The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TPSO 11, 2020-08-24 13:50:19

รวมเล่ม(resize)

รวมเล่ม(resize)

การศึกษาวิจัยโครงการศึกษาความพรอมดานความรูและผลกระทบที่ชุมชนทองถิ่น
ไดรับกบั การเขา สูประชาคมอาเซียน : กรณศี ึกษา 15 พ้นื ท่ีตำบลตน แบบการพัฒนาสังคมและ
สวัสดิการสังคม ประจำป 2555 ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานสงเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 12 จังหวัดสงขลา เปนการศึกษาการรับรู และความเขาใจของชุมชนทองถิ่น
ความคิดเห็นตอผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในการเขาสูประชาคมอาเซียน
รวมทั้งแนวทางในการเตรียมความพรอมของชุมชนเพื่อการพัฒนา ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
และแนวทางการสงเสริมความรูและความพรอมของชมุ ชน

การดำเนนิ การวิจยั ในคร้ังน้ี สำเร็จลุลวงไดด วยความอนเุ คราะหแ ละความรวมมือจาก
หลายฝาย คณะผวู จิ ยั ขอขอบคณุ คณะทำงานขับเคล่อื นการพัฒนาตำบลเชงิ บูรณาการ (ทีม C)
และแกนนำท่ีเก่ียวขอ งในพ้นื ท่ดี ำเนินโครงการตำบลตนแบบดานการพฒั นาสงั คมและสวสั ดิการ
สังคมในการใหขอคิดเห็นและใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการทำวิจัยโดยเฉพาะอยางยิ่งขอ
ขอบคุณดร.ไพรชั บวรสมพงษ อาจารยจากคณะสงั คมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ
ทใ่ี หการสนบั สนุนเปนทีป่ รึกษาโครงการ ใหคำแนะนำทำใหก ารศึกษาวิจยั ครง้ั นบ้ี รรลเุ ปา หมาย
และวตั ถปุ ระสงคของโครงการ

คณะผวู จิ ัยหวังเปน อยางย่ิงวารายงานการวิจัยฉบับนี้ จะเปน ประโยชนก บั ผทู ่เี กย่ี วขอ ง
และบุคคลที่สนใจในดานการรับรูและผลกระทบที่ชุมชนทองถิ่นไดรับกับการเขาสูประชาคม
อาเซียน เพอ่ื เปนแนวทางในการในการเตรยี มความพรอ มในการเขา สูประชาคมอาเซยี น หากมี
ขอผิดพลาดประการใดคณะผจู ดั ทำขอรบั ไวเ พื่อการปรบั ปรุงแกไ ขตอ ไป

สำนักงานสงเสรมิ และสนบั สุนนวิชาการ 12 จังหวดั สงขลา

¡

โครงการศกึ ษา “ความพรอ มดา นความรูและผลกระทบที่ชุมชนทอ งถ่ินที่รับกับการเขา สูประชาคม
อาเซียน” เปนการศกึ ษาเชิงผสานวธิ ี (Mixed-Methodology) โดยศึกษาทงั้ เชิงปรมิ าณและคุณภาพ เนน การ
มสี ว นรวมทุกภาคสว นในชมุ ชนเพื่อการเสริมสรางความมน่ั คงของมนษุ ยแ ละการพฒั นาสังคม โดยการศกึ ษา
ความพรอมดานความรู ความคดิ เห็นเกี่ยวกับผลกระทบท่ชี มุ ชนทองถน่ิ ไดรบั กับการเขา สูประชาคมอาเซียน
โดยมุงเนนเสาหลักดานสังคมและวัฒนธรรมเพื่อเปนแนวทางการเตรียมความพรอมชุมชนในการเขาสู
ประชาคมอาเซียน

พื้นที่การวิจัยดำเนินการในพน้ื ที่ตำบลตนแบบปงบประมาณ 2555 ในพน้ื ทีร่ บั ผดิ ชอบของสำนักงาน
สงเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 12 จงั หวัดสงขลา ไดแก จงั หวัดสงขลา จังหวดั สตูล จงั หวดั ยะลา จังหวดั
ปต ตานีและจงั หวัดนราธิวาส กลุม ตัวอยางในการเก็บขอ มลู ไดแก คณะทำงานขับเคลอื่ นการพัฒนาตำบล
เชงิ บูรณาการ (ทีม C) และแกนนำท่ีเกย่ี วขอ งในพนื้ ทีด่ ำเนินโครงการตำบลตน แบบดานการพฒั นาสงั คม
และสวัสดิการสังคม จงั หวัดละ 3 ตำบล ตำบลละ 20 คน รวม 300 คน การศึกษาเชงิ ปรมิ าณใชแ บบ
สอบถามเปนเครอื่ งมือในการจดั เก็บขอมลู สว นการศกึ ษาเชงิ คุณภาพใชว ิธสี นทนากลุม (Focus Group)
ในการจดั เกบ็ ขอ มลู การวิเคราะหขอ มูลเชิงปรมิ าณใชสถติ ิพรรณนา (Descriptive Statistics) ไดแก คาเฉล่ีย
คารอ ยละและสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน สว นการวเิ คราะหขอ มลู เชงิ คุณภาพใชการวเิ คราะหเ ชิงเน้อื หา

ขอบเขตเนอ้ื หาของการวิจัย ประกอบดว ย
1. ศึกษาขอ มลู พน้ื ฐานของตำบล
2. การรบั รแู ละความรแู ละความเขา ใจของผูนำชมุ ชนในการเขาสปู ระชาคมอาเซียน
3. ความคิดเหน็ ตอ ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงที่จะเกดิ ข้ึน
4. ความพรอ มของชุมชนในการเขา สูประชาคมอาเซยี น
5. แนวทางการสงเสรมิ ความรูแ ละเตรยี มความพรอ มของชมุ ชนทองถิน่
ขอคน พบของการศึกษา คอื
ขอ มลู พืน้ ฐาน
กลุม ตัวอยา งทศี่ กึ ษาสว นใหญเปน เพศชาย คิดเปนรอยละ 64.33 เมื่อจำแนกอายุตามชว งช้นั กลมุ
อายุที่มีจำนวนมากท่ีสุด คือ มอี ายตุ ้ังแต 45 ปข้นึ ไป คดิ เปนรอ ยละ 48.66 สถานภาพของกลมุ ตวั อยางที่
ตอบแบบสอบถามสวนใหญมีสถานภาพสมรส คดิ เปน รอ ยละ 77.00 ดา นอาชพี หลกั ของกลมุ ตัวอยา งที่ตอบ
แบบสอบถามสวนใหญป ระกอบอาชพี รบั ราชการหรอื รัฐวสิ าหกิจ คดิ เปนรอ ยละ 62.00 รายไดเฉล่ยี ของกลุม
ตัวอยา งที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญม ีรายไดเ ฉลย่ี ระหวา ง 5,001-10,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอ ยละ 29.67
ดานการศึกษาระดับการศึกษาของกลุมตวั อยางทตี่ อบแบบสอบถามสว นใหญส ำเรจ็ การศกึ ษาระดับปริญญาตรี
หรอื เทียบเทา คิดเปนรอ ยละ 36.00 ตำแหนง/บทบาทหนา ทใี่ นการพัฒนาชมุ ชนของกลุม ตวั อยา งทต่ี อบ
แบบสอบถามสวนใหญเ ปน ผูแ ทนองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ สมาชิก อบต./ เทศบาล คดิ เปน รอ ยละ 27.33
ระยะเวลาในการทำงานดา นการพฒั นาชมุ ชนของกลมุ ตวั อยา งท่ตี อบแบบสอบถามสวนใหญ มีประสบการณ
การทำงานดา นการพัฒนาชุมชนมากกวา 5 ป คดิ เปนรอ ยละ 41.67

¢

การรับรู ความรูและความเขา ใจเกี่ยวกบั การเขา สูประชาคมอาเซียน
การศกึ ษาความรแู ละความเขาใจเกย่ี วกับการเขาสูประชาคมอาเซยี น แบงออกเปน 3 ดา น คอื ดาน
ขอตกลงพ้ืนฐาน ดา นวตั ถุประสงคอาเซียนและจุดหมายรว ม และดา นแนวทางการพัฒนาประชาคมอาเซยี น
1. ดา นขอ ตกลงพ้ืนฐาน

ในภาพรวมกลุมตัวอยางสวนใหญ คิดเปนรอยละ 67.00 มีการรับรูเกี่ยวกับการเขาสูประชาคม
อาเซียน โดยประเด็นที่กลุมตัวอยางมีการรับทราบมากที่สุด คือ จำนวนประเทศสมาชิกในประชาคม
อาเซียนมี 10 ประเทศ รองลงมา คอื ภายใตก ฎบตั รอาเซียนไดกำหนดใหม ีการกา วสูประชาคมอาเซียน
ในป พ.ศ. 2558 และประชาคมอาเซียนกำหนดใหภาษาองั กฤษเปน ภาษาการทำงานของอาเซยี น ตามลำดับ

