ� รวจตน้ แบบ
จากการถอดบทเรยี นสถานตี ำ� รวจตน้ แบบ การขบั เคลอ่ื นการสรา้ งเครอื ขา่ ยการ
มีส่วนร่วมของประชาชน ในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล ส�ำนักงานต�ำรวจแห่ง
ชาติ เพอื่ เปน็ แนวทางการปฏบิ ตั งิ านของขา้ ราชการตำ� รวจสกู่ ารปรบั ประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะ
สมกบั สภาพบรบิ ทของแตล่ ะพน้ื ท่ี ในสว่ นนจี้ งึ เปน็ การนำ� เสนอบทเรยี นจากสถานตี ำ� รวจ
ตน้ แบบ ซ่งึ มรี ายละเอยี ดข้อค้นพบ ดังน้ี
สถานีต�ำรวจนครบาลมีนบุรี กองบงั คับการตำ� รวจนครบาล 3
เขตมีนบุรีในอดีตลักษณะทางสังคมเป็นสังคมเกษตรกรรม ปัจจุบัน
มกี ารเปลยี่ นแปลงจากสงั คมเกษตรสคู่ วามเปน็ เมอื ง พน้ื ทกี่ ารเกษตรลดลงและถกู แทนที่
ดว้ ยทอ่ี ยอู่ าศยั ทม่ี คี วามหนาแนน่ ของหมบู่ า้ นจดั สรร อาคารพาณชิ ย์ สถานทปี่ ระกอบการ
ทงั้ เลก็ และขนาดใหญ่ นคิ มอตุ สาหกรรม โดยมศี นู ยก์ ลางของการคา้ ขายอยทู่ ตี่ ลาดมนี บรุ ี
ซงึ่ เปน็ พนื้ ทที่ ใี่ กลก้ บั ฝง่ั รามอนิ ทรา และมตี ลาดนดั จตจุ กั ร 2 มนี บรุ ี (ตลาดสขุ าภบิ าลเดมิ )
ตลาดน้�ำขวัญ-เรียม นิคมอุตสาหกรรมบางชัน (ส่วนเขตมีนบุรี) รวมถึงเป็นย่านท่ีมี
สถานที่ส�ำคัญทางการศึกษาหลายแห่ง ด้วยสภาพทางสังคมท่ีมีความเป็นเมือง
หรือเป็นย่านเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญย่านหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ท�ำให้พ้ืนที่เขตมีนบุรี
มีประชากรแฝงอยู่จ�ำนวนมาก ประกอบกับการเกิดของชุมชนใหม่บนฐานการขยายตัว
ของหมบู่ า้ นจดั สรร สง่ ผลใหล้ กั ษณะสงั คมเปน็ สงั คมทมี่ คี วามสมั พนั ธข์ องสมาชกิ ในสงั คม
น้อยลง ท�ำให้รูปแบบและวิธีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนแตกต่างกับสภาพ
พื้นที่ท่เี ปน็ สังคมชนบท
ภายใต้เขตพ้ืนท่ีความรับผิด
ชอบของสถานีต�ำรวจนครบาลมีนบุรี
เป็นลักษณะสังคมเมือง การขับเคล่ือน การใชใจ + ไวใจ
การสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของ หรือ
แนวคดิ เอาใจนำ
ประชาชนในการป้องกันอาชญากรรม สูภ าคเี ครอื ขา ย
สถานีต�ำรวจนครบาลมีนบรุ ี เนน้ การน�ำ
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นกั งานต�ำรวจแห่งชาติ 29
นโยบายมาสู่การปฏิบัติตามเป้าหมายของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และเน้นการขยาย
การสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมผ่านการด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชนท่ีมีจิตอาสามีความพร้อมในการช่วยเหลืองานต�ำรวจ
โดยมีการสร้างเครือข่ายตามเป้าหมายของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ที่ผ่านมาสถานี
ต�ำรวจนครบาลมีนบุรีได้ท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายภาครัฐ และภาคเอกชนในการ
สนับสนุนสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ พลังทางสงั คม ในสว่ นของชมุ ชนใหม่ ประกอบดว้ ยชุมชนทีเ่ ปน็
อาคารชดุ (คอนโดมเิ นยี ม) หรอื หมบู่ า้ นจดั สรร เจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจทไ่ี ดร้ บั มอบหมายภารกจิ
การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม ใชแ้ นวทางประสานหรอื เขา้ ไปสรา้ งความสมั พนั ธก์ บั สมาชกิ ใน
หมบู่ า้ น ผา่ นนติ บิ คุ คลหรอื กรรมการอาคารชดุ /หมบู่ า้ น ทง้ั น้ี เพอื่ เปน็ การเพมิ่ ความใกลช้ ดิ
กับสมาชิกในชุมชน และเป็นการสร้างเครือข่ายอีกช่องทางหนึ่ง โดยการขับเคล่ือน
ภายใต้แนวทางดังกล่าว ท�ำให้สถานีต�ำรวจนครบาลมีนบุรี ได้ข้อมูลเชิงลึกในพื้นท่ีและ
สามารถสร้างการมสี ว่ นร่วมกบั ประชาชนในพื้นท่ไี ด้ค่อนขา้ งมปี ระสิทธภิ าพ
และในอนาคตสถานีต�ำรวจนครบาลมีนบุรี ก�ำลังวางแผนการสร้างเครือข่าย
ในกลุม่ ไรเดอร์ (Rider) เชน่ Lineman, Foodpanda, Grabfood โดยสร้างแรงจงู ใจให้
เข้ามาร่วมเป็นเครือข่าย ในการท�ำงานร่วมกับสถานีต�ำรวจเพื่อป้องกันและปราบปราม
อาชญากรรมในพื้นที่ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น
30 คู่มือการสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ่วนรว่ มของประชาชน
ในการป้องกันอาชญากรรมระดบั ตำ� บล
บทเรียนจากเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจท่ีปฏิบัติหน้าท่ีต�ำรวจชุมชนสัมพันธ์และส่งเสริม
การสรา้ งเครอื ข่ายการมีส่วนร่วม (ครู ข.) พบว่า ความสม่�ำเสมอของการลงพน้ื ทใ่ี นชุมชน
เพอ่ื สรา้ งความสมั พันธก์ บั ชุมชนเปน็ ส่ิงสำ� คญั ซง่ึ การเข้าไปปฏิบตั หิ นา้ ทีต่ ้องเริ่มจากการ
สรา้ งความสมั พนั ธก์ บั ผู้นำ� ชุมชนกอ่ นเปน็ อันดบั แรก และการทำ� งานตอ้ งเป็นการท�ำงาน
แบบเขา้ ถงึ ชมุ ชนตามบา้ น เนน้ การออกตรวจเพอ่ื ศกึ ษาหาปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ในแตล่ ะชมุ ชน
เพ่อื น�ำมาแกไ้ ขปญั หาให้ตรงกับความต้องการของแต่ละชมุ ชน
การท�ำกิจกรรมร่วมกับชุมชนในท้องท่ีท่ีรับผิดชอบของสถานีต�ำรวจนครบาล
มีนบุรี เช่น การสอนอาชีพ สอนวิธีการป้องกันตัวเอง วิธีการถ่ายภาพเพื่อแจ้งข่าว
แจ้งเบาะแส แนะนำ� การศึกษาให้กับเดก็ เยาวชน สอนกีฬาฯ ทั้งน้ี เพือ่ เป็นการสง่ เสรมิ
คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในท้องที่ และเพ่ือสร้างเครือข่ายด้วยแนวคิดการท�ำงาน
แบบ “การใช้ใจ + ไวใ้ จ” หรือ “แนวคิดเอาใจนำ� สูภ่ าคีเครือข่าย”
ซง่ึ จากบทเรยี นของสถานตี ำ� รวจนครบาลมนี บรุ ี เหน็ วา่ แนวทางการการสรา้ ง
เครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล มบี ทเรยี น
ทสี่ ำ� คญั ดงั น้ี
1) เน้นการน�ำนโยบายการสู่การปฏิบัติตามเป้าหมายของส�ำนักงานต�ำรวจ
แห่งชาติ
2) เน้นการขยายการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมผ่านการด�ำเนินกิจกรรม
รว่ มกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนทม่ี ีจิตอาสามคี วามพรอ้ ม
3) การท�ำงานร่วมกับตัวแทนของชุมชน เช่น คณะกรรมการชุมชน
คณะกรรมการหมู่บ้าน หรือนิติบคุ คลของหมูบ่ า้ น/อาคารชุด
4) ทำ� กจิ กรรมรว่ มกบั ชมุ ชนในทอ้ งทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบดว้ ยการสง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ
ทีด่ ขี องประชาชนในทอ้ งที่
5) ใช้แนวคิดการท�ำงานแบบ “การใช้ใจ + ไว้ใจ” หรือ “แนวคิดเอาใจน�ำ
สภู่ าคเี ครือข่าย” เพือ่ สร้างสัมพนั ธภาพทด่ี ีกบั ชุมชน
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ 31
สถานีตำ� รวจนครบาลลาดพรา้ ว กองบังคบั การต�ำรวจนครบาล 4
เขตพื้นท่ีลาดพร้าว มีลักษณะเป็นชุมชนเมืองและถือเป็นแหล่งเศรษฐกิจ
ส�ำคัญของกรุงเทพมหานคร มีห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่หลายแห่ง เป็นแหล่งรวม
สถานประกอบการทางธุรกิจที่ส�ำคัญ ส่งผลให้เขตลาดพร้าวกลายเป็นย่านท่ีพักอาศัย
ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอาคารชดุ (คอนโดมเิ นยี ม) ของผคู้ นหลากหลายอาชพี หลากหลาย
เชอื้ ชาติ ผู้คนทอ่ี าศยั อยู่ในย่านนี้ใช้ชีวิตแบบเร่งรีบการพึ่งพาอาศยั กนั ในชมุ ชนจึงน้อยลง
สง่ ผลให้ความสนทิ สนมของคนในชมุ ชนน้อยไปด้วยเช่นเดยี วกนั ดว้ ยพื้นทเ่ี ขตลาดพร้าว
เปน็ พน้ื ท่ีที่มีระบบขนส่งสาธารณะเช่อื มต่อกับสถานทส่ี ำ� คัญ อาทิ สถานีขนสง่ ผูโ้ ดยสาร
กรงุ เทพ (หมอชติ ) สวนจตุจกั ร สวนรถไฟ รถไฟฟา้ BTS สายสเี ขยี ว และถนนพหลโยธนิ
ที่เช่ือมต่อกับภาคเหนือและภาคอีสานของไทย ถือได้ว่าพื้นที่แห่งน้ีมีลักษณะโครงสร้าง
ทางสังคมท่ีค่อนข้างสลับซับซ้อนและเป็นพ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดคดีอาชญากรรมสูงแห่ง
หน่ึงในพ้นื ทีก่ รุงเทพมหานคร
ภายใต้แนวทางการขับเคล่ือนการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ ทม่ี งุ่ สรา้ งเครอื ขา่ ยภาค
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับสถานีต�ำรวจในการป้องกัน และ/หรือลดการก่อ
32 คู่มือการสรา้ งเครือขา่ ยการมีสว่ นรว่ มของประชาชน
ในการป้องกนั อาชญากรรมระดบั ต�ำบล
อาชญากรรมนั้น ในห้วงเวลาที่ผ่านมา สถานี
ต�ำรวจนครบาลลาดพร้าว โดยการท�ำงานของ
ต�ำรวจชุมชนชนสัมพันธ์ ซึ่งได้รับมอบหมายให้
ปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี บั เคลอ่ื นการสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม เขา ถึง
ของประชาชนในพ้ืนท่ี ได้ใช้วิธีการผูกไมตรีกับ เขาใจ
ชมุ ชนใหเ้ กิดความไวใ้ จต่อข้าราชการต�ำรวจ โดย พัฒนา
การสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยเข้าไปช่วยเหลือ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในท้องที่ จนท�ำให้ชุมชน
ให้ความไว้ใจและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ตามแนวทาง
“เข้าถึง-เขา้ ใจ-พฒั นา” ตามลักษณะของชมุ ชน หรือลักษณะของท่ีอยอู่ าศัย อาทิ ชมุ ชน
ดงั้ เดิม หมูบ่ า้ นจัดสรร อาคารชุด และสถานประกอบการ
การดำ� เนนิ งานของเจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจ เปน็ การตอ่ ยอดจากฐานความไวว้ างใจของ
ต�ำรวจชุมชนสัมพันธ์ ท่ีด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ด้วยลักษณะทางสังคมท่ีมีความ
ซับซ้อน การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจสถานีต�ำรวจนครบาลลาดพร้าว จึงเน้น
