The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุมชนแข้มแข็งด้วยแรง ศพค.ตำบลปะลุกาสาเมาะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TPSO 11, 2023-02-24 04:01:16

ชุมชนแข้มแข็งด้วยแรง ศพค.ตำบลปะลุกาสาเมาะ

ชุมชนแข้มแข็งด้วยแรง ศพค.ตำบลปะลุกาสาเมาะ

ค ำน ำ ครอบครัวเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสังคม เป็นรากฐานของสังคมและเป็นส่วนที่ส าคัญ ที่สุดที่จะช่วยจรรโลงให้ทุกคนในสังคมได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการด าเนินงานเพื่อให้ครอบครัวเข้มแข็ง พร้อมที่จะรับมือกับกระเส การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ถาโถมเข้ามาหลายรูปแบบอย่างต่อเนื่อง ซึ่งล้วนส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของครอบครัว บทบาทและความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกตลอดจนความ ผูกพันและความอบอุ่นที่เป็นองค์ประกอบซึ่งท าให้ครอบครัวมีรากฐานที่มั่นคง ส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ได้จัดท าเอกสาร“ชุมชนเข้มแข็งด้วยแรง ศพค.ปะลุกาสาเมาะ”เพื่อต้องการ น าผลการด าเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนในระดับดีเด่ ที่ประสบความส าเร็จใน การด าเนินตลอดจนข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 ขอขอบคุณ องค์การบริหารส่วนต าบลปะลุกาสาเมาะ คณะท างานศูนย์พัฒนาครอบครัวใน ชุมชนต าบลปะลุกาสาเมาะ ที่ให้ความร่วมมือให้ข้อมูลในการจัดท าเอกสารฉบับนี้และหวังเป็น อย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายต่อไป กลุ่มส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการพัฒนาสังคม ส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 สิงหาคม 2559


รำยนำมคณะผู้จัดท ำ หน่วยงาน ส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 ที่ปรึกษำ นางสาวซาราห์ บินเย๊าะ ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 คณะผู้จัดท ำ นายนุกูล มุสิกโกเมน นักพัฒนาสังคมช านาญการ นางสาวพิมานมาศ สุวรรณ นักพัฒนาสังคมช านาญการ นางสาวบงกช บุณยะศิวะ นักพัฒนาสังคมช านาญการ ว่าที่ ร.ต.หญิง ณัฐณิชา บุษบา นักพัฒนาสังคม นางสาวรอบีอะห์ ยานยา นักพัฒนาสังคม นายอนุวัฒน์ ค าช่วย เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม นางดวงเดือน มุสิกโกเมน พนักงานส ารวจ ผู้สรุปและจัดท ำรูปเล่ม นางสาวบงกช บุณยะศิวะ นักพัฒนาสังคมช านาญการ


สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 1 : บทน า - สถานการณ์ครอบครัวไทย 1 - นิยามครอบครัว 1 - ขนาดและรูปแบบของครอบครัว 1 - ครอบครัวส าคัญ ต้องรับช่วยกันให้ทันการเปลี่ยนแปลง 4 - บอกเรื่องราว ศพค. 4 - ความเป็นมาเกี่ยวกับการด าเนินการจัดตั้ง ศพค. 5 - นิยามเชิงปฏิบัติการ 8 บทที่ 2 : ผลการด าเนินงาน - ตารางที่ 2.1 ข้อมูลศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนจังหวัดนราธิวาส 10 - ข้อมูลทั่วไปของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนปะลุกาสาเมาะ 21 - วิธีการด าเนินงานการจัดท าข้อมูลด้านครอบครัว 22 - ลักษณะการจัดเก็บข้อมูล 23 - สื่อที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ 23 - ความสามารถของคณะท างานในการถ่ายทอดความรู้ในด้าน ครอบครัว 24 – การท างานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนที่ประสบความส าเร็จ 26 - ปัจจัยส าคัญที่ท าให้เกิดผลส าเร็จในการด าเนินงาน 27 - ตารางที่ 2.3 รายชื่อคณะท างานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน 27 ปะลุกาสาเมาะ - ตารางที่ 2.4 รูปแบบการประชาสัมพันธ์ศูนย์พัฒนาครอบครัว 28 ในชุมชนปะลุกาสาเมาะ - ตารางที่ 2.5 การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังการแก้ไขปัญหาครอบครัว 30 - ตารางที่ 2.6 การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเข็มแข็งของสถาบัน 32 ครอบครัว


เรื่อง หน้า - ตารางที่ 2.7 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านครอบครัว 36 - ตารางที่ 2.8 การถ่ายทอดความรู้ด้านครอบครัว 39 - ตารางที่ 2.9 การประสานความร่วมมือระหว่าง ศพค. กับ 44 หน่วยงานอื่น - ตารางที่ 2.10 แผนงานครอบครัวในชุมชน ศพค.ปะลุกาสาเมาะ 46 การป้องกันการใช้ความรุนแรงในครอบครัว - ตารางที่ 2.11 แผนงานครอบครัวในชุมชน ศพค.ปะลุกาสาเมาะ 49 การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวที่มีปัญหาผู้สูงอายุและผู้พิการ - ตารางที่ 2.12 แผนงานครอบครัวในชุมชน ศพค.ปะลุกาสาเมาะ 51 การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวที่มีปัญหาครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว เด็กก าพร้า - ตารางที่ 2.13 แผนงานครอบครัวในชุมชน ศพค.ปะลุกาสาเมาะ 53 การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวที่มีปัญหาเยาวชนในชุมชน - ตารางที่ 2.14 แผนงานครอบครัวในชุมชน ศพค.ปะลุกาสาเมาะ 55 การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวที่มีปัญหากลุ่มเสี่ยงครอบครัวใหม่ - ภาพกิจกรรม 58 บทที่3 : บทสรุปและข้อเสนอแนะ - บทสรุปและข้อเสนอแนะ 63 - ข้อเสนอแนะแนวทางการด าเนินงานโครงการ 64 - ข้อคิดเห็นต่อการจัดสรรงบประมาณส าหรับกิจกรรม 67


1 บทที่ 1 บทน ำ สถำนกำรณ์ครอบครัวไทย สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันหลักของสังคมไทย ที่เป็นรากฐานส าคัญอย่างยิ่งต่อการ ด ารงชีวิต ครอบครัวมีหลากหลายรูปแบบ หลายลักษณะนอกเหนือจากครอบครัวที่สมบูรณ์ทั้ง บิดา มารดาและบุตร สมาชิกในครอบครัวต้องรู้จักรับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่ของตน สามารถ ผนึกก าลังเป็นพลังสร้างคนในครอบครัว ให้มีความสุขและมีคุณภาพ ทุกคนต้องตระหนักว่า ตนเองมีหน้าที่สร้างสถาบันครอบครัวให้มั่นคง ด้วยการกระชับความสัมพันธ์ของสมาชิกใน ครอบครัว โดยการมอบความรักความเข้าใจ ความเอื้ออาทรให้กันและกัน เนื่องจากครอบครัวที่ อบอุ่น จะช่วยเสริมสร้างสังคมให้น่าอยู่และสันติสุขมากยิ่งขึ้น สถาบันครอบครัว เป็นทุนทางสังคมที่มีศักยภาพในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาสังคม ได้แก่ ปัญหายาเสพติด ปัญหาเอดส์ ปัญหาความยากจน ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว นิยำมครอบครัว 1.กลุ่มคนที่มีเพศสัมพันธ์กันมั่นคงถาวรเพียงพอที่จะเลี้ยงดูกันและกันเพื่อการสร้างสรรค์ และให้การอบรมแก่เด็กๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์นั้น หรือ 2.กลุ่มบุคคลต่างๆ ที่รวมกันขึ้นโดยการผูกพันด้านการแต่งงาน การสืบสายโลหิตหรือการรับ บุตรบุญธรรม ซึ่งท าให้บุคคลเหล่านั้นอยู่ร่วมกันในบ้านเรือนเดียว 3.การอยู่ร่วมกันนานมากหรือน้อยของสามีภรรยาจะมีบุตรหรือไม่ก็ตาม หรือการอยู่ร่วมกัน ของชายหญิงคู่หนึ่งพร้อมด้วยเด็กที่อาจจะเกิดขึ้นมาภายหลัง โดยสรุป ครอบครัวเป็นกลุ่มของบุคคล 2 ตน หรือมากกว่าที่มีความสัมพันธ์กันโดยผูกพัน ด้านการแต่งงาน การสืบสายโลหิตหรือการรับบุตรบุญธรรมและการอยู่ร่วมกัน ดังนั้น เพื่อให้ผู้ ท างานเกี่ยวข้องกับครอบครัวมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและมองภาพครอบครัวได้อย่างขัดเจนมาก ขึ้น การรู้จักประเภทของครอบครัวทั้งขนาดและรูปแบบ จึงเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่ง เพราะช่วยให้ เกิดแง่คิดหรือมุมมองที่น าไปสู่แนวทางการท างานกับครอบครัวได้กว้างขวาง ขนำดและรูปแบบของครอบครัว Mc.Ever & Page (ความหมายและประเภทของครอบครัว,2552 ย่อหน้าที่ 1) ได้จ าแนก ขนาดและรูปแบบของครอบครัว 4 ประเภท ดังนี้