2. ดา นวตั ถุประสงคอาเซียนและจุดหมายรว ม
ในภาพรวมกลมุ ตวั อยางสว นใหญ คิดเปนรอ ยละ 70.50 มกี ารรับรูเกี่ยวกับการเขาสูประชาคม

อาเซียน โดยประเดน็ ท่ีกลมุ ตวั อยา งมีการรบั ทราบมากท่สี ุด คือ การกอ ต้งั ประชาคมอาเซยี นและการรวมตัว
กันของประเทศตางๆ เพอ่ื ใหเกิดความรวมมือและความชว ยเหลอื ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี
และการบริหาร สงเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค และสงเสริมความรวมมือระหวางอาเซียน
กบั ตา งประเทศและองคกรระหวา งประเทศ รองลงมา คือ จดุ มุงหมายของประชาคมอาเซยี นตองการสงเสริม
การเรียนรทู างวัฒนธรรมรวมกัน การเคารพในวฒั นธรรมและความหลากหลาย และจุดมงุ หมายของการจัด
ตั้งประชาคมอาเซียนตอ งการทำใหภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตอ ยรู วมกันในสังคมท่เี ออื้ อาทร ประชากร
มสี ภาพความเปนอยทู ่ีดี ไดร บั การพฒั นาในทกุ ดานและมคี วามมนั่ คงทางสงั คม ตามลำดับ

3. ดานแนวทางการพฒั นาประชาคมอาเซยี น
ในภาพรวมกลมุ ตัวอยา งสว นใหญ คิดเปน รอยละ 59.42 มีการรับรูเกยี่ วกบั การเขาสูประชาคม

อาเซียน โดยประเด็นท่ีกลมุ ตวั อยางมีการรับทราบมากทสี่ ดุ คือ การรวมตัวกันของกลุมประเทศอาเซยี นมี
จดุ มุงหมายเพ่ือสงเสรมิ การพฒั นาสงั คม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย รองลงมา คอื การรวมตัวกนั ของกลุม
ประเทศอาเซียนเนนสรา งการไหลเวยี นของสนิ คา การบรกิ าร การลงทุน ลดปญ หาความยากจนและความ
เหลอื่ มล้ำทางสังคม และการรวมตวั กนั ของกลมุ ประเทศอาเซยี นเปน การสง เสรมิ การเคารพอัตลกั ษณทาง
วฒั นธรรมความแตกตางของแตละประเทศ ตามลำดับ

ความคดิ เห็นตอ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงทจ่ี ะเกิดขนึ้ จากการเขา สูป ระชาคมอาเซยี น
1. ดา นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

กลุมตัวอยา งมคี วามคิดเหน็ ตอ ผลกระทบในการเขาสปู ระชาคมอาเซียน โดยจากระดบั คะแนน
ความคิดเห็นระหวา ง 1-5 คะแนน ในภาพรวมกลุมตัวอยา งสว นใหญ พบวา กลุมตัวอยางมคี ะแนนเฉลี่ย
ของความคิดเหน็ อยใู นระดบั ปานกลาง คิดเปน รอยละ 41.59 รองลงอยูในระดบั มาก คิดเปนรอยละ 34.75
และอยูในระดบั นอ ย คิดเปน รอ ยละ 13.13 ตามลำดับ ซง่ึ ประเดน็ ที่กลมุ ตวั อยางมคี วามคดิ เห็นตอผลกระทบ
มากท่ีสุด คือ การเขารวมประชาคมอาเซยี นชวยสงเสริมใหเกิดการเรยี นรทู างเทคโนโลยแี ละการแลกเปล่ียน
ทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย คิดเปน รอยละ 12.00 รองลงมา คอื การเขา รวมประชาคมอาเซยี นชวยสง เสริม
ทัศนคตใิ หเ กดิ ความเขา ใจและความสัมพันธอ ันดีกับประเทศเพือ่ นบาน คิดเปนรอ ยละ 9.67 และการเขา รวม

¤

ประชาคมอาเซียนชวยสงเสริมใหเกิดวิธกี าร/ แนวทางการจัดการปญ หาชายแดนรว มกับประเทศเพอื่ นบา น
คดิ เปน รอ ยละ 9.34 ตามลำดับ

2. ดา นสวัสดิการชมุ ชนและความม่นั คงทางสงั คม
กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอผลกระทบในการเขาสูประชาคมอาเซียน โดยจากระดับคะแนน

ความคดิ เหน็ ระหวาง 1-5 คะแนน ในภาพรวมกลุม ตวั อยางสว นใหญ พบวา กลุมตวั อยางมคี ะแนนเฉล่ีย
ของความคดิ เห็นอยูใ นระดบั ปานกลาง คดิ เปนรอยละ 43.96 รองลงอยูในระดับมาก คิดเปนรอ ยละ 32.95
และอยใู นระดับนอย คิดเปน รอ ยละ 13.77 ตามลำดบั ซ่ึงประเดน็ ทก่ี ลมุ ตัวอยางมีความคดิ เห็นตอผลกระทบ
มากท่ีสุด คอื การเขา รว มประชาคมอาเซยี นจะชวยขยายโอกาสทางการศกึ ษา คดิ เปนรอ ยละ 13.34 รอง
ลงมา คอื การเขา รวมประชาคมอาเซียนจะชวยพัฒนาความรแู ละทกั ษะฝมือของแรงงาน คิดเปนรอ ยละ 10.67
และการเขารวมประชาคมอาเซยี นจะนำไปสูการแกไขปญหาสังคมที่ยากและสลับซบั ซอน เชน ปญ หายาเสพตดิ
ปญ หาบุคคลไรร ัฐไรสัญชาตแิ ละผูมปี ญหาสถานะบุคคลภายใตความรวมมือระหวางประเทศ คิดเปน รอ ยละ 8.66
ตามลำดบั

แนวทางการเตรียมความพรอ มของชมุ ชน
1. การเตรียมความพรอมดา นความรูแ ละการสรา งความเขา ใจ

กลุมตัวอยางสวนใหญ คิดเปนรอยละ 28.10 มีการเตรียมความพรอมของชุมชนในการเขาสู
ประชาคมอาเซียนในพ้นื ที่ ประเดน็ ทม่ี ีการเตรยี มพรอ มมากท่ีสุด คอื การใหค วามรู สรางความเขาใจแก
สมาชกิ ชุมชนเพอื่ เตรียมความพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซียน (เชน เสียงตามสาย วทิ ยชุ มุ ชน ประชุม)
รองลงมา คือ ชมุ ชนของทานมกี ารเตรียมความพรอม (การประชมุ หารอื การวางแผนรวมกัน) เกี่ยวกบั การ
เขา สปู ระชาคมอาเซยี น และมีการเตรียมความพรอ มดานความรู การแลกเปลี่ยนเรยี นรแู ละสรางความเขา ใจ
รวมกันภายในชมุ ชนเกี่ยวกับผลกระทบท่จี ะเกิดขนึ้ จากการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น ตามลำดับ

2. การเตรียมความพรอ มดานการเรียนรแู ละพฒั นาศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย
กลุมตัวอยางสวนใหญ คิดเปนรอยละ 21.41 มีการเตรียมความพรอมของชุมชนในการเขาสู

ประชาคมอาเซียนในพ้ืนที่ ประเด็นทีช่ มุ ชนมกี ารเตรียมความพรอ มมากท่ีสดุ คือ ชมุ ชนของทา นมีการ
สำรวจความตองการและขอ มลู ชุมชน (ทนุ ทางสงั คมของชุมชน) เพือ่ ประกอบการวางแผนพฒั นาชมุ ชน
สำหรับการเขาสปู ระชาคมอาเซียน รองลงมา คือ ชุมชนของทา นมกี ารวิเคราะหแ ละจัดทำแผนพัฒนาแผน
แมบ ทชมุ ชน หรือจดั ทำแผนรองรบั การเปลยี่ นแปลงท่จี ะเกิดข้นึ จากการเขา รว มเปนสมาชิกประชาคมอาเซยี น
และมกี ารเช่อื มโยงบูรณาการชมุ ชน ทอ งถ่ินและภาครฐั ในการจัดระบบสวัสดิการชุมชนเพอื่ รองรับการเขาสู
ประชาคมอาเซยี น ตามลำดับ

3. การเตรียมความพรอ มดานการจดั การขอมลู และการวางแผนชมุ ชน
กลุมตัวอยางสว นใหญ คดิ เปน รอยละ 25.16 มีการเตรยี มความพรอ มของชมุ ชนในการเขาสู