การเข้ากิจกรรมทางศาสนาของคนในชุมชนเป็นหลัก รวมถึงการให้บริการและการให้
ความช่วยเหลอื ประชาชนตามสภาวะความต้องการของประชาชนในพืน้ ที่ ซึ่งการด�ำเนิน
การดังกล่าวน�ำมาสู่การต่อยอดการสร้างการรับรู้ และขับเคลื่อนการสร้างเครือข่ายการ
มีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรม โดยการสร้างช่องทางการส่ือสาร
การใหข้ อ้ มูลขา่ วสาร การแจง้ ขา่ วบอกเหตุแกเ่ จ้าหนา้ ที่ต�ำรวจ
บทเรยี นสำ� คญั ของการสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั
อาชญากรรมระดบั ตำ� บล ของสถานีต�ำรวจนครบาลลาดพร้าว มดี ังนี้
1. ด�ำเนนิ งานบนฐานการทำ� งานของต�ำรวจชดุ ต�ำรวจชมุ ชนสมั พนั ธ์
2. เข้าร่วมด�ำเนินกิจกรรมตามลักษณะของที่อยู่อาศัย อาทิ ชุมชนด้ังเดิม
หมบู่ ้านจดั สรร อาคารชดุ และสถานประกอบการ
3. เน้นการเข้ากิจกรรมทางศาสนาของคนในชุมชน
4. ใหบ้ รกิ ารและการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประชาชนตามสภาวะความตอ้ งการของ
ประชาชนในพ้นื ที่
5. เนน้ การท�ำงานอย่างตอ่ เน่อื ง
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นกั งานต�ำรวจแห่งชาติ 33
สถานีตำ� รวจภูธรเมอื งนนทบรุ ี อ�ำเภอเมอื งนนทบุรี จังหวดั นนทบุรี
จงั หวดั นนทบรุ ี เปน็ จงั หวดั ทต่ี ง้ั อยบู่ นฝง่ั แมน่ ำ�้ เจา้ พระยา ซงึ่ แมน่ ำ้� เจา้ พระยานี้
แบง่ พืน้ ทขี่ องจงั หวดั ออกเป็น 2 ส่วน คอื ฝั่งตะวนั ออกและฝัง่ ตะวันตก พื้นทสี่ ว่ นใหญ่
เป็นท่ีราบลุ่ม มีคูคลองท้ังตามธรรมชาติและที่ขุดข้ึนใหม่เป็นจ�ำนวนมากเช่ือมโยงติดต่อ
กนั สามารถใชส้ ัญจรไปมาระหว่างหมู่บ้าน ตำ� บล อ�ำเภอ ยา่ นชมุ ชนหนาแน่น โดยทว่ั ไป
พื้นที่ส่วนท่ีห่างจากแม่น้�ำและล�ำคลองจะเป็นสวนและไร่นา ซึ่งมักจะเกิดน�้ำท่วมเสมอ
ปจั จุบนั พนื้ ทีข่ องจังหวดั นนทบุรี บางอำ� เภอซึ่งเคยเป็นสวนผลไม้ และมเี ขตติดตอ่ กับเขต
พืน้ ท่กี รุงเทพมหานคร เริ่มมกี ารเปล่ียนแปลงไปเป็นท่อี ยู่อาศยั ของประชาชนที่อพยพมา
จากทุกภาคของประเทศ และในบางพื้นที่ของจังหวัดเป็นที่รองรับการขยายตัวของภาค
อตุ สาหกรรม อาทิ พนื้ ทบ่ี างสว่ นของอำ� เภอเมอื งนนทบรุ ี อำ� เภอปากเกรด็ อำ� เภอบางใหญ่
อ�ำเภอบางบัวทอง ซ่ึงมีการจัดสรรทด่ี ินและกอ่ สร้างโรงงานอตุ สาหกรรมเพ่ิมมากขึน้ ซ่งึ
กล่าวได้ว่าพื้นท่ีฝั่งตะวันออกซึ่งเป็นพื้นที่ติดต่อกับกรุงเทพมหานคร มีสภาพเหมือน
กรุงเทพมหานครท่ีมีภาวะความเป็นเมืองสูง เริ่มมีความซับซ้อนของปัญหาและมีความ
เสี่ยงต่อการก่อคดอี าชญากรรมเหมือนกบั ชมุ ชนเมอื งอ่ืนท่ัวไป
การขับเคล่ือนการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการป้องกัน
อาชญากรรมระดับต�ำบล ของสถานีต�ำรวจภูธรเมืองนนทบุรี มีแนวทางในการปฏิบัติ
บำบดั ทุกข
บำรุงสขุ
ของประชาชน
34 ค่มู อื การสร้างเครือข่ายการมสี ่วนรว่ มของประชาชน
ในการปอ้ งกันอาชญากรรมระดบั ต�ำบล
โดยทางสถานีต�ำรวจพิจารณาแนวทางการด�ำเนินงานตามเป้าหมายและตัวชี้วัดของ
ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ โดยเริ่มจากการอบรมและให้ความรู้การสร้างเครือข่าย
การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั อาชญากรรมระดบั ตำ� บล แกป่ ระชาชนในพนื้ ท่ี
ตามเป้าหมาย และพัฒนาเครือข่ายบนฐานความสัมพันธ์ท่ีดีกับประชาชนในพื้นท่ี
จนนำ� มาสกู่ ารขบั เคลอื่ นการตดิ ตอ่ ประสานงานของสมาชกิ เครอื ขา่ ย ในการชว่ ยกบั สถานี
ต�ำรวจให้ข้อมูล แจ้งข่าวบอกเหตุต่าง ๆ ภายในชุมชน ผ่านแพลตฟอร์มการสื่อสาร
สมัยใหม่ กลา่ วคือ แอปพลิเคชันไลน์ (กล่มุ ไลน์: Line Group)
ซ่ึงโครงการการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกัน
อาชญากรรมระดับต�ำบล ของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ถือเป็นการต่อยอดการท�ำงาน
ของตำ� รวจชมุ ชนสมั พนั ธ์ ใหไ้ ดม้ ชี อ่ งทางการตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหวา่ งประชาชนในทอ้ งทก่ี บั
เจ้าหนา้ ที่ตำ� รวจได้อยา่ งมีประสิทธิภาพมากข้นึ ยังประโยชน์ตอ่ การบำ� บดั ทุกข์ บำ� รุงสขุ
ของประชาชนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
นอกจากประชาชนในพน้ื ทแี่ ลว้ สถานตี ำ� รวจภธู รเมอื งนนทบรุ ี ยงั สรา้ งเครอื ขา่ ย
ความรว่ มมอื กบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ สถาบนั การศกึ ษา หนว่ ยงานภาครฐั และภาค
เอกชนในพื้นที่เพ่ือสนับสนุนการด�ำเนินงานของเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจ ซึ่งถือได้ว่าเป็นปัจจัย
ของความสำ� เรจ็ ทสี่ ำ� คญั ในการดำ� เนนิ การการสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มตอ่ การทำ� งาน
ของสถานตี ำ� รวจในหลายมติ ิ และดว้ ยพนื้ ทอี่ ำ� เภอเมอื งนนทบรุ เี ปน็ พนื้ ทที่ มี่ ปี ระชากรแฝง
จ�ำนวนมาก เพื่อให้การสอดส่องดูแลความปลอดภัย หรือการป้องกันอาชญากรรมให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ในอนาคตสถานตี ำ� รวจภธู รเมอื งนนทบรุ จี งึ มเี ปา้ หมายขยายสมาชกิ
เครือข่ายให้ครอบคลุมถึงมอเตอร์ไซด์รับจ้าง ซ่ึงมีจ�ำนวนมากในท้องที่ความรับผิดชอบ
ของสถานี ทง้ั นี้ เน่ืองจากมอเตอร์ไซคร์ ับจา้ งสามารถเขา้ ได้ทุกพนื้ ที่ และมคี วามสามารถ
ในการแจ้งข้อมูลข่าวสารท่ีรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ทางสถานไี ด้มีแนวทางดำ� เนนิ งานเอาไว้แล้ว
บทเรยี นสำ� คญั ของการสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั
อาชญากรรมระดบั ตำ� บล ของสถานีตำ� รวจภธู รเมอื งนนทบรุ ี มดี งั นี้
1. น�ำแนวทางการด�ำเนินงานตามเป้าหมายและตัวชี้วัดของส�ำนักงานต�ำรวจ
แหง่ ชาติเปน็ แนวปฏบิ ตั ิ
2. ดำ� เนินงานบนฐานการทำ� งานของตำ� รวจชดุ ตำ� รวจชุมชนสมั พนั ธ์
3. ให้ความส�ำคัญของการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถน่ิ สถาบนั การศึกษา หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนในพ้นื ท่ี
4. วางแผนการทำ� งาน และพัฒนาการทำ� งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
กองแผนงานอาชญากรรม | สำ� นักงานต�ำรวจแห่งชาติ 35
สถานตี �ำรวจภธู รสนามชัยเขต อำ� เภอสนามชัยเขต จงั หวัดฉะเชงิ เทรา