2 1.ครอบครัวเดี่ยว ประกอบด้วยสมาชิกครอบครัวพื้นฐาน ได้แก่ พ่อ แม่และลูกที่ยังไม่ได้ แต่งงาน เป็นระบบครอบครัวใหม่ บางครั้งอาจยอมให้ญาติที่ยังไม่ได้แต่งงานมาอยู่ร่วมด้วย ชั่วคราว 2.ครอบครัวขยำย เป็นครอบครัวที่มีครอบครัวหลักอยู่ 1 ครอบครัว และมีครอบครัวอื่น เสริมเข้ามา เช่น ครอบครัวเดิมมี พ่อ แม่ ลูก ภายหลังแต่งงานก็ยังอาศัยอยู่ร่วมกัน เกิด ครอบครัวใหม่ขึ้นอีกหลายครอบครัวแต่อ านาจตัดสินใจอยู่ที่หัวหน้าครอบครัวหลัก 3.ครอบครัวผสม เป็นครอบครัวที่เกิดจากระบบครอบครัวหลายผัวหลายเมียแล้วมาอยู่ ร่วมกัน เช่น สามีมีภรรยาหลายคน ภรรยามีสามีหลายคนเกิดบุตรธิดาขึ้นมา 4.ครอบครัวขำดพ่อขำดแม่หรือครอบครัวภำระ เป็นครอบครัวที่ขาดหัวหน้าครัวเรือนฝ่าย ใดผ่ายหนึ่ง ปล่อยให้อีกฝ่ายหนึ่งเลี้ยงดูลูกโดยล าพัง ส่วนมากมักจะหมายถึงครอบครัวที่ขาดพ่อ ปล่อยให้ลูกเป็นภาระของแม่ อมรา สุนทรธาดา และสุพัตรา เลิศชัยเพชร (2552. น.94-95) น าเสนอรูปแบบของ ครอบครัวไทย 6 รูปแบบดังนี้ 1.ครอบครัวพ่อหรือแม่เลี้ยงเดี่ยว มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น สาเหตุมาจากการสิ้นสุดชีวิตคู่ 4 รูปแบบคือ การละทิ้ง การแยกทาง การหย่าร้าง และการเสียชีวิตของคู่สมรส เป็นผลให้ ครอบครัวพ่อหรือแม่ดูแลลูกตามล าพัง จากการรายงานเด็กไทยในมิติวัฒนธรรม พบว่าประเทศ ไทยมีครอบครัวพ่อหรือแม่เลี้ยงเดี่ยวประมาณ 1.3 ล้านครอบครัว ครอบครัวเหล่านี้ ส่วนมากยัง อยู่ร่วมกับครอบครัวเดิม และได้รับการช่วยเหลือเกื้อกูลจากคนรอบข้าง ทั้งด้านความต้องการ พื้นฐานและด้านจิตใจ เช่น จากเครือญาติ นายจ้าง หรือเพื่อนบ้าน เป็นต้น 2.ครอบครัวเพศเดียวกัน เป็นผลมาจากการเปิดกว้างของสังคมไทยต่อกระแสสังคมโลกว่า ด้วยคนรักเพศเดียวกันซึ่งให้โอกาสกับบุคคลที่ใช้ชีวิตแบบเพศทางเลือกสามารถเปิดเผยตนเอง และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้มากขึ้น รวมทั้งการใช้ชีวิตคู่อยู่กับคนเพศเดียวกัน แต่ประเทศไทย ยังไม่ได้จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นทางการจึงไม่ทราบจ านวนอย่างแท้จริง 3.ครอบครัวบุตรบุญธรรม เป็นครอบครัวที่คู่สมรสไม่สมารถมีบุตรสืบสกุลได้และขอเด็ก มาเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม 4.ครอบครัวผู้สูงอำยุ มีจ านวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี เนื่องจากอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของคน ไทยสูงขึ้น อันเป็นผลมาจากการบริการสาธารณสุขที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและครอบคลุมทั้ง


3 ประเทศ ครอบครัวลักษณะนี้เป็นครอบครัวที่มีแต่ผู้สูงอายุ (อายุตั้งแต่ 60 ปีขั้นไป) อาศัยอยู่ตาม ล าพัง ไม่มีบุตรหลานดูแล สาเหตุหนึ่งสืบเนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่ต าแหน่งงาน กระจุกตัวในเมืองใหญ่ๆ ท าให้ประชากรในวัยแรงงานจ าเป็นต้องอพยพไปหางานท าในเมืองและ บางส่วนสร้างครอบครัวใหม่ในถิ่นฐานที่ท ากินใหม่ ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามล าพังมากขึ้น 5.ครอบครัวที่มีผู้สูงอำยุและเด็ก พบมากในสังคมชนบทเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากสมาชิก ครอบครัวที่อยู่ในวัยท างานละทิ้งภูมิล าเนาเดิมชั่วคราวหรือถาวรเพื่อไปท างานในเมือง สร้าง ครอบครัวใหม่ซึ่งมีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยว ต้องท างานหนักเพื่อสร้างฐานะ เมื่อมีลูกแล้วไม่มี เวลาเลี้ยงดูจ าเป็นต้องส่งลูกไปให้ปู่ย่าตายาย ท าให้ผู้สูงอายุต้องแบกรับภาระเลี้ยงดูเด็ก แทนที่ จะได้รับการดูแลจากลูกหลาน แต่หากพ่อแม่เด็กไม่รับผิดชอบค่าเลี้ยงดูหรือชาดการติดต่อ ผู้สูงอายุเหล่านี้ต้องรับภาระหาเลี้ยงตนเองและหลาน เกิดเป็นครอบครัวอีกรูปแบบหนึ่งที่มีแก่ เด็กและผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 6.ครอบครัวที่เด็กก ำพร้ำอำศัยอยู่ตำมล ำพัง เป็นครอบครัวที่บิดามารดาเสียชีวิตด้วย สาเหตุต่างๆ นอกจากนั้น ยังปรากฏครอบครัวในลักษณะอื่นอีก ดังนี้ 1.ครอบครัวข้ำมชำติหมายถึงครอบครัวที่มีสมาชิกบางคนย้ายถิ่นระหว่างประเทศและใช้ ชีวิตอยู่ในต่างประเทศด้วยเหตุผลที่หลากหลาย เช่น ประกอบอาชีพ ท าธุรกิจ เรียนหนังสือ เป็น ต้น สมาชิกภายในครอบครัวข้ามชาติลักษณะนี้ยังคงรักษาความสัมพันธ์กับครอบครัวเดิมที่อยู่กัน คนละประเทศ (Bryceson and Vuorela 2002) รูปแบบความผูกพันข้ามชาติที่พบเห็นได้เสมอ ในครอบครัวข้ามชาติ เช่น การเอาใจใส่ดูแลสวัสดิการของกันและกัน การส่งเงินกลับบ้าน การ ติดต่อสื่อสารพูดคุยกันอย่างสม่ าเสมอทางโทรศัพท์หรือจดหมาย การไปเยี่ยมเยียนเป็นครั้งคราว เป็นต้น ครอบครัวข้ ามช าติลักษณะนี้มีแนวโน้มของก า รกลับคืนไปอยู่ด้วย กันสูง (familyreunion)สุชาดา ทวีสิทธิ์,2552,น.150 อ้างใน ครอบครัวไทยในสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงผ่านทางสังคมและประชากร ชาย โพธิสิตาและ สุชาดา ทวีสิทธิ์,2552) 2.ครอบครัวคนชำยขอบ มีหลายประเภทหลายลักษณะ ระบุไว้ 4 ประเภท คือ ครอบครัว ที่ประสบภัยหรือวิกฤติต่างๆ อาทิสือนามิ ครอบครัวไทยพลัดถิ่น ครอบครัวชาวเลและครอบครัว แรงงานต่างด้าว (หรือ ครอบครัวแรงงานข้ามชาติ) ทั้งนี้ครอบครัวชายขอบ ได้แก่ครอบครัวแรงงาน อพยพ (จากชนบทเข้าสู่เมือง หรือ ระหว่างเมืองกับเมือง หรือระหว่างชนบทกับชนบท ) ครอบครัวไร้รัฐ-ไร้สัญชาติ ครอบครัวชายเขา/ชนเผ่า ครอบครัวคนจนเมือง ครอบครัวคนขาย