ประชาคมอาเซยี นในพื้นท่ี ประเด็นทชี่ มุ ชนมกี ารเตรียมความพรอ มมากทีส่ ุด คือ มกี ารพัฒนาอาสาสมัคร
ชมุ ชนเพ่ือการพัฒนาชุมชนในการเขา สูประชาคมอาเซยี น รองลงมา คอื มีการสงเสรมิ การเรยี นรดู า นคุณคา

§

และความหลายหลากทางวัฒนธรรมและชาติพนั ธุ และมีการสง เสรมิ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การ
เรียนรูและการพัฒนาในการเขา สูประชาคมอาเซยี น ตามลำดับ

4. การเตรียมความพรอ มดานการจดั การชุมชน
กลุมตัวอยางสวนใหญ คิดเปนรอยละ 34.72 มีการเตรียมความพรอมของชุมชนในการเขาสู

ประชาคมอาเซยี นในพื้นท่ี ประเดน็ ที่ชุมชนมกี ารเตรียมความพรอมมากทส่ี ุด คอื การกำหนดแนวทางการ
จดั การสง เสริมดูแลคณุ ภาพชวี ติ ผสู งู อายุ รองลงมา คือ มีการกำหนดแนวทางมาตรการในการแกไขปญหา
ยาเสพติดในชุมชนทง้ั ในดานการปอ งกัน การฟนฟทู างสังคมสำหรบั ผเู สพยาใหค นื สูสังคม และมกี ารดำเนนิ
การสงเสรมิ และคุมครองสวสั ดภิ าพสำหรับเดก็ สตรี ผสู งู อายุ คนพกิ ารและผดู อ ยโอกาส ตามลำดับ

5. การสนับสนุนความพรอมของชุมชนจากหนว ยงานภายนอก
กลุมตัวอยางสวนใหญ คิดเปนรอยละ 25.42 มีการเตรียมความพรอมของชุมชนในการเขาสู

ประชาคมอาเซยี นในพ้นื ที่ ประเด็นที่ชมุ ชนมีการเตรียมความพรอ มมากที่สดุ คอื ชุมชนของทา นมกี ารสรา ง
ความรวมมือเพอื่ การเรยี นรูของชมุ ชนรว มกบั ชุมชนอื่น รองลงมา คือ หนว ยงานภายนอกมาใหค วามรูแ ละ
สรา งเขา ใจใหกับชุมชนเกี่ยวกบั การเขา สูประชาคมอาเซียน และชมุ ชนของทา นมีการประสานความรวมมอื
กับหนว ยงานท่เี กีย่ วขอ งในการจดั ทำแผนงาน โครงการรองรบั การเขา สูประชาคมอาเซียน

การเตรียมความพรอมของชุมชนสูการเขาสูประชาคมอาเซียนมีความสำคัญและมีความจำเปนใน
ทุกเรอื่ ง ในอนาคตคนไทยจะไดรับประโยชนจ ากการรวมตวั เปนประชาคมอาเซียนมากนอ ยเพยี งใดขึน้ อยกู ับ
การเตรยี มความพรอ มของประชาชน ฉะนั้น การสรา งความต่นื ตัวและใหค วามรูกับประชาชนจึงเปนเรอื่ งที่
สำคัญเพื่อใหตระหนักถึงโอกาสและเสริมสรางความสามารถในการแขงขันซึ่งจะชวยใหคนไทยทุกคนไดรับ
ประโยชนอ ยา งเต็มที่ ตลอดจนการพฒั นาศักยภาพและความพรอ มของชุมชนในดานตา งๆ เพื่อพรอมรองรับ
กบั การเปล่ียนแปลงและสามารถแขงขนั กบั สมาชกิ ประชาคมอาเซียน หนว ยงานภาคเี ครือขา ยกม็ ีสว นสนับ
สนนุ ที่สำคญั ในการเตรียมความพรอ มของชมุ ชนในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น ไมวาจะเปน ทง้ั หนว ยงาน
ภาครัฐและเอกชนก็ตาม ในขณะเดียวกันก็ตองปองกันไมใหเกิดผลกระทบในทางลบแกภาคสวนตางๆ
ดังน้ัน เพือ่ ความพรอ มในการเขา สปู ระชาคมอาเซียนตอ งมกี ารเตรยี มความพรอ มในทกุ ภาคสวน ดังน้ี

1. การเตรยี มความพรอ มของภาครัฐ
ในฐานะที่ประเทศไทยเปนผูนำกอตั้งสมาคมอาเซียน มีศักยภาพในการเปนแกนนำในการสราง

ประชาคมอาเซียนใหเขมแขง็ ควรมงุ เนนในการสง เสริมเรอื่ งการศกึ ษา จัดกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิแหง ชาติ
เพื่อเปน แนวทางในการพฒั นาระบบคุณวฒุ ดิ า นวิชาชีพ สนบั สนุนการเตรยี มความพรอ มรองรบั ความมเี สรี
ดานแรงงาน ภายใตก รอบความรว มมือประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น และเรง เสริมสรางความรู ความเขา ใจ
ใหม ีการนำคุณวฒุ วิ ชิ าชีพไปใชอ ยา งเปน รปู ธรรม เพื่อใหแรงงานมสี มรรถนะและมีเสน ทางความกา วหนา
ในวิชาชีพที่ชัดเจนซึ่งนำไปประกอบการประเมินคาตอบแทนที่สอดคลองกับความรู ทักษะอาชีพและ
ประสบการณตามกลไกตลาด พรอ มทัง้ เตรยี มความพรอ มคนไทยในการรับประโยชนแ ละลดผลกระทบที่จะ
เขา มาพรอ มกับการเขา ออกของแรงงานอยา งเสรี สรา งโอกาสและเพ่มิ ขีดความสามารถของคนไทยในการ
ออกไปทำงานตา งประเทศ ยกระดบั ทกั ษะดานอาชีพและทกั ษะดานภาษาควบคกู บั การสรา งภูมิคุมกนั ทาง

¨

สงั คมจากผลกระทบของการเคล่ือนยายแรงงานไดอยางเสรี อีกท้ังเรง บรหิ ารจัดการแรงงานตา งดาวอยา งเปน
ระบบเพ่อื นำไปสูการกำหนดมาตรฐานการจางงาน การคมุ ครองแรงงานและการพัฒนาทักษะฝมอื ท่ีเหมาะสม
สอดคลอ งกบั ความตอ งการของตลาดแรงงาน นอกจากนยี้ ังมีบทบาทสำคัญทจี่ ะสงเสริมใหป ระชาคมดาน
อน่ื ๆ มคี วามเขมแข็ง เนอ่ื งจากการศกึ ษาเปน รากฐานของการพัฒนาในทกุ ๆ ดานและตอ งสง เสริมใหประเทศ
ไทยเปน ศูนยก ลางดา นอาเซียน ศนู ยการเรยี นรดู านศาสนาและวฒั นธรรม เพ่อี ขบั เคลื่อนประชาคมอาเซียน
ดวยการศกึ ษา การสรางความเขา ใจในเรอื่ งเกย่ี วกับเพ่ือนบานในกลุม ประเทศอาเซยี น ความแตกตา งทางดาน
ชาติพนั ธุ หลกั สิทธิมนษุ ยชน รวมทง้ั การเสรมิ สรา งความรคู วามเขาใจเก่ยี วกบั อาเซียนแกข า ราชการ พฒั นา
ทักษะการทำงาน ทกั ษะภาษาองั กฤษและภาษาเพอ่ื นบานใหแกข า ราชการเพอ่ื พรอมตอ การเขาสูประชาคม
อาเซยี น

2. การเตรียมตัวของผนู ำทอ งถ่ิน
ในการเตรียมความพรอมของผูนำชุมชนสิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การ ปรับตัวและการเตรียมความ