ดว้ ยพน้ื ทีอ่ ำ� เภอสนามชัยเขต จงั หวัดฉะเชิงเทรา เป็นพื้นท่ีชนบทเปน็ สังคมที่มี
การพ่งึ พาอาศัยกนั ของสมาชกิ ในชมุ ชน มีพ้ืนฐานวัฒนธรรมร่วมกนั ของสมาชิกในชุมชน
ทเี่ ขม้ แขง็ ถอื เปน็ ตน้ ทนุ ทางสงั คมทม่ี ศี กั ยภาพ การขบั เคลอื่ นการสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ว่ น
ร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมระดับต�ำบล ของสถานีต�ำรวจภูธร
สนามชัยเขต จึงเน้นการใช้วิธีการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน เช่น
พธิ กี รรมทางศาสนา งานบุญ งานประเพณี ท่ีชมุ ชนจัดขึ้น นอกจากนี้ เจา้ หน้าทต่ี �ำรวจ
ยงั ใชเ้ วทกี ารประชมุ ประจำ� เดอื นของหมบู่ า้ น เปน็ พนื้ ทใี่ นการพบปะสรา้ งความคนุ้ เคยกบั
สมาชกิ ในชมุ ชน ทั้งน้ี เพ่ือไมใ่ หป้ ระชาชนเกดิ ความรสู้ ึกวา่ เป็นภาระที่ตอ้ งมาประชุมกับ
เจา้ หน้าทีต่ �ำรวจ
36 คู่มือการสรา้ งเครือข่ายการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
ในการปอ้ งกันอาชญากรรมระดับต�ำบล
นอกจากนี้ ชุดต�ำรวจชุมชนสมั พนั ธ์ ยงั นำ� เทคนิคการสบื เสาะขอ้ มูล และ/หรือ
การเรยี นรธู้ รรมชาตขิ องแตล่ ะกลมุ่ สมาชกิ ของชมุ ชน ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจถงึ สภาพบรบิ ทและความ
ต้องการของสมาชกิ ในชุมชนเป็นอย่างดี ท�ำใหส้ ามารถทำ� งานรว่ มกบั ชมุ ชนคอ่ นขา้ งง่าย
จากการทเี่ จา้ หนา้ ทตี่ ำ� รวจใหก้ ารสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื กจิ กรรมภายในชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ผนวกกบั ความเปน็ กนั เองของชดุ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ทำ� ใหเ้ จา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจจากสถานตี ำ� รวจภธู ร
สนามชยั เขตไมเ่ คยไดร้ บั การปฏเิ สธจากชมุ ชน และทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในการทมุ่ เทการ
ร่วมกันท�ำงานของซ่ึงกันและกัน จนน�ำมาสู่การช่วยดูแลดุจญาติมิตรระหว่างเจ้าหน้าที่
ตำ� รวจและประชาชนในท้องท่ี
บทเรียนที่ส�ำคัญ ของการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
ป้องกนั อาชญากรรมระดับตำ� บล ของสถานีตำ� รวจภธู รสนามชัยเขต มีดงั นี้
1. เนน้ การใชว้ ธิ กี ารเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของชมุ ชน เชน่ พธิ กี รรม
ทางศาสนา งานบุญ งานประเพณี ที่ชมุ ชนจดั ข้นึ
2. ใชเ้ วทกี ารประชมุ ประจำ� เดอื นของหมบู่ า้ นเปน็ พนื้ ทใี่ นการพบปะสรา้ งความ
คนุ้ เคยกบั สมาชกิ ในชมุ ชน เพอ่ื ไมใ่ หป้ ระชาชนเกดิ ความรสู้ กึ วา่ เปน็ ภาระทต่ี อ้ งมาประชมุ
กับเจ้าหน้าทตี่ �ำรวจ
3. น�ำเทคนิคการสืบเสาะข้อมูลและ/หรือการเรียนรู้ธรรมชาติของแต่ละกลุ่ม
สมาชิกของชุมชน ท�ำให้เข้าใจถงึ สภาพบริบทและความต้องการของสมาชิกในชมุ ชน
4. สรา้ งความไว้วางใจและทำ� งานรว่ มกับชมุ ชนดจุ ญาตมิ ติ ร
นำเทคนคิ
การสืบเสาะขอมูล
และการเรยี นรูธรรมชาติ
สมาชกิ ของชุมชน
เปน ฐานการทำงาน
กองแผนงานอาชญากรรม | ส�ำนักงานตำ� รวจแห่งชาติ 37