4 พวงมาลัยบนท้องถนน ครอบครัวเด็กแว้น ครอบครัวคนเป็นเอดส์ ครอบครัวชายเกย์ หรือเพศ ภาวะอื่นๆ เช่น ครอบครัวหญิงรักหญิง ครอบครัวคนติดยาเสพติด ครอบครัวตนติดคุก และ ครอบครัวคนพิการ เป็นต้น ครอบครัวส ำคัญ ต้องรับช่วยกันให้ทันกำรเปลี่ยนแปลง ทุกตนในทุกสังคมต่างตระหนักและยอมรับว่า ครอบครัวมีความส าคัญยิ่ง ต้องร่วมด้วย ช่วยกันเพื่อประคับประคองให้มีความเข้มแข็ง อบอุ่น เพื่อท าหน้าที่หล่อหลอม ขัดเกลาความเป็น มนุษย์ให้สมาชิกในครอบครัวเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีความพร้อมที่จะท างานอย่างเต็มที่และ สร้างสรรค์ แต่ในปัจจุบัน ครอบครัวต้องเผชิญกับภาวการณ์เปลี่ยนแปลงอันเป็นผลมาจากปัจจัย ภายในครอบครัว ปัจจัยแวดล้อมในชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามกระแส โลกาภิวัฒน์และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ท าให้ครอบครัวต้องเผชิญกับปัญหา ส าคัญๆ ได้แก่ความยากจน ยาเสพติด การติดเชื้อโรคเอดส์ ความรุนแรงในครอบครัว ความเสื่อม ถอยของสัมพันธภาพในครอบครัว เด็กและผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งให้อยู่โดยล าพัง ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครอบครัวกับชุมชนและสังคมมีแนวโน้มลดลง หากปล่อยให้ครอบครัวต่อสู้กับปัญหา ดังกล่าวโดยล าพังก็อาจเสี่ยงต่อการที่ครอบครัว จะปกป้องคุ้มครองสมาชิกให้รอดพ้นจากภัยรอบ ด้านได้ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน หรือ ศพค. จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่ท าให้คนในชุมชนมี โอกาสบริหารจัดการทั้งด้านการพัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหาครอบครัวในชุมชนของตนเอง บอกเรื่องรำว ศพค. ถ้าจะต้องย้อนไปที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 ว่าด้วย แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 80 ระบุว่า “รัฐต้องเสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกของ ครอบครัวและความเข้มแข็งของชุมชน” และแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504 – 2509 ) ซึ่งให้ความส าคัญแก่ยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและคุ้มครองทางสังคมเพื่อ สร้างครอบครัวเข้มแข็งและบทบาทของครอบครัวและชุมชน นอกจากนโยบายของรัฐบาลใน ด้านการบริหารประเทศก็มุ่งเน้นการส่งเสริมการสร้างสถาบันครอบครัวให้อบอุ่นและเข้มแข็ง เป็นหน่วยพื้นฐานการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสมาชิกทุกวัยในครอบครัวจาก ปัญหาสังคม โดยการจัดตั้ง”ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)” เพื่อให้ค าปรึกษาและ บริการด้านต่างๆเกี่ยวกับครอบครัวทั้งด้านสุขภาพและการวางแผนแก้ไขปัญหาครอบครัว โดย ศพค เป็นศูนย์กลางในการเผ้าระวัง ป้องกัน แก้ไขส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ครอบครัว และให้ ค าแนะน าแก่ครอบครัวที่มีปัญหา วัตถุประสงค์หลักๆ ก็เพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือใน


5 การพัฒนาสถาบันครอบครัวในลักษณะบูรณาการจากทุกภาคส่วนในสังคม ส่งเสริมให้ชุมชนมี ศูนย์รวมในการพัฒนาสถาบันครอบครัว บริหารจัดการโดยชุมชนในรูปแบบศูนย์พัฒนา ครอบครัวในชุมชน และสร้างโอกาสให้ชุมชนได้เรียนรู้และมีส่วนร่วมพัฒนาสถาบันครอบครัวที่ จะน าไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนในการบริหารงานและแก้ไขปัญหาสังคมอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ศพค. จึงบริหารจัดการในรูปคณะท างาน ประกอบด้วยตัวแทนเครือข่ายครอบครอบครัว (กลุ่ม 5-10 ครอบครัว) เน้นสมาชิกซึ่งอยู่ภายใต้การก ากับดูแลและการสนับสนุนขององค์การบริหาร ส่วนต าบล/เทศบาล/กรุงเทพมหานครในด้านงบประมาณและวิชาการ ควำมเป็นมำเกี่ยวกับกำรด ำเนินกำรจัดตั้ง ศพค. การด าเนินการส่งเสริมการจัดตั้ง ศพค.เพื่อให้ครบทุกต าบลทั่วประเทศในระยะ 5 ปีแรก สามารถจัดตั้ง ศพค. โดยได้ จ าแนกได้ดังนี้ ปี 2547 - 2549 มี ศพค.ทั้ง 75 จังหวัด (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) รวม 2,977 ศูนย์ ปี 2550 – 2551ขยายผลศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน 75 จังหวัดในเขตเทศบาล รวม 1,575 ศูนย์ ศพต.เกิดขึ้นในระยะเวลา ตั้งแต่ปี 2547-2551 มีจ านวนรวม 4,252 ศูนย์ จวบจนปัจจุบัน ศพค.ได้ถือก าเนิดขึ้นและด าเนินงานเพื่อสนองเจตนารมณ์ของรัฐบาล โดยมีเป้าหมายร่วมกันอย่าง แน่วแน่ที่จะท าให้ครอบครัวปราศจากภัยคุกตาม มีความเข้มแข็ง ด้านการพัฒนารูปแบบ ศพค. ให้มีความหลากหลาย 6 ลักษณะ ดังนี้ 1 ศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนน ำร่อง 1.คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก ศพค.ที่มีผลการด าเนินงานโดดเด่น จังหวัดละ 1 ศูนย์ ประกอบด้วย 1.1 ผู้อ านวยการส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวเป็นที่ปรึกษา 1.2 รองผู้อ านวยการส านักงานกิจการสตรีและครอบครัวเป็นประธาน 1.3 ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริมสถาบันครอบครัว ผู้อ านวยการกองส่งเสริมและพัฒนา เครือข่าย 1.4 หัวหน้ากลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง 2.เกณฑ์ประกอบการคัดเลือก 5 ประการ 2.1 มีเครือข่ายการเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาครอบครัว 2.2 มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวอย่างต่อเนื่อง