พรอมของชุมชนทองถ่ินในการกา วเขาสูประชาคมอาเซยี น เพราะ หากชมุ ชนทองถิน่ ไมมีมาตรการหรอื
แผนรองรับการกาวเขา สปู ระชาคมอาเซียน ก็จะเกิดความเสียเปรียบทางดา นการแขง ขนั การตลาด ตลอดจน
ทางดานภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ วัฒนธรรมทองถนิ่ ที่ถอื วา เปนสิง่ ทีอ่ ยคู กู บั สงั คมไทยมาอยา งยาวนาน และการ
สรางชุมชนเศรษฐกิจอาเซียนที่จำเปนตองมีผูนำชุมชนทองถิ่นที่มีวิสัยทัศนใหมีความสามารถในการบูรณา
การเชือ่ มโยงเศรษฐกจิ ของประชาคมอาเซยี นใหเขา กบั เศรษฐกจิ โลกได ซึง่ ตอ งมีกลไกและสถาบันการศกึ ษา
ตางๆ ในทองถ่นิ เอง ตอ งมกี ารสนบั สนุนในการประสานงานและการดำเนินการประชาสัมพนั ธแ ละให
ความรูเกย่ี วกับประชาคมอาเซยี น ผลดีและผลเสยี ท่ีจะเกดิ ขึ้นแกชมุ ชนทอ งถิ่นในอนาคต แกผ นู ำชุมชนและ
ประชาชนในทองถิ่นเพื่อเรียนรูและปรับตัวในการวางแผนชุมชนทองถิ่นเพื่อรองรับการกาวเขาสูประชาคม
อาเซยี น นอกจากนผี้ ูนำชุมชนตอ งมีความเขาใจใน 10 ประเด็น ทผ่ี นู ำทอ งถ่ินตอ งรเู พื่อกาวสูประชาคม
อาเซยี น ไดแก จำนวนประเทศสมาชิกอาเซยี น จุดเริ่มตนของอาเซยี น เสรภี าพทางเศรษฐกจิ ASEAN+6
คอื อะไร การปรบั ตัวของผูนำทองถ่ินในวนั น้ี การรกั ษาภมู ปิ ญ ญาและรากเหงา หรอื ความเปน ตวั ตนของ
ทอ งถิน่ ไทย การพัฒนาคนไทยใหส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาอาเซยี น การสรา งทอ งถน่ิ ใหเปน ชมุ ชนแหง
การเรยี นรู ทีส่ ำคญั ตอ งมีความใฝร ู หลกั การพฒั นาคุณภาพของทรพั ยากรมนษุ ยหรอื ทนุ มนษุ ย เพ่อื เปนแนว
ทางที่ชว ยใหผูน ำทองถิ่นอยรู อดและกา วไปขางหนาอยางยงั่ ยืน และการบรหิ ารความเส่ยี งโดยใชหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง แนวคิดทงั้ 10 ประเด็นน้ีจะเปน บนั ไดข้ันแรกของผนู ำชมุ ชนในการกาวสูป ระชาคมอาเซยี น
ถาผนู ำชมุ ชนสนใจหรือมกี ารเตรยี มพรอมที่ดถี ึงจะมอี ุปสรรคมาก แตถาผูนำมที ้งั สตปิ ญ ญาและความหวังดี
มีแรงบนั ดาลใจ รวมมือกนั ทำงานใกลช ิดกบั ประชาชนจะสามารถชว ยพฒั นาทอ งถิน่ ใหกา วไปสูอาเซียนได
อยา งเขมแข็ง

3. การเตรยี มความพรอ มของภาคประชาชน
ในการเตรยี มความพรอมของภาคประชาชนส่งิ ทสี่ ำคญั ที่สดุ คือ การใหค วามสำคัญกับการสราง

ความตระหนกั รแู ละเปดโอกาสใหประชาชนเขา มามีสว นรวมในกระบวนการสรา งประชาคมอาเซยี น โดยดำเนนิ
การในรูปแบบของกิจกรรมอาเซียนสัญจรเนนกลุมเปาหมายเด็กและเยาวชนและจังหวัดชายแดนเปนสำคัญ

©

เน่ืองจากเปนพืน้ ทีซ่ ึ่งไดร บั ผลกระทบโดยตรงและเปนจดุ ทีม่ กี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรกู ันมากทส่ี ุด พรอ มท้งั เปน
ดา นสำคญั ของปญ หาตางๆ ทจ่ี ะเขามาสปู ระเทศไทย ดงั น้นั การจัดทำส่อื เผยแพรป ระชาสมั พนั ธเ พือ่ สรา ง
ความตระหนักรูและเผยแพรความรูเกี่ยวกับอาเซียนแกสาธารณชนในการสนับสนุนการมีสวนรวมของภาค
ประชาสังคม เพือ่ สรา งความรสู กึ เปน เจาของอาเซยี นและการเปน พลเมอื งถอื เปนสิง่ สำคัญที่ทุกภาคสว นจะ
ตอ งเรง ดำเนินการใหแกป ระชาชน

4. การเตรียมตัวความพรอ มภาคเอกชนและแรงงาน
ในการเตรยี มความพรอมภาคเอกชนและแรงงาน เพอ่ื ใหภ าคเอกชนและแรงงานสามารถใชป ระโยชน

จากการเปน ประชาคมอาเซียนไดอ ยางเตม็ ที่ และสามารถแขงขนั กบั ประเทศสมาชกิ อาเซียน ควรใหความสำคญั
กับการเตรียมความพรอมในประเด็นการพัฒนาศักยภาพของภาคเอกชนและแรงงานไทยใหตอบสนองตอ
ความตอ งการและขดี ความสามารถในการแขงขนั ในตลาดอาเซียน โดยเฉพาะแรงงานทักษะไทยใน 7 สาขา
วิชาชพี ตามขอตกลง MRAs รวมท้งั แรงงานเชี่ยวชาญสาขาอ่นื ๆ จะตองเปนแรงงานทีม่ ีศกั ยภาพและเปน ท่ี
ตองการของตลาด การเตรียมความพรอมท่ีมีความสำคัญควบคกู นั คอื การเตรยี มความพรอมดา นภาษา
อังกฤษมีความจำเปนเรงดวนอยางยิ่ง เนื่องจากอาเซียนใชภาษาอังกฤษเปนภาษากลางในการสื่อสารและ
ติดตอประสานงาน การเตรยี มความพรอ มในดานความรคู วามเขา ใจและการใชก ฎหมายการคา การลงทนุ
และภาษีที่เกี่ยวของจึงมีความจำเปนเรงดวนในการสรางความตระหนักใหแกภาคเอกชนและแรงงานตอการ
เขา สูป ระชาคมอาเซียน

แนวทางการสงเสริมความรูและเตรยี มความพรอมของชุมชนทองถ่นิ
1. การกำหนดกจิ กรรมการเตรยี มความพรอ มของชมุ ชนควรมงุ เนนท่เี สรมิ สรา งการเรียนรูข องชุมชน
ทม่ี งุ สูความมนั่ คง ควรมกี ารจัดต้งั ศูนยก ารเรียนรูใ นชุมชนเพอ่ื สงเสรมิ ใหป ระชาชนมสี ว นรว มในกระบวน
การเรียนรูรว มกนั ตลอดจนการคนหาศกั ยภาพท่ีมีอยใู นชุมชนในการจดั การตนเองเพอื่ นำไปสูกระบวนการ
จัดทำแผนชุมชนเพื่อพรอมตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในปจจุบันเพื่อการปองกันและแกไขปญหาแบบ
บูรณาการระหวา งคนในชุมชน หนวยงานท่มี สี วนสำคัญในการขับเคล่ือน ไดแ ก องคก รปกครองสวนทองถิน่
และกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย
2. หนวยวิชาการดานการพัฒนาสังคมควรเรงสรางการเรียนรูและยกระดับคุณภาพการเรียนรูของ
ชุมชนใหเกิดการจัดการความรูและการเรียนรูดวยตนเองเพื่อใหเทาทันการเปลี่ยนแปลงผานกระบวนการ
แลกเปล่ยี นเรียนรทู ้ังในลักษณะการเรียนรูภ ายในชุมชนและภายนอกชมุ ชน หนว ยงานทีม่ สี ว นสำคญั ในการ
ขับเคลือ่ น ไดแก ศนู ยพ ฒั นาสงั คมและกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย
3. ออกแบบกิจกรรมเพ่ือเสรมิ สรา งการเรียนรขู องชุมชน ควรใหค วามสำคัญกับการพัฒนาและการ
ยกระดบั ทนุ ทางสงั คมเดิมท่มี อี ยูแ ละทุนทางสงั คมใหมๆ อาทิ การรวมกลุม ทางสังคม สวัสดกิ ารชุมชน/
สวสั ดกิ ารพืน้ บา นโดยการพฒั นาซง่ึ นำหลักของภูมิปญ ญาทองถ่นิ ท่ีมีอยเู ดมิ มาพฒั นาควบคกู บั การ เปลย่ี น
แปลงทางสงั คม เนนการพฒั นาทีย่ งั อนรุ กั ษของเดมิ ไวไ มใหเลอื่ นหาย รวมทัง้ การพฒั นาตอยอดเพอื่ ความ
เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และการเปลี่ยนแปลง หนวยงานที่มีสวนสำคัญในการขับเคลื่อน ไดแก
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยแ ละองคกรปกครองสวนทองถนิ่

ª

4. ควรมีมาตรการที่ชัดเจนที่มุงเนนสงเสริมใหชุมชนเกิดศักยภาพในการจัดสวัสดิการเพื่อรองรับ
แนวทางการพัฒนาสูสังคมสวัสดิการในลักษณะชุมชนจัดการตนเองโดยการสำรวจสภาพปญหาของชุมชน
ความตอ งการของกลุมเปา หมายเพอ่ื การกำหนดรูปแบบสวัสดิการท่มี ีความครอบคลมุ และตรงกับความ ตอง
การของกลุม เปาหมายเหมาะสมในแตบรบิ ทของพ้ืนที่ สรา งจิตสำนกึ ในการชวยเหลือซ่ึงกันและกันของคน
ในชุมชนเนนการชวยเหลอื มากกวา ผลกำไร หนว ยงานท่มี ีสวนสำคญั ในการขับเคลอ่ื น ไดแ ก กระทรวงการ
พฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยแ ละองคกรปกครองสวนทองถน่ิ

5. ออกแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสรางกระบวนการมีสวนรวมทุกภาคสวนในชุมชน โดยการเปด
เวทที ่ี มกี ารแสดงความคดิ เห็นอยา งเสมอภาคเพือ่ สรางจิตสำนึกของการเปนเจาของชมุ ชนรวมกนั รวมกำหนด
กิจกรรม รว มกนั ดำเนนิ กิจกรรม รว มกันประมวลผลของกจิ กรรมท่เี กดิ ข้ึนถึงผลดีผลเสยี นำไปสูการปรับปรุง
และการพัฒนาตอยอด หนวยงานที่มีสวนสนับสนุนการขับเคลื่อน ไดแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น
กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

6. การกำหนดกิจกรรมการเตรียมความพรอมใหกับเด็กและเยาชนไดเรียนรูวัฒนธรรมประชาคม
อาเซียน ตลอดจนการพฒั นาดา นขอกฎหมายวา ดว ยอาเซยี นใหม ีความรคู วามเขาใจมากขึน้ โดยการจัดตง้ั
ศนู ยก ารเรียนรูในชมุ ชน โรงเรียนเพอื่ ใหเด็กไดม ีการทำกิจกรรมและเรยี นรูด า นวฒั นธรรมของประเทศตางๆ
ในประชาคมอาเซยี น รวมทงั้ การใหความรู ความเขา ใจเกีย่ วกับกฎหมายเบอื้ งตน ของแตละประเทศสมาชิก
อาเซยี น หนว ยงานท่มี ีสวนสนับสนุนการขับเคลื่อน ไดแ ก กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงวฒั นธรรมและ
กระทรวงการตา งประเทศ

7. การกำหนดกจิ กรรมใหภาคฐานการผลิตธรุ กจิ ขนาดยอม หรอื SMEs ใหมกี ระบวนการพัฒนา
ตนเอง มงุ เสริมความรู ความสามารถและกลยทุ ธการแขงขันใหพ รอ มตอการเปล่ยี นแปลงเพ่อื การปรับตวั
และสรางความรเู ชงิ การแขงขัน นำไปสกู ารปรบั ปรุงและการพัฒนาตอ ยอด หนว ยงานท่ีมสี ว นสนบั สนนุ
การ ขบั เคลือ่ น ไดแ ก กระทรวงแรงงาน กระทรวงพาณชิ ยและกระทรวงการคลัง

8. การกำหนดความรว มมือสถาบนั การศกึ ษาทั้งภาครฐั และเอกชนรว มกบั อบต. ในจงั หวัดเปน
หนวยหลกั ขับเคลอื่ นศูนยทางภาษา (ASEAN) และสารสนเทศ จดั ทงั้ ทูตอาสา AEC เพ่ือประชาสัมพนั ธ
เผยแพรใหความรูเรื่องประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เชิญผูมีความรูหรือหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของมาให
ความรู หนวยงานที่มสี ว นสนบั สนนุ ในการขบั เคลื่อน ไดแก กระทรวงศกึ ษาธิการ องคกรปกครองสว น
ทองถ่นิ และหนวยงานภาครฐั ท่ีมีสว นเกีย่ วของในพื้นที่

«

กิตตกิ รรมประกาศ ก
บทสรุปสำหรับผบู รหิ าร ข
สารบัญ ฌ
สารบญั ตาราง ฎ
สารบญั ภาพ ธ
บทที่ 1 บทนำ 2
3
ทมี่ าและความสำคัญ 3
วตั ถุประสงคการวจิ ยั 4
ขอบเขตการวจิ ัย 4
นิยามศพั ทท ่ีสำคญั 5
คำถามหลกั ในการวจิ ยั 7
ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดร ับ 14
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรมท่ีเกย่ี วของ 21
24
แนวคดิ เกี่ยวกบั การพฒั นาชุมชนท่เี ขมแขง็ 30
แนวคดิ เก่ยี วกบั สวสั ดกิ ารชุมชน 33
แนวคิดการดำเนนิ งานตำบลตน แบบของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดกิ าร 37
แนวคดิ และทม่ี าเกี่ยวกบั ประชาคมอาเซยี น 38
แนวคดิ การขยั เคลือ่ นและการเตรียมความพรอมการเขา สปู ระชาคมอาเซยี นในป 2558 38
กรมพฒั นาสงั คมและสวัสดกิ าร กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย 40
พันธกิจและบทบาทของสำนักงานสงเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ (สสว.) 45
บทท่ี 3 ระเบียบวธิ ีการวจิ ัย 55
ประชากรและกลุมตัวอยา งทใี่ ชใ นการวจิ ยั 73
เทคนคิ วธิ ีในการเก็บรวบรวมขอ มลู 108
สถิตทิ ี่ใชใ นการวิเคราะหข อมลู 108
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหขอมลู
สว นท่ี 1 รายละเอียดเก่ยี วกบั ผใู หข อ มูล ¬
สว นที่ 2 การรบั รู ความรูค วามเขา ใจของทา นเกย่ี วกบั การเขา สปู ระชาคมอาเซยี น
สว นที่ 3 ความคิดเห็นผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกดิ ขนึ้ จากการเขาสู

ประชาคมอาเซยี น
สวนท่ี 4 ความพรอ มของชมุ ชนในการเขา สูประชาคมอาเซยี น
บทท่ี 5 ผลการศึกษา
สว นท่ี 1 ขอมูลทัว่ ไป
สวนท่ี 2 การรับรู ความรู และความเขา ใจเกี่ยวกบั การเขา สูประชาคมอาเซยี น

(µÍ‹ )

สวนท่ี 3 ความคดิ เหน็ ตอ ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงท่ีจะเกิดขน้ึ จากการเขา สู 109
ประชาคมอาเซยี น 110
สว นที่ 4 ความพรอ มของชุมขนในการเขาสูประชาคมอาเซยี น 112
บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลและขอ เสนอแนะ 122
สว นที่ 5 แนวทางการเตรยี มความของชุมชนในการเขา สปู ระชาคมอาเซียน 135
ภาคผนวก
บรรณานุกรม

Þ


ÊÒúÞÑ µÒÃÒ§

µÒÃÒ§·Õè 40
41
1 จำนวนและรอ ยละของกลุม ตัวอยา งจำแนกตามเพศ 41
2 จำนวนและรอยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามอายุ 42
3 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามสถานภาพ 42
4 จำนวนและรอยละของกลุมตวั อยา งจำแนกตามอาชีพหลกั 43
5 จำนวนและรอยละของกลุม ตัวอยา งจำแนกตามรายไดเ ฉล่ยี ตอ เดือน 43
6 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยางจำแนกตามระดบั การศกึ ษา 44
7 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยา งจำแนกตามตำแหนง /บทบาท 45
45
ในการพฒั นาชมุ ชน 46
8 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามระยะเวลาในการ การพัฒนาชมุ ชน 46
9 จำนวนและรอ ยละของกลุม ตวั อยางจำแนกตามการรับรูเกี่ยวกบั ประชาคมอาเซียน 47
47
ดา นขอ ตกลงพน้ื ฐาน เกยี่ วกบั การกำหนดธงตราสญั ลกั ษณ 48
10 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยา งจำแนกตามการรับรเู กยี่ วกับประชาคมอาเซยี น 48

ดา นขอ ตกลงพน้ื ฐาน โดยจำนวนประเทศสมาชกิ ในประชาคมอาเซียน
มี 10 ประเทศ
11 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยางจำแนกตามการรบั รูเกี่ยวกบั
ประชาคมอาเซียนดานขอ ตกลงพืน้ ฐาน ซ่ึงไดมกี ารกำหนดคำขวญั ของ
ประชาคมอาเซยี น คอื “หนึง่ วิสัยทัศน หน่ึงอัตลกั ษณ หนึ่งประชาคม”
12 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามการรับรูเกี่ยวกับประชาคม
อาเซยี นดา นขอ ตกลงพน้ื ฐาน ซึ่งไดมีการกำหนดเสาหลักในการพัฒนา
จำนวน 3 เสาหลกั
13 จำนวนและรอยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามการรบั รูเกี่ยวกบั ประชาคม
อาเซยี นดานขอตกลงพน้ื ฐาน ซึง่ ไดม ีการกำหนดอาชีพที่สามารถเคลือ่ นยา ยแรงงาน
ไดอ ยา งเสรไี ว 7 อาชีพ
14 จำนวนและรอยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการรบั รเู กย่ี วกับประชาคม
อาเซยี นดานขอตกลงพื้นฐาน ซง่ึ ไดม กี ารกำหนดขอ ตกลงเรอื่ งการใชห นงั สือ
เดินทางรวมกัน
15 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการรับรเู ก่ียวกับประชาคม
อาเซียนดานขอตกลงพื้นฐาน โดยภายใตก ฎบัตรอาเซยี นไดกำหนดใหม ี
การกาวเขา สปู ระชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558
16 จำนวนและรอ ยละของกลุม ตวั อยางจำแนกตามการรับรเู กย่ี วกบั ประชาคม
อาเซียนดานขอตกลงพื้นฐาน โดยประชาคมอาเซียนกำหนดใหภ าษาอังกฤษ
เปน ภาษาการทำงานของอาเซียน

®


ÊÒúÑÞµÒÃÒ§(µÍ‹ )

µÒÃÒ§·Õè 49

17 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยางจำแนกตามการรับรูเกี่ยวกบั ประชาคม 49
อาเซยี นดา นวัตถปุ ระสงคอ าเซียนและจดุ หมายรว ม การกอ ตั้งประชาคมอาเซยี น 50
และการรวมตวั กนั ของประเทศตางๆ เพื่อใหเ กดิ ความรว มมือและความชว ยเหลอื 50
ทางเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม เทคโนโลยี และการบรหิ าร สง เสริมสันตภิ าพ 51
และความม่ันคงของภูมภิ าค และสง เสริมความรว มมือระหวางอาเซยี นกบั ตา ง 51
ประเทศและองคก รระหวางประเทศ 52

18 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามการรบั รูเกี่ยวกบั ประชาคม
อาเซยี นดา นวตั ถปุ ระสงคอาเซียนและจดุ หมายรว ม โดยจดุ มุง หมายของการจดั ตัง้
ประชาคมอาเซียนตอ งการใหภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตอ ยรู วมกันในสงั คมท่ี
เอื้ออาทร ประชากรมสี ภาพความเปน อยูท ่ีดี ไดรบั การพัฒนาในทกุ ดา นและ
มีความม่นั คงทางสังคม

19 จำนวนและรอ ยละของกลุม ตัวอยางจำแนกตามการรับรเู กยี่ วกับประชาคม
อาเซียนดานวตั ถุประสงคอาเซียนและจุดหมายรวม โดยจุดมงุ หมายของประชาคม
อาเซียนตองการสงเสรมิ การเรยี นรทู างวฒั นธรรมรว มกัน และการเคารพใน
วฒั นธรรมและความหลากหลาย

20 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยางจำแนกตามการรบั รเู ก่ียวกบั ประชาคม
อาเซยี นดา นวตั ถุประสงคอาเซยี นและจดุ หมายรว ม โดยการรวมตวั กันของกลมุ
ประเทศอาเซยี นมีจดุ มุงหมายเพอ่ื สรา งความมัน่ คง สรา งกลไกแกไขความ
ขัดแยงภายในอาเซยี น

21 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามการรบั รูเกย่ี วกบั ประชาคม
อาเซียนดานแนวทางการพัฒนาประชาคมอาเซยี น ในการรวมตวั กันของ
กลุม ประเทศอาเซียนเนน สรา งการไหลเวียนของสนิ คา การบรกิ าร การลงทุน
ลดปญ หาความยากจนและความเหลอื่ มล้ำทางสังคม

22 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามการรับรูเ ก่ียวกบั ประชาคม
อาเซยี นดานแนวทางการพัฒนาประชาคมอาเซียน การรวมตัวกันของกลุม
ประเทศอาเซียนตองการสงเสริมและพัฒนาบทบาทของสตรีในการมีสวนรว ม
ในการพัฒนา

23 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามการรบั รเู กี่ยวกบั ประชาคม
อาเซยี นดานแนวทางการพัฒนาประชาคมอาเซยี น ในการรวมตัวกนั ของ
กลุมประเทศอาเซียนตอ งการพัฒนาดา นสาธารณสุขการศึกษา ชีวติ ความเปนอยู
และการยอมรับซง่ึ กนั และกันภายในวฒั นธรรมอนั หลากหลายของอาเซยี น

¯


ÊÒúÞÑ µÒÃÒ§(µ‹Í)

µÒÃÒ§·èÕ 52
53
24 จำนวนและรอยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามการรับรูเ กย่ี วกบั ประชาคม 53
อาเซยี นดา นแนวทางการพัฒนาประชาคมอาเซยี น ในการรวมตวั กนั ของกลุม 54
ประเทศอาเซียนมจี ดุ มุง หมายเพือ่ สง เสรมิ การพฒั นาสงั คม การพฒั นา 54
ทรัพยากรมนษุ ย 55
55
25 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามการรับรเู กีย่ วกบั ประชาคม 56
อาเซียนดานแนวทางการพัฒนาประชาคมอาเซยี น ในการรวมตวั กันของ
กลมุ ประเทศอาเซียนในดานประชาคมสังคมและวฒั นธรรมอาเซยี นมกี ารกำหนด
ประเด็นการพฒั นา 6 ประเด็น

26 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามการรบั รเู กี่ยวกับประชาคม
อาเซยี นดา นแนวทางการพฒั นาประชาคมอาเซยี น ในการรวมตัวกนั ของ
กลมุ ประเทศอาเซยี นจะไมกา วกายกจิ การภายในของแตละประเทศ

27 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยา งจำแนกตามการรบั รเู ก่ยี วกับประชาคม
อาเซียนดานแนวทางการพัฒนาประชาคมอาเซยี น ในการรวมตวั กนั ของ
กลุมประเทศอาเซียนตอ งการพฒั นาคุณภาพชีวิต ลดชอ งวางการพัฒนา

28 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามการรบั รูเกี่ยวกบั ประชาคม
อาเซียนดา นแนวทางการพฒั นาประชาคมอาเซยี น ในการรวมตวั กันของ
กลมุ ประเทศอาเซยี นเปน การสง เสริมการเคารพอตั ลกั ษณท างวัฒนธรรมความ
แตกตา งของแตล ะประเทศ

29 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยางจำแนกตามความเห็นตอผลกระทบและการ
เปล่ียนแปลงท่เี กิดข้ึนดา นประชาสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน ในการเขารว ม
ประชาคมอาเซียนชวยสงเสรมิ ทัศนคติใหเ กิดความเขา ใจและความสมั พนั ธอนั ดี
กบั ประเทศเพือ่ นบาน

30 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยา งจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบและ
การเปลย่ี นแปลงที่เกิดขึ้นดานประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในการเขา รว ม
ประชาคมอาเซียนชวยสงเสรมิ ใหเ กดิ บริการดา นสขุ ภาพที่มีคุณภาพ เพียงพอและ
เปน ธรรม

31 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามความเหน็ ตอ ผลกระทบและ
การเปล่ียนแปลงทเ่ี กิดขน้ึ ดา นประชาสังคมและวฒั นธรรมอาเซียนในการเขารวม
ประชาคมอาเซยี นชว ยสง เสริมใหเ กิดความมั่นคงทางดานอาหารท่ปี ลอดภยั
มีประโยชนและเพยี งพอ

°


ÊÒúÞÑ µÒÃÒ§(µ‹Í)

µÒÃÒ§·èÕ 57
57
32 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยา งจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบและ 58
การเปลย่ี นแปลงที่เกิดขึ้นดานประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในการเขา รว ม 58
ประชาคมอาเซียนชวยสง เสรมิ ใหเ กดิ การเรียนรูท างเทคโนโลยแี ละการแลก 59
เปล่ยี นทางวัฒนธรรมทหี่ ลากหลาย 60
60
33 จำนวนและรอยละของกลมุ ตัวอยางจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบและ 61
การเปล่ยี นแปลงทเ่ี กิดขน้ึ ดา นประชาสงั คมและวัฒนธรรมอาเซยี น ในการเขา รว ม
ประชาคมอาเซยี นชวยสง เสรมิ ใหเ กิดการจา งงาน การมอี าชีพและรายไดข องชุมชน

34 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยางจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบและ
การเปลี่ยนแปลงท่ีเกดิ ขน้ึ ดา นประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในการเขา
รว มประชาคมอาเซียนชว ยสง เสริมใหเกดิ วธิ กี าร/แนวทางการจัดการปญ หา
ชายแดนรวมกบั ประเทศเพอื่ นบา น

35 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบและ
การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กดิ ขึน้ ดานประชาสงั คมและวัฒนธรรมอาเซยี น ในการเขา
รวมประชาคมอาเซียนชว ยสงเสรมิ ความรวมมอื ในการจดั การทรัพยากร
ธรรมชาตริ ว มกัน

36 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยางจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบและ
การเปลย่ี นแปลงที่เกดิ ข้ึนดานประชาสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน ในการเขา
รว มประชาคมอาเซียนชวยสง เสรมิ ใหเ กิดความรวมมอื ในการจัดการปญหาและ
ภยั คุกคาม