6 2.3 มีช่องทางประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย 2.4 คณะท างาน ศพค.สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านครอบครัว 2.5 สามารถจัดหาทรัพยากรจากหน่วยงานอื่นมาสนับสนุนการด าเนินงาน 3.หน้าที่ของ ศพค.น าร่อง ร่วมกันวิเคราะห์และศึกษาเรียนรู้รูปแบบของการท างานและสร้าง แนวทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม 2.ศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมขนต้นแบบ 1.คณะกรรมกำรพิจำรณำคัดเลือก ศพค.ประกอบด้วย 1.1 ส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว 1.2 ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2.เกณฑ์ประกอบกำรคัดเลือก 2.1 มีความเข้มแข็งในการด าเนินงานตามบทบาทหน้าที่ 2.2 มีความพร้อมที่จะรับการพัฒนาศักยภาพให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 องค์การบริหารส่วนต าบลให้การสนับสนุนการด าเนินกิจกรรม 2.4 ผ่านการประเมินขั้นต้นจากส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว 3.หน้ำที่ ศพค.ของ ศพค.ต้นแบบ เพื่อเป็นแบบอย่างในการด าเนินงาน 3. ศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนรูปแบบใหม่ 1.ลักษณะพิเศษ คือ เป็น “หน่วยงานเชื่อมโยงพิเศษ” ทีมีลักษณะของการด าเนินงานด้วย การประสานเครือข่ายชุมชนและด าเนินในรูปแบบของผู้เชี่ยวชาญ โดยมีผู้จัดบริการทางสังคม (Case Manager) เป็นผู้เชื่อมโยงและจัดหาบริการและความช่วยเหลือเฉพาะด้านที่มีอยู่ในระดับ จังหวัด 2.โครงกำร ศพค.รูปแบบใหม่ ได้แก่ ฝ่ายจัดการ ส่วนการให้บริการชุมชน(เฉพาะด้าน) และ ส่วนเครือข่ายชุมชน 2.1 ฝ่ายจัดการ ประกอบด้วย นายก อบต. ปลัด อบต.เจ้าหน้าที่ฝ่ายสวัสดิการ อบต. ผู้แทนจากเครือข่ายชุมชนและผู้จัดบริการทางสังคม 2.2 ส่วนการจัดบริการชุมชน ผู้จัดบริการทางสังคม 1 คน ท างานในด้านการคุ้มครองเด็ก และการส่งเสริมครอบครัว รวมทั้งการให้บริการเฉพาะด้านอื่นๆ


7 2.3 ส่วนเครือข่ายชุมชน มีสมาชิกจ านวน 9-15 คน ได้รับการคัดเลือกเป็นคณะท างาน โดยชุมชนจากองค์กรหรือเครือข่ายต่างๆ ที่มีอยู่แล้ว ควรเป็นผู้แทนของประชากรกลุ่มต่างๆ ใน ชุมชน เช่น กลุ่มเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ อาสาสมัคร ผู้น าชุมชน และเครือข่ายครอบครัว เป็นต้น 3.หน้ำที่ ศพค.รูปแบบใหม่ เน้นหนักที่หน้าที่ของฝ่ายจัดการเพื่อให้ ศพค.ด าเนินการอย่าง มีประสิทธิภาพ มีความร่วมมือกันระหว่างส่วนการให้บริการและส่วนเครือข่ายชุมชน และศูนย์ ดังกล่าวได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่นๆ 4.ศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำ 1.คณะกรรมกำร พิจารณาคัดเลือก ศพค. เพื่อยกระดับการพัฒนาศักยภาพ 1.1 ส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว 1.2 เจ้าหน้าที่ส่วนงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด ท าหน้าที่พิจารณาศูนย์พัฒนาครอบครัวใน ชุมชนที่มีผลงานน่าจะเป็นต้นแบบให้แก่ศูนย์อื่นๆ แม้ว่าจะมีผลการด าเนินงานที่ไม่ครบตาม เกณฑ์ทั้ง 5 ประการ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ศพค.ที่อาจด้อยในการด าเนินงานบางด้านให้ยกระดับ การท างาน และเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระเกียรติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระเจริญ พระชนมายุครบ 80 พรรษา ในปี 2550 2.เกณฑ์ประกอบกำรคัดเลือก 5 ประการ (เกณฑ์เดียวกับ ศพค.น าร่อง) 3 หน้ำที่ ศพค.เฉลิมพระเกียรติวิเคราะห์ ศึกษา เรียนรู้รูปแบบการท างานและสร้าง แนวทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมรวมทั้งถอดบทเรียนการท างานมาสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการ ด าเนินงานที่เข้มแข็งและยั่งยืนแก่ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน และมุ่งเน้นให้เกิดการบริหาร จัดการอย่างเป็นระบบ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายต่างๆ เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานศูนย์พัฒนา ครอบครัวในชุมชนเอง และเป็นแบบอย่างให้แก่ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนอื่นๆ ต่อไป 5.ศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนที่เข้ำโครงกำรศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนมุ่งสู่มำตรฐำน 2552 1.ลักษณะกำรด ำเนินงำน ศพค.มุ่งสู่มาตรฐาน ก าหนดให้ ศพค. มีการจัดกิจกรรมให้ สอดคล้องตามแนวทางของมาตรฐานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน


8 2.มำตรฐำนศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชน หมายถึง ข้อก าหนดหรือเกณฑ์ที่ใช้เป็น แนวทางในการปฏิบัติของ ศพค.ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถบรรลุภารกิจของศูนย์ พัฒนาครอบครัวในชุมชน ซึ่งประกอบด้วย 5 เกณฑ์ 8 ตัวชี้วัด มำตรฐำนที่ 1 ; กำรสร้ำงเครือข่ำยเฝ้ำระวัง แก้ไขปัญหำครอบครัว ตัวชี้วัดที่ 1: สัดส่วนของเครือข่ายต่อประชาชนในชุมชน มำตรฐำนที่2 ; กำรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมควำมเข้มแข็งของสถำบันครอบครัว ตัวชี้วัดที่ 2 : จ านวนกิจกรรม ตามขนาดของ อบต. ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละการมีส่วนร่วมของประชาชน มำตรฐำนที่ 3 ; กำรประชำสัมพันธ์ข้อมูลข่ำวสำรด้ำนครอบครัว ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของการเข้าถึงการประชาสัมพันธ์ของประชาชนในพื้นที่ ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของประชาชนของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าใจการประชาสัมพันธ์ มำตรฐำนที่ 4 ; กำรถ่ำยทอดควำมรู้ด้ำนครอบครัว ตัวชี้วัดที่ 6 : ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีความเข้าใจในการถ่ายทอดความรู้ ด้านครอบครัว ตัวชี้วัดที่ 7 : จ านวนวิทยากรของคณะท างานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน มำตรฐำนที่ 5 ; การประสานความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นๆ เพื่อสนับสนุนทรัพยากรใน การด าเนินงาน ตัวชี้วัดที่ 8 : จ านวนกิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนทรัพยากรจากหน่วยงานอื่น นิยำมเชิงปฏิบัติกำร 1.ศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชน (ศพค.) หมายถึง หน่วยงานในระดับพื้นที่ที่เกิดขึ้นและ ก่อตั้งในระหว่างปีงบประมาณ 2547-2551 โดยส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางในการเฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ ครอบครัว ให้ค าแนะน าและมีการบริหารจัดการในรูปแบบคณะท างานศูนย์พัฒนาครอบครัวใน ชุมชน ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนองค์กรกลุ่มในชุมชน และตัวแทนเครือข่ายครอบครัว กลุ่ม ครอบครัว (กลุ่มครอบครัว จ านวน 5-10 ครอบครัว) อยู่ภายใต้การก ากับดูแลการสนับสนุนชอง องค์การบริหารส่วนต าบล/เทศบาล/กรุงเทพมหานครในด้านงบประมาณและวิชาการ 2.กำรด ำเนินงำนของศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชน หมายถึง การด าเนินงานโครงการ ศพค.ตามบทบาทและภารกิจของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนทั้ง 3 ประการได้แก่ 1) บทบาท


9 ในการส ารวจศึกษาปัญหา 2)บทบาทในการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหาให้ค าแนะน า และ 3) บทบาทในการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว 3.รูปแบบศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชน หมายถึง ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน 5 รูปแบบ ได้แก่ 1) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต้นแบบ 2) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนน า ร่อง 3) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนรูปแบบใหม่ 4) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเฉลิมพระ เกียรติ 80 พรรษา และ 5) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนที่เข้าโครงการศูนย์พัฒนาครอบครัวใน ชุมชนมุ่งสู่มาตรฐาน 2552