37 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยา งจำแนกตามความเหน็ ตอผลกระทบและ
การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ ดานประชาสงั คมและวัฒนธรรมอาเซียน ในการเขารว ม
ประชาคมอาเซยี นชว ยสงเสริมใหเ กดิ การพัฒนาดานการคาการลงทนุ ทส่ี งเสริม
คุณภาพชวี ิตของคนในชมุ ชน

38 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยา งจำแนกตามความเหน็ ตอผลกระทบและ
การเปล่ยี นแปลงทเี่ กิดข้นึ ดา นประชาสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน
ในการเขา รว มประชาคมอาเซียนชว ยการสงเสริมความเสมอภาคทางการศกึ ษา
อยางเทา เทยี มกนั โดยไมค ำนึงถงึ ความแตกตา งทางชนชนั้ เพศ ชาตพิ นั ธุ

39 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามความเหน็ ตอผลกระทบและ
การเปล่ียนแปลงที่เกดิ ขน้ึ ดานประชาสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน ในการเขา รว ม
ประชาคมอาเซียนเปนการขยายโอกาสในการทำงานและเพิม่ ทกั ษะประสทิ ธภิ าพ
การทำงาน

±


ÊÒúÑÞµÒÃÒ§(µ‹Í)

µÒÃÒ§·èÕ 62
62
40 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามความเหน็ ตอ ผลกระทบและ 63
การเปลี่ยนแปลงท่ีเกดิ ขึน้ ดา นประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในการเขา
รวมประชาคมอาเซียนเปน การเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมโรคติดตอ 64
64
41 จำนวนและรอยละของกลมุ ตัวอยางจำแนกตามความเห็นตอผลกระทบและ 65
การเปล่ยี นแปลงที่เกดิ ขึ้นดานประชาสังคมและวฒั นธรรมอาเซยี นในการเขารว ม 65
ประชาคมอาเซยี นจะทำใหเ กดิ ความพรอ มรับมือการจัดการภยั พิบัติ 66
67
42 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามความเห็นตอผลกระทบดา น 67
สวสั ดิการชุมชนและความม่นั คงทางสังคมในการเขา รว มประชาคมอาเซียนจะทำ
ใหเกิดการสง เสริม และคมุ ครองสทิ ธแิ ละสวัสดกิ ารสำหรบั สตรี เยาวชน
ผสู ูงอายุ คนพกิ ารและผดู อ ยโอกาส

43 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามความเห็นตอผลกระทบดา น
สวัสดกิ ารชุมชนและความม่ันคงทางสังคมในการเขา รว มประชาคมอาเซียนจะ
ชว ยยกระดบั คณุ ภาพชีวิตและการดแู ลกลุม ผูดอ ยโอกาสอยา งทัว่ ถึง

44 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามความเห็นตอผลกระทบดาน
สวสั ดกิ ารชุมชนและความมั่นคงทางสงั คมในการเขา รวมประชาคมอาเซยี น
จะชว ยบรรเทาปญหาความยากจน

45 จำนวนและรอยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบดา นสวสั ดิ
การชุมชนและความม่ันคงทางสงั คมในการเขา รว มประชาคมอาเซยี นจะชวยขยาย
โอกาสทางการศกึ ษา

46 จำนวนและรอยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามความเห็นตอผลกระทบดาน
สวัสดิการชุมชนและความมน่ั คงทางสังคมในการเขา รวมประชาคมอาเซยี นจะนำ
ไปสูการจา งงานที่เหมาะสม

47 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบดา น
สวสั ดิการชมุ ชนและความม่ันคงทางสงั คมในการเขารวมประชาคมอาเซียน
จะชวยพฒั นาความรแู ละทักษะฝมอื ของแรงงาน

48 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยางจำแนกตามความเหน็ ตอ ผลกระทบดา น
สวัสดกิ ารชุมชนและความมน่ั คงทางสังคมในการเขารว มประชาคมอาเซยี น
จะชวยสงเสริมสทิ ธิและความเทา เทยี มทางเพศ

49 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามความเหน็ ตอ ผลกระทบดาน
สวัสดิการชุมชนและความมั่นคงทางสงั คมในการเขา รวมประชาคมอาเซยี น
จะชวยใหเ กิดระบบสวสั ดกิ ารในการดูแลตนเองของชุมชน

²


ÊÒúÞÑ µÒÃÒ§(µÍ‹ )

µÒÃÒ§·Õè 68
68
50 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามความเห็นตอผลกระทบดาน 69
สวสั ดกิ ารชมุ ชนและความมั่นคงทางสงั คมในการเขา รวมประชาคมอาเซียน 70
จะใหเกิดการขยายความรว มมอื ในการดำเนนิ งานปอ งกนั และขจัดการคา มนษุ ย 70
71
51 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยา งจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบดา น 72
สวสั ดกิ ารชมุ ชนและความมน่ั คงทางสังคมในการเขา รว มประชาคมอาเซียน
จะชว ยสงเสรมิ การมสี วนรว มของสตรใี นการพฒั นาและขจดั การเลือกปฏบิ ัติ 73
73
52 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามความเห็นตอผลกระทบดา น
สวสั ดิการชุมชนและความมั่นคงทางสงั คมในการเขารว มประชาคมอาเซียน
จะพัฒนาการเรียนรูของชุมชนอยางเทา ทนั การเปล่ยี นแปลงของสงั คม

53 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามความเห็นตอผลกระทบดาน
สวสั ดกิ ารชมุ ชนและความมน่ั คงทางสังคมในการเขา รวมประชาคมอาเซียนจะนำ
ไปสูการใชทรพั ยากรทางการแพทยร วมกันเพอ่ื การเขาถึงบรกิ ารทางสุขภาพอยาง
เสมอภาค

54 จำนวนและรอยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามความเห็นตอ ผลกระทบดา น
สวสั ดกิ ารชุมชนและความม่นั คงทางสังคมในการเขารว มประชาคมอาเซยี น
จะทำใหเกดิ หลักประกันดา นสวสั ดิการและยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของชมุ ชน

55 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามความเหน็ ตอผลกระทบและ
การเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขนึ้ ดา นประชาสังคมและวฒั นธรรมอาเซยี นในการเขา รวม
ประชาคมอาเซียนจะทำใหเ กดิ ความรว มมือของภาคธรุ กจิ เอกชนในการ
พัฒนาชุมชน

56 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามความเหน็ ตอ ผลกระทบและ
การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดขึน้ ดานประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซยี นในการเขา รวม
ประชาคมอาเซยี นจะนำไปสกู ารแกไขปญหาสงั คมที่ยากและสลบั ซับซอน เชน
ปญ หายาเสพตดิ ปญหาบคุ คลไรร ฐั ไรสญั ชาติและผมู ปี ญหาสถานะบคุ คล
ภายใตค วามรวมมอื ระหวางประเทศ

57 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามความพรอ มของชุมชนในการ
เขาสูประชาคมอาเซยี นดานความรูและการสรา งความเขาใจในชมุ ชนเกยี่ วกับ
การใหค วามรู สรางความเขา ใจแกส มาชิกชมุ ชนเพอ่ื เตรียมความพรอ มในการเขาสู
ประชาคมอาเซียน

58 จำนวนและรอยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามการเตรยี มความพรอ มของชมุ ชน
ในการเขา สปู ระชาคมอาเซียนดา นความรแู ละการสรางความเขาใจในชมุ ชน
เก่ยี วกบั การเตรยี มความพรอ ม (การประชุมหารอื การวางแผนรวมกนั )
เก่ยี วกับการเขา สปู ระชาคมอาเซียน

³


ÊÒúÑÞµÒÃÒ§(µ‹Í)

µÒÃÒ§·Õè 74
74
59 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยา งจำแนกตามการเตรียมความพรอ มของชมุ ชน 75
ในการเขา สปู ระชาคมอาเซียนดา นความรูและการสรา งความเขาใจในชุมชนเกยี่ ว 75
กับการเตรียมความพรอมดา นความรู การแลกเปลย่ี นเรยี นรูและสรา งความเขา ใจ 76
รว มกันภายในชมุ ชนเกย่ี วกบั ผลกระทบทจี่ ะเกิดขึ้นจากการเขา สปู ระชาคมอาเซียน 76
77
60 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามการเตรยี มความพรอ มของชุมชน 77
ในการเขา สูประชาคมอาเซยี นดานการจัดการขอ มลู และการวางแผนชุมชนเกี่ยว
กับสำรวจความตอ งการและขอมลู ชมุ ชน (ทุนทางสงั คมของชุมชน)
เพื่อประกอบการวางแผนพฒั นาชมุ ชนสำหรับการเขาสูประชาคมอาเซียน