10 บทที่ 2 ผลกำรด ำเนินงำนโครงกำรศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชน (ศพค.) ดีเด่น ส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 ซึ่งมีบทบาทภารกิจส่งเสริมและสนับสนุนงาน ด้านวิชาการ องค์ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสังคมและจัด สวัสดิการสังคมในระดับพื้นที่กลุ่มจังหวัด และการด าเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ที่มีผลงานและได้รับการคัดเลือกในระดับดีเด่น ความเป็นมาของการจัดตั้งและการด าเนินงาน ของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ซึ่งสามารถน ามาเป็นต้นแบบ เพื่อจัดท าเอกสารในการ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ และน าผลการด าเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และน าไปปรับใช้.การปฏิบัติงานในส่วนของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ใน เขตพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต าบลปะลุกาสาเมาะ อ าเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ได้รับรางวัลศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนระดับดีเด่นซึ่งการด าเนินงานของ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต าบลปะลุกาสาเมาะ สร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ป้องกันความ รุนแรงในครอบครัว ให้คนในชุมชนเกิดความตระหนัก และร่วมมือเฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไขปัญหา ความรุนแรงในครอบครัว และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเห็นความส าคัญของการป้องกันปัญหา ความรุนแรงในครอบครัว และมีส่วนร่วมสนับสนุนการด าเนินงานอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม จากการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนการด าเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการ ด าเนินงานที่ท าให้ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเข้มแข็ง สามารถด าเนินงานตามเป้าหมายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตำรำงที่ 2.1 ข้อมูลศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนจังหวัดนรำธิวำส ล ำดับ ที่ ชื่อศูนย์พัฒนำ ครอบครัวใน ชุมชน ปี 2555 เงิน อุดหนุน (สค.) ปี 2556 เงินอุดหนุน (สค.) ปี 2557 เงินอุดหนุน (สค.) ปี 2558 เงินอุดหนุน (สค.) หมำยเหตุ อ ำเภอเมืองนรำธิวำส


11 1 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล กะลุวอ 10,000 10,000 2 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลล า ภู 10,000 26,100 10,000 3 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล บางปอ 10,000 12,360 30,000 29,400 4 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล โคกเคียน 10,000 30,000 5 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนกะลุวอ เหนือ 10,000 12,750 6 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล มะนังตายอ 10,000 9,800 อ ำเภอสุไหงโก-ลก 7 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลปู โยะ 10,000 12,900 30,000 12,900 20,700 8 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน 10,000 16,500 10,000


12 ชุมชนต าบลมู โนะ 9 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลปา เสมัส 10,000 10,000 20,000 อ ำเภอศรีสำคร 10 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลศรี สาคร 10,000 11 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลซา กอ 10,000 32,000 12 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลศรี บรรพต 10,000 16,600 35,900 13 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล กาหลง 10,000 14 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลเชิง คีรี 10,000 10,000 15 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลตะ มะยูง 10,000 28,800


13 16 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลศรี สาคร 10,000 อ ำเภอบำเจำะ 17 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลบา เจาะ 10,000 17,700 18 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลกา เยาะมาตี 10,000 35,000 30,000 19 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลลู โบะสาวอ 10,000 17,500 20 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลบา เระใต้ 10,000 21 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลบา เระเหนือ 10,000 22 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลปะ ลุกาสาเมาะ 10,000 35,000 42,150 30,000 30,900 30,000 - 65,400 อ ำเภอสุคิริน 23 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน 10,000 43,750 24,800 12,900


14 ชุมชนต าบลสุคี ริน 24 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลมา โมง 10,000 28,900 30,000 -27,600 22,900 25 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนเกียร์ 10,000 43,750 30,000 21,000 26 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนภูเขาทอง 10,000 31,200 27 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลร่ม ไทร 10,000 8,200 28 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนเทศบาล ต าบลสุคีริน 10,000 อ ำเภอตำกใบ 29 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลพ ร่อน 10,000 16,200 22,740 30 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล โฆษิต 10,000 35.400 63,600 31 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน 10,000 21,700 21,000


15 ชุมชนต าบล บางขุนทอง 32 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลนา นาค 10,000 9,600 30,000 33 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล เกาะสะท้อน 10,000 21,250 30,000 .34 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล ศาลาใหม่ 10,000 35 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลไพร วัน 10,000 25,540 36 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนเทศบาล เมืองตากใบ 10,000 54,000 90,000 อ ำเภอรือเสำะ 37 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลรือ เสาะ 10,000 38 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลรื อเสาะออก 10,000


16 39 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล สาวอ 10,000 24,450 40 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล สามัคคี 10,000 25,600 23,400 41 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลบา ตง 10,000 27,200 32,600 42 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลสุ วารี 10,000 9,600 43 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลโคก สะตอ 10,000 49,850 30,000 77,400 30,000 58,640 44 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลลา โละ 10,000 45 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล เรียง 10,000 95,880 อ ำเภอสุไหงปำดี 46 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน 10,000 16,250 20,000


17 ชุมชนต าบลปะ ลุรู 47 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลกา วะ 10,000 10,000 48 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลสา กอ 10,000 49 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลสุ ไหงปาดี 10,000 33,600 31,500 50 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล โต๊ะเด็ง 10,000 20,000 33,800 25,200 51 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลริโก๋ 10,000 9,000 20,000 20,550 25,200 อ ำเภอเจำะไอร้อง 52 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล จวบ 10,000 53 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลบู กิต 10,000


18 54 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล มะรือโบออก 10,000 37,260 30,000 26,700 อ ำเภอจะแนะ 55 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลจะ แนะ 10,000 27,300 24,200 56 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล คุซงญอ 10,000 19,650 22,700 25,700 57 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล ผดุงมาตร 10,000 43,600 30,000 37,000 28,500 58 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล ช้างเผือก 10,000 อ ำเภอแว้ง 59 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนแว้ง 10,000 47,100 28,400 60 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลกา ยูคละ 10,000 18,800 61 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน 10,000


19 ชุมชนต าบล เอราวัณ 62 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลฆอ เลาะ 10,000 63 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลแม่ คง 10,000 64 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลโละ จูด 10,000 15,000 อ ำเภอระแงะ 65 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล ตันหยงมัส 10,000 66 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล มะรือโบตก 10,000 67 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลบา โงสะโต 10,000 10,000 30,000 33,000 68 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลกา ลิซา 10,000 13,360 7,910 อ ำเภอระแงะ


20 69 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลบอ งอ 10,000 70 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล เฉลิม 10,000 18,800 71 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบล ตันหยงลิมอ 10,000 13,700 อ ำเภอยี่งอ 72 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลยี่ งอ 10,000 69,316 30,000 20,640 73 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลละ หาร 10,000 10,200 13,200 74 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลจอ เบาะ 10,000 19,100 32,745 75 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลลู โบะบือซา 10,000 19,200 30,000 33,800 32,000 76 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน 10,000


21 ชุมชนต าบลลุ โบะบายะ 77 ศูนย์พัฒนา ครอบครัวใน ชุมชนต าบลตะ ปอเยาะ 10,000 25,100 30,075 21,700 ตำรำงที่ 2.2 ศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนดีเด่นและดี ปี 2558 ล ำดับ ที่ ศพค./อปท. ศพค. ระดับ ดีเด่น ศพค. ระดับ ดี 1 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต าบลปะลุกาสาเมาะ ดีเด่น 2 .ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต าบลลุโบะบือซา ดีเด่น 3 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนบาโงสะโต ดีเด่น 4 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนบาโงสะโต ดีเด่น 5 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนบาตง ดีเด่น 6 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนสาวอ ดีเด่น 7 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต าบลเกียร์ ดีเด่น 8 .ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต าบลมาโมง ดีเด่น 9 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต าบลสุคิริน ดีเด่น 10 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต าบลบางขุนทอง ดี 11 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนต าบลไพรวัน ดี ข้อมูลทั่วไปของศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนปะลุกำสำเมำะ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนปะลุกาสาเมาะ อ าเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จัดตั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2547 - มีจ านวน 11 หมู่บ้าน - เขตเทศบาลต าบล ต้นไทรมี 2 หมู่บ้าน ประกอบด้วย


22 - หมู่ที่ 1 บ้านบือแนปีแย หมู่ที่ 6 บ้านบาตูอยู่ในเขตเทศบาลต้นไทร - หมู่ที่ 2 บ้านปะลุกาสาเมาะ มีจ านวน 224 ครอบครัว - หมู่ที่ 3 บ้านตะโละตา มีจ านวน 140 ครอบครัว - หมู่ที่ 4 บ้านเชิงเขา มีจ านวน 271 ครอบครัว - หมู่ที่ 5 บ้านมะยูง มีจ านวน 233 ครอบครัว - หมู่ที่ 6 บ้านบือแนแฆมอง มีจ านวน 159 ครอบครัว - หมู่ที่ 7 บ้านปะลุกาแปเราะ มีจ านวน 163 ครอบครัว - หมู่ที่ 8 บ้านกือดายือริง มีจ านวน 263 ครอบครัว - หมู่ที่ 9 บ้านกาบุ๊มีจ านวน 160 ครอบครัว - หมู่ที่ 10 บ้านชะมูแว มีจ านวน 173 ครอบครัว - หมู่ที่ 11บ้านมาแฮ มีจ านวน 176 ครอบครัว ศูนย์พัฒนำครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำ ต ำบลปะลุกำสะเมำะ อ ำเภอบำเจำะ จังหวัดนรำธิวำส ที่ตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวเฉลิมพระเกียรติต าบลปะลุกาสาเมาะ ตั้งอยู่ที่ ที่ท าการของ องค์การบริหารส่วนต าบลปะลุกาเมาะ หมู่ 9 ต าบลปะลุกาสาเมาะ อ าเภอบาเจาะ จังหวัด นราธิวาส ห่างจากที่ว่าการอ าเภอบาเจาะ 13 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดนราธิวาส ประมาณ 30 กิโลเมตร วิธีกำรด ำเนินงำนกำรจัดท ำข้อมูลด้ำนครอบครัว - ส ารวจสภาพปัญหาและจัดท าข้อมูลเกี่ยวกับสภาพครอบครัว สตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส - ด าเนินการจัดท าข้อมูลด้านครอบครัว - จัดท าแผนการด าเนินงานประจ าปี เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา - จัดท ากิจกรรมโครงการที่สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย - บริการให้ค าปรึกษา แนะน า ตลอดจนประสานและร่วมมือกับหน่วยงานของภาครัฐ และองค์กรเอกชนในการด าเนินงานแก้ไขปัญหาครอบครัวในชุมชน - ส่งเสริมให้ครอบครัวสร้างเครือข่ายในการเอื้อเฟื้อเกื้อกูลซึ่งกันและกันและมีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชน


23 1.ลักษณะกำรจัดเก็บข้อมูล เก็บข้อมูลสภาพพื้นที่ ลักษณะที่ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนของชุมชน - ส ารวจโดยการสอบถาม สัมภาษณ์หัวหน้าครอบครัว ผู้น าชุมชน หรือกลุ่มองค์กรใน ชุมชนเพื่อทราบถึง สถานการณ์ครอบครัวในหมู่บ้าน - วิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ครอบครัวในชุมชน 2.กำรประชำสัมพันธ์กำรด ำเนินของศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชน เรื่องที่ด ำเนินกำรประชำสัมพันธ์ - การจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - วัตถุประสงค์การจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - การจัดเวทีประชาคมและสร้างเครือข่ายศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - การประชุมเชิงปฏิบัติการศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - บทบาทภารกิจของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - หน้าที่ของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - ประโยชน์ของการจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - การสร้างเครือข่ายครอบครัว - คณะท างานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - การสร้างทีมงานของคณะท างานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - การประสานการท างานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน 3.สื่อที่ใช้ในกำรประชำสัมพันธ์ - จัดท าป้ายชื่อศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - จัดท าป้ายประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการด าเนินงานกิจกรรมศูนย์พัฒนาครอบครัว ในชุมชน - ประชาสัมพันธ์การด าเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ทางหอกระจายข่าว ในมัสยิด วัด เครื่องกระจายเสียงไร้สาย แผ่นพับ โบชัวร์ บอร์ด - ประชาสัมพันธ์ข่าวสารของทางราชการ ภายในหมู่บ้าน ต าบล ชุมชน ประชาสัมพันธ์ ต่อที่ประชุม ต าบล ชุมชน และสื่อมวลชนในท้องถิ่น - ประชาสัมพันธ์ผ่านเวทีประชาคมในการด าเนินงานกิจกรรมต่างๆ ในชุมชนแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารระหว่างหมู่บ้าน ต าบล ชุมชน และระหว่างเครือข่ายครอบครัว


24 - ประชาสัมพันธ์ทาง facebook ศพค.ปะลุกาสาเมาะ - ประชาสัมพันธ์ทาง www.palukasamoh.go.th 4.กำรจัดกิจกรรมและผลส ำเร็จจำกกำรจัดกิจกรรมที่ผ่ำนมำ - โครงการจัดการแข่งขันกีฬาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสัมพันธ์ - โครงการทัศนศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มสตรีต าบลประลุกาสาเมาะ - โครงการจัดกิจกรรมโรงเรียนตาดิกาสัมพันธ์ - โครงการจัดกิจกรรมวันสงกรานต์ - โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมทางศาสนาอิสลามในเดือนรอมฏอน - โครงการจัดกิจกรรมงานประเพณีท้องถิ่น - โครงการแข่งกีฬาพื้นบ้านสานสัมพันธ์ - โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมเด็กก าพร้า คนชรา ตนพิการ และผู้ด้อยโอกาส - การระดมทุน เครื่องนุ่มห่มและเครื่องอุปโภคบริโภคในการช่วยเหลือชาวโรฮินญา ควำมสำมำรถของคณะท ำงำนในกำรถ่ำยทอดควำมรู้ในด้ำนครอบครัว - คณะท างานมีความสามารถเฉพาะตัว เทคนิคการพูดในการโน้มน้าวจิตใจคนในชุมชน ให้ความส าคัญกับครอบครัว - คณะท างานมีความรู้และประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ด้านครอบครัว - คณะท างานมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการถ่ายทอดความรู้ด้านครอบครัวให้ น่าสนใจ - คณะท างานสามารถเป็นวิทยากรรายวิชาและวิทยากรกระบวนการได้ กำรประสำนควำมร่วมมือกับหน่วยงำน 1) กลุ่มต่ำงๆในหมู่บ้ำน ต ำบล เช่น กลุ่มสตรี สภาเด็กและเยาวชน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการ ผลิต คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านคณะกรรมการพัฒนาบทบทสตรีต าบล/อ าเภอ/จังหวัด อสม. 2) หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องทำงสังคม - ส านักงานส่งพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนราธิวาส - ศูนย์พัฒนาสังคมหน่วยที่ 24 จังหวัดนราธิวาส - ส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการที่ 12 จังหวัดสงขลา - ส านักงานยุติธรรมจังหวัดนราธิวาส - กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปะลุกาสาเมาะ


25 - ส านักงานคณะกรรมการอิสลามประจ าจังหวัดนราธิวาส - พัฒนาชุมชนอ าเภอบาเจาะ/พัฒนาชุนจังหวัดนราธิวาส - ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดนราธิวาส - ส านักงาสาธารณสุขอ าเภอ/จังหวัด - สถานีอนามัย - โรงเรียนในชุมชน - มัสยิดในพื้นที่ต าบล - วัดเชิงเขา - สภาซูรอต าบลปะลุกาสาเมาะ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - องค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส - องค์การบริหารส่วนต าบลปะลุกาสาเมาะ - เทศบาลต าบลต้นไทร ผลงำนที่โดดเด่นของกำรด ำเนินงำนศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนต ำบลปะลุกำสำเมำะ - โครงการอบรมครอบครัวสัมพันธ์ - โครงการจัดกิจกรรมโรงเรียนจาดีกาสัมพันธ์ - โครงการจัดงานวันสงกรานต์กิจกรรมรดน้ าด าหัวผู้สูงอายุ - โครงการส่งเสริมและสนับสนุนเด็กก าพร้า คนชรา คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส - โครงการอบรมสัมนนาด้านคุณธรรม จริยธรรมให้กับผู้สูงอายุ - การระดมทุน เครื่องนุ่มห่มและเครื่องอุปโภคบริโภคในการช่วยเหลือชาวโรฮินญา - โครงการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุ อบต.ปะลุกาสาเมาะ - โครงการรั้วสีเขียวบ้านสีขาว - โครงการจัดกิจกรรมงานประเพณีท้องถิ่น - โครงการอบรมเยาวชนก่อนแต่งงาน - โครงการดูแลผู้สูงอายุ และผู้พิการที่บ้านแบบองค์รวม - กิจกรรมเวทีเด็กและเยาวชนสร้างสรรค์สังคมระดับต าบล - โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน - โครงการส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาศักยภาพสตรี


26 - โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ - โครงการแข่งกีฬาพื้นบ้านสานสัมพันธ์ กำรท ำงำนของศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนที่ประสบควำมส ำเร็จ 1. ศูนย์พัฒนาครอบครัวฯสามารถผลักดันโครงการเข้าสู่แผนพัฒนาท้องถิ่นได้ 1.1 ศูนย์พัฒนาครอบครัวได้ผลักดัน ในการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุเข้าสู่ แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลฯ จนประสบความส าเร็จ และสามารถด าเนินงานจนได้มี การพัฒนาในกองทุน มีการเพิ่มเงินสวัสดิการเรื่อยๆ มาจากเดิม ค่าจัดการศพ เพียง 6,000 บาท จนมาถึงปัจจุบันได้ปรับเป็นเงิน 13,000 บาทแล้ว และเงินสวัสดิการกรณีเข้าพักรักษาตัวที่ โรงพยาบาลเกิน 24 ชั่วโมง เป็นเงิน 500 บาท เดิมสามารถเบิกเงินสวัสดิการดังกล่าวได้ 2 ครั้ง ใน 1 ปี และสามารถปรับขึ้นเบิกได้ 2 ครั้งใน 1 ปี ที่ส าคัญปัจจุบัน ได้ปลักดันให้กับผู้พิการเข้า มาเป็นสมาชิกด้วย 2. คณะท างานเกิดการพัฒนาตนเองในการขับเคลื่อนงาน เช่น สามารถเป็นวิทยากร กระบวนการ จัดเวทีสร้างการเรียนรู้เรื่องครอบครัวได้ 2.1 คณะท างานทุกคนสามารถเป็นวิทยากรกระบวนการได้ และเป็นพี่เลี้ยงในการ เข้ากลุ่มของผู้เข้ารับการอบรมได้ เช่น - กิจกรรมอบรมเยาวชนก่อนแต่งงาน - กิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์ - กิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาศักยภาพสตรี - กิจกรรมเวทีเด็กและเยาวชนสร้างสรรค์สังคม ระดับต าบล - กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมส าหรับเยาวชน 2.2 คณะท างานสามารถเป็นวิทยากรบางรายวิชาได้ เช่น - ให้ความรู้เรื่องการใช้ชีวิตร่วมกันกับครอบครัวใหม่ - ให้ความรู้เรื่องการสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวตามทัศนคติของอิสลาม - ความส าคัญของครอบครัวในสังคมปัจจุบัน - ให้ความรู้เรื่องทักษะชีวิต - ยาเสพติดกับการแก้ไขปัญหาในครอบครัว 3.การขับเคลื่อนโครงการและสามารถสร้างการเรียนรู้ และเปลี่ยนแปลงกับครอบครัวที่ ดีขึ้น


27 3.1 คณะท างานได้ขับเคลื่อนผลักดันในการจัดตั้ง”กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนต าบลปะลุกาสาเมาะ” มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือครอบครัวยากจนที่แบก ภาระในการดูแลผู้สูงอายุ ให้ไปในทางที่ดีขึ้น โดยมีสวัสดิการให้กับสมาชิกดังนี้ - กรณีเสียชีวิต รับค่าจัดการศพ 13,000 บาท - กรณีพักรักษาตัวในโรงพยาบาล รับค่าสวัสดิการ จ่ายเป็นครั้งละ 500 บาท ปี หนึ่งไม่เกิน 3 ครั้ง ถือเป็นปฏิทินเป็นหลัก - สวัสดิการอื่น ๆ ตามสมควรและความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ปัจจุบันคณะ กรรมการฯ ได้มีมติที่ประชุมให้รับเพิ่มผู้พิการเข้ามาเป็นสมาชิกสมทบด้วย วิธีกำรที่ท ำให้กำรด ำเนินงำนประสบควำมส ำเร็จ การประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ ความร่วมมือของประชาชน และสามารถสร้าง ความสามัคคี ความตั้งใจของคณะท างานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน งานถึงประสบ ความส าเร็จ ปัจจัยส ำคัญที่ท ำให้เกิดผลส ำเร็จในกำรด ำเนินงำน คือ - ข้อมูลผู้ด้อยโอกาสและประชากรในพื้นที่ - การประชุมวางแผน หาแนวทางแก้ไขของคณะท างาน - ศักยภาพและความสามารถของคณะท างาน - งบประมาณแหล่งสนับสนุนงบประมาณ - ความร่วมมือของเครือข่ายชุมชน ตำรำงที่ 2.3 รำยชื่อคณะท ำงำนศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนปะลุกำสำเมำะ ล ำดับ ที่ ชื่อ – นำมสกุล สถำนะทำงสังคม ต ำแหน่ง 1. นายโซฟ มะลีแว ประธานศูนย์ ประธานสภา 2. นายนาซอรี ปูโปะ รองประธานศูนย์ สมาชิก อบต. 3. นายซีมูเลาะห์ อุแว เลขานุการ เลขานายก 4. น.ส.พอตีเมาะ สาและ เหรัญญิก ตัวแทนกลุ่มสตรี


28 5. นายสะแปอิง โต๊ะแซ ผู้ช่วยเหรัญญิก สมาชิก อบต 6. นายตอยิบ พูลา ประชาสัมพันธ์ ตัวแทนผู้ศาสนา 7. นายอับดุลเลาะ กาแมแล ผู้ช่วยประสานงาน ตัวแทน อสม. 8. นายปิ่น น้อยเงิน ประสานงาน สมาชิก อบต. 9. นายอาหามะ กาเจ นายทะเบียน สมาชิก อบต. 10. นางเมทินี สนิ ผู้ช่วยนายทะเบียน สมาชิก อบต. 11. นายอับดุลเลาะ บูละ ด้านกิจกรรม สมาชิก อบต. 12. นางซาอีเราะห์ ดีเยาะ ผู้ช่วยด้านกิจกรรม ตัวแทนกลุ่มสตรี 13. นายอาแซร์ รีเม็ง ผู้ช่วยด้านกิจกรรม สมาชิก อบต. 14. นายอาหามะลาวี ดือเระ ด้านกีฬาและ นันทนาการ สมาชิก อบต. 15. นางมาซือนะห์ รีเด็ง ผู้ช่วยด้านกีฬาและ นันทนาการ ตัวแทนกลุ่มสตรี ตำรำงที่ 2.4 รูปแบบกำรประชำสัมพันธ์ศูนย์พัฒนำครอบครัวในชุมชนปะลุกำสำเมำะ ช่องทำงกำรประชำสัมพันธ์ ในพื้นที่มีช่องทำงนี่ หรือไม่ ศพค.ใช้ช่องทำงนี้หรือไม่ มี ไม่มี ใช้ ไม่ได้ใช้ 1.หอกระจ่ายข่าวเสียงตามสาย มี ใช้ 2.วิทยุชุมชน ไม่มี 3.รถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ ไม่มี 4.โทรทั้ศน์/เคเบิลท้องถิ่น ไม่มี 5.ป้ายประชาสัมพันธ์/โปสเตอร์/บอร์ด นิทรรศการ มี ใช้ 6.แผ่นพับ/ใบปลิว มี 7.หนังสือราชการ มี ใช้ 8.วารสาร/จุลสาร มี ใช้ 9.หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ไม่มี


29 10.เว็บไซต์ ไม่มี 11.บุคคล (ปากต่อปาก) มี ใช้


ตำรำงที่ กำรสร้ำงเครือข่ำยเฝ้ำระวังก ล ำดับ ที่ พื้นที่ ดูแล หมู่ที่ ชื่อ – สกุล เป็นเครือข่ำย องค์กร 1. ม.2 นายอับดุลเลาะ กาแมแล ศพค./อสม 2. นายอับดุลเลาะ บูละ ศพค./อบต 3. ม.3 นายอาเซ รีเมง ศพค./กษ.อ./ อบต. 4. ม.4 นายปิ่น น้อยเงิน ศพค./อบต 5. นางซาอีเราะ ดีเยาะ ศพค./อบต /สตรี/อสม.