61 จำนวนและรอยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการเตรียมความพรอมของชุมชน
ในการเขา สปู ระชาคมอาเซียนดานการจดั การขอมูลและการวางแผนชมุ ชนเก่ยี วกับ
การการวเิ คราะหและการจัดทำแผนพฒั นา แผนแมบ ทชุมชนหรือจัดทำแผน
รองรับการเปลีย่ นแปลงทจ่ี ะเกดิ ข้ึนจากการเขารว มเปนสมาชกิ ประชาคมอาเซยี น

62 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการเตรยี มความพรอมของชมุ ชน
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซียนดา นการจดั การขอมลู และการวางแผนชุมชน
เกย่ี วกบั การกำหนดกลไกการจดั การสวสั ดิการชุมชน (การตัง้ คณะกรรมการ/
การกำหนดระเบียบแนวทางปฏิบตั ิ) เพือ่ รองรบั การเขา สปู ระชาคมอาเซียน

63 จำนวนและรอยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามการเตรยี มความพรอมของชุมชน
ในการเขา สูประชาคมอาเซียนดานการจดั การขอ มูลและการวางแผนชุมชนเกีย่ วกบั
เชื่อมโยงบูรณาการชุมชน ทอ งถ่ินและภาครัฐในการจดั ระบบสวัสดิการชุมชนเพ่อื
รองรบั การเขาสปู ระชาคมอาเซียน

64 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามการเตรียมความพรอ มของชมุ ชน
ในการเขา สปู ระชาคมอาเซยี นดานการเรียนรูและพัฒนาศักยภาพทรพั ยากรมนุษย
ในชมุ ชนเก่ยี วกบั กิจกรรมสง เสริมอาชีพ การพัฒนาทักษะแรงงานสำหรบั การเขา สู
ประชาคมอาเซียน

65 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการเตรยี มความพรอมของชมุ ชนใน
การเขาสปู ระชาคมอาเซียนดา นการเรยี นรูแ ละพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย
ในชมุ ชนเกย่ี วกบั การพัฒนาอาสาสมัครชุมชนเพอื่ การพฒั นาชุมชนในการเขาสู
ประชาคมอาเซียน

66 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามการเตรยี มความพรอ มของชมุ ชน
ในการเขาสูประชาคมอาเซยี นดานการเรียนรแู ละพัฒนาศักยภาพทรพั ยากรมนุษย
ในชมุ ชนเกยี่ วกบั การสงเสรมิ การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการเรยี นรูแ ละ
การพัฒนาในการเขาสูประชาคมอาเซยี น

´


ÊÒúÞÑ µÒÃÒ§(µ‹Í)

µÒÃÒ§·èÕ 78
78
67 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามการเตรยี มความพรอ มของชมุ ชน
ในการเขาสูประชาคมอาเซยี นดา นการเรยี นรูและพัฒนาศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย 79
ในชุมชนเก่ยี วกับการสง เสรมิ การเรยี นรดู านคุณคา และความหลากหลายทาง 79
วฒั นธรรมและชาตพิ นั ธใุ นการเขา สปู ระชาคมอาเซียน 80
80
68 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการเตรยี มความพรอมของชุมชน 81
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี นดา นการเตรียมความพรอ มดานการจดั การชมุ ชน 81
เกย่ี วกับการดำเนินการดา นการประสานความรว มมอื กับภาครัฐ ภาคเอกชน
และองคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ ในการกำหนดแนวทางการจดั สวัสดิการชมุ ชน
เพ่อื รองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน

69 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยางจำแนกตามการเตรยี มความพรอ มของชุมชน
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซียนดานการเตรยี มความพรอม ดา นการจัดการชมุ ชน
เกย่ี วกับการกำหนดแนวทางการเสรมิ สรา งความเขมแขง็ ของครอบครวั เพอื่ รองรับ
การเขา สูประชาคมอาเซียน

70 จำนวนและรอยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามการเตรียมความพรอมของชุมชน
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซียนดา นการเตรียมความพรอม ดานการจัดการชมุ ชนเก่ยี ว
กับการกำหนดแนวทางการจัดการสง เสรมิ ดแู ลคณุ ภาพชวี ติ ผูส งู อายุเพือ่ รองรับ
การเขา สปู ระชาคมอาเซยี น

71 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการเตรยี มความพรอมของชุมชน
ในการเขา สปู ระชาคมอาเซยี นดานการเตรียมความพรอมดานการจัดการชมุ ชน
เก่ียวกบั การกำหนดการเสริมสรางทักษะในการประกอบอาชพี ของผูพ ิการเพ่ือรอง
รับการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

72 จำนวนและรอ ยละของกลุม ตวั อยางจำแนกตามการเตรียมความพรอมของชมุ ชน
ในการเขา สูป ระชาคมอาเซยี นดา นการเตรียมความพรอมดานการจดั การชุมชน
เกี่ยวกับการกำหนดการสงเสริมและคุมครองสวัสดิภาพสำหรบั เด็ก สตรี
ผสู ูงอายุ คนพกิ ารและผดู อยโอกาสเพอื่ รองรบั การเขา สปู ระชาคมอาเซียน

73 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามการเตรียมความพรอมของชุมชน
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซียนดานการเตรียมความพรอมดานการจัดการชุมชน
เกย่ี วกบั การแนวทางการจัดการปญหาแรงงานตางดา ว แรงงานขามชาติ
เพื่อรองรบั การเขา สปู ระชาคมอาเซยี น

74 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยา งจำแนกตามการเตรยี มความพรอมของชมุ ชน
ในการเขาสูประชาคมอาเซยี นดา นการเตรียมความพรอ มดา นการจัดการชุมชน
เกี่ยวกบั การกำหนดแนวทางการจัดการปญ หาผูม ีสถานะบคุ คล เพื่อรอง
รบั การเขา สูประชาคมอาเซียน

µ


ÊÒúÑÞµÒÃÒ§(µ‹Í)

µÒÃÒ§·Õè 82
82
75 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยา งจำแนกตามการเตรียมความพรอมของชุมชน 83
ในการเขาสูประชาคมอาเซยี นดา นการเตรยี มความพรอมดานการจัดการชมุ ชน 83
เก่ียวกับการกำหนดการออกระบบสวัสดกิ ารท่หี ลากหลายตามความตองการ
กลมุ เปาหมายเพ่อื รองรับการเขา สปู ระชาคมอาเซยี น 84
84
76 จำนวนและรอยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการเตรียมความพรอมของชุมชน 85
ในการเขาสูประชาคมอาเซียนดา นการเตรียมความพรอ มดานการจัดการชมุ ชน 85
เกย่ี วกบั การกำหนดแนวทางการใชภมู ิปญญาทองถิน่ เพอ่ื การพฒั นารองรบั
การเขาสปู ระชาคมอาเซียน ¶

77 จำนวนและรอยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามการเตรียมความพรอมของชมุ ชนใน
การเขา สปู ระชาคมอาเซียนดานการเตรยี มความพรอมดา นการจดั การชุมชน
เกีย่ วกับการดำเนนิ กจิ กรรมเพื่อสงเสริมโอกาสการมสี วนรวมของสตรี ในการ
พัฒนาชุมชนเพื่อรองรับการเขาสูป ระชาคมอาเซยี น

78 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยา งจำแนกตามการเตรยี มความพรอ มของชุมชน
ในการเขาสูประชาคมอาเซยี นดา นการเตรยี มความพรอ มดา นการจดั การชมุ ชน
เก่ยี วกับการกำหนดแนวทางมาตรการในการแกไ ขปญ หายาเสพติดในชุมชน
ท้งั ดา นการปอ งกนั การฟนฟูทางสงั คมสำหรับผเู สพยาใหคืนสูสงั คมเพอ่ื รองรับ
การเขาสูประชาคมอาเซยี น

79 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตวั อยา งจำแนกตามการเตรยี มความพรอมของชุมชนใน
การเขาสปู ระชาคมอาเซยี นดานการเตรียมความพรอมดานการจดั การชมุ ชน
เกี่ยวกบั การดำเนินการเพ่อื ปอ งกันและจัดการภยั พบิ ัตเิ พือ่ รองรบั การเขาสู
ประชาคมอาเซียน

80 จำนวนและรอยละของกลมุ ตัวอยางจำแนกตามการเตรยี มความพรอมของชุมชน
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี นจากการสนบั สนุนความพรอมของชมุ ชนจาก
หนวยงานภายนอกเก่ยี วกับชมุ ชนของทานมีการสรา งความรว มมอื เพอื่ การ
เรยี นรขู องชุมชนรวมกับชุมชนอ่นื เพื่อรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน

81 จำนวนและรอยละของกลุม ตวั อยา งจำแนกตามการเตรียมความพรอมของชุมชน
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซียนจากการสนับสนุนความพรอมของชุมชน
จากหนว ยงานภายนอกเกย่ี วกับการประสานความรว