30 2.5 ำรแก้ไขปัญหำครอบครัว จ ำน วน สมำ ชิก เครือ ข่ำย จ ำนวน เป้ำหมำยที่ดูแล ภำรกิจที่มอบหมำย เพื่อเฝ้ำระวังแก้ไข ปัญหำครอบครัว ผลกำรด ำเนินงำน ครอ บครั ว คน 918 224 921 แผนปฏิบัติงาน ศพค. 1.การส ารวจความ ต้องการ ในการจัด กิจกรรมของ ศพค. 2.ประชาสัมพันธ์ใน การจัดกิจกรรม 1.ศพค.มีการจัด กิจกรรมตรงกับ ความต้องการของคน ส่วนใหญ่ในชุมชน 2.มีทีมงาน รับผิดชอบแต่ละ หน้าที่ในการ 556 140 564 824 271 806


6. ม.5 นายอาหามะ กาเจ ศพค./อบต 7. นายซีมูเลาะ อุแม ศพค./อบต ศยช.ต. 8. ม.6 นายอาหะมะลาวี ดือเระ ศพค./อบต 9. ม.7 นางมาซือนะห์ รีเด็ง ศพค./อสม. 10. ม.8 นายนาซอรี ปูโปะ ศพค./อบต./ กษ.อ. 11. นายตอเย็บ พูลา ศพค./อสม./ผู้น า ศาสนา 12. ม.9 นายมะสะแปอิง โตะแซ ศพค./อบต 13. ม.10 นางสาวพอดีเมาะ สาและ ศพค./ประธาน สตรีต าบล 14. ม.11 นายโซฟ มะลีแว ศพค./อบต./อสม. 15. นางเมทนี สนิ ศพค./อบต./สตรี


31 994 233 998 3.การลงพื้นที่เยี่ยม ครอบครัว 4.การท าจดหมาย ข่าว ศพค ด าเนินงาน ศพค. อย่างชัดเจน เช่นการ ท าสื่อประชาสัมพันธ์ การสร้างสรรค์ รูปแบบของกิจกรรม 3.มีข้อมูลครอบครัว ของต าบลที่ชัดเจน 4.ศพค.มีเครือข่ายใน การท างาน 348 159 343 792 163 792 1,24 9 263 1,226 656 160 672 701 167 711


ตำรำงที่ กำรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมควำมเข็ ล า ดับ ที่ ชื่อ โครงการ/ กิจกรรม วัตถุ ประสงค์ รูปแบบ กิจกรรม วัน เดือน ปี ที่จัด กิจกรรม สถานท กิจกร 1. กิจกรรม กอง ทุน สวัสดิการ ผู้สูงอายุ เพื่อเป็น การ ช่วยเหลือ แบ่งเบา ภาระ ให้กับ ครอบครัว กรณีได้รับ สวัสดิการ 1.นอนพัก รักษาตัวเกิน 24 ชั่วโมง 2.เสียชีวิต 1 ก.พ.56 อบต.ป กาสาเ


32 2.6 ข็มแข็งของสถำบันครอบครัว ที่จัด รรม ประเภท ของกลุ่ม เป่าหมาย จ านวนเป้าหมาย การใช้ งบประมาณ แหล่งที่ มาของ งบ ประมาณ ที่ตั้งไว้ (ครอบ ครัว/ คน) ที่เข้าร่วม กิจกรรม (ครอบครัว /คน) จ านวน ไม่ใช้ ปะลุ มาะ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้น ไป 927 คน 854 คน ปัจจุบัน มีเงิน สะสม 31,725. 72 บาท ⁄ จัดเก็บ เงิน บริจาค จาก สมาชิก


และ ผู้สูงอายุ 3.อื่นๆ ตามที่ คณะกรรมการ เห็นสมควร 2. ส ารวจ ข้อมูล สถานการณ์ ความ รุนแรงต่อ เด็กและ สตรีและ ครอบครัว เพื่อหา ข้อมูล สถานการณ์ ความ รุนแรงต่อ เด็กสตรี และ ครอบครัว ส ารวจข้อมูล จัดเวที แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น เพื่อก าหนด แผนต่อไป 1 เม.ย.- 30 มิ.ย.58 อบต.ป กาสาเ 3. เยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุ เพื่อเป็น ก าลังใจ และ พบปะ ผู้สูงอายุ 1.เยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุและ พบปะให้ ก าลังใจ 16 เม.ย. 58 บ้าน ผู้สูงอา


33 ปะลุ มาะ ทั่วไป 380 ครอบครัว 380 ครอบครัว 30,000 บาท ายุ ผู้สูงอายุ เกิน 100 ปี 10 ครอบครัว 10 ครอบครัว 1,000 บาท ศพค.


2.มอบกล่อง ยังชีพ -ยาสามัญ ประจ าบ้าน -เครื่องดื่ม -ผ้าถุง เสื้อผ้า/ หมวก/กะปิ เยาะ/ 4. สนับสนุน ส่งเสริม อาชีพ เพื่อเป็น การ ช่วยเหลือ แบ่งเบา ภาระ ให้กับ ครอบครัว จัดซื้อว้สดุ/ อุปกรณ์ เครื่องครัว 16 ม.ย.58 กลุ่มอา บ้านมา


34 าชัพ าแฮ ทั่วไป 25 ครอบครัว 25,000 บาท อบต.ปะ ลุกาสา เมาะ


ที่ประสบ ความ เดือดร้อน 5. มอบผ้าถุง ผ้าโสร่ง ให้กับ ผู้สูงอายุ สร้างขวัญ และ ก าลังใจให้ ผู้สูงอายุ มอบผ้าถุง ผ้า โสร่งให้กับ ผู้สูงอายุ 9 มิ.ย.58 อบต.ป กาสาเ 6. การอบรม คุณธรรม จริยธรรม ผู้สูงอายุ เป็นการ เพิ่ม ความรู้ ตามหลัก ศาสนาใน การ อบรมให้ ความรู้/ กิจกรรม 9-15 ก.ค. 58 อบต.ป กาสาเ


35 ปะลุ มาะ ผู้สูงอายุ 900 คน 760 คน 200,000 บาท อบต.ปะ ลุกาสา เมาะ ปะลุ มาะ ผู้สูงอายุ 600 คน 450 คน 20,000 อบต.ปะ ลุกาสา เมาะ


ตำรำงที่ กำรประชำสัมพันธ์ข้อมูลข ด ารงชีวิต ประจ าวัน


36 2.7 ข่ำวสำรด้ำนครอบครัว


ล ำดับที่ กิจกรรม/โครงกำร ที่ประชำสัมพันธ์ ช่องทำงที่ประชำสัมพันธ์ ช่วงว ปร 1. กองทุนสวัสดิการ ผู้สูงอายุ 1.ป้ายประชาสัมพันธ์ ทุกวันที 2.ปากต่อปาก (ผ่านทาง หัวหน้าเครือข่าย) ตลอด 3.ผ่านสมาชิก อบต. ตลอด 2. อบรมเพิ่มทักษะ และพัฒนาศักยภาพ ของผู้น าชุมชน 1.ป้ายประชาสัมพันธ์ 1-9 เม. 2.ปากต่อปากผ่านทาง หัวหน้าเครือข่าย 1-9 เม. 3.ผ่านสมาชิก อบต. 1-9 เม. 3. เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ 1.ป้ายประชาสัมพันธ์ 1-19 เม


37 วันเวลำในกำร ระชำสัมพันธ์ ร้อยละกำรเข้ำถึง ช่องทำงประชำสัมพันธ์ ร้อยละควำมเข้ำใจในกำร ประชำสัมพันธ์ โดยรวม ของ ศพค. ที่ 5 ของเดือน 80 90 80 80 .ย.58 75 95 .ย.58 90 .ย.58 90 ม.ย.58 85 90


Click to View FlipBook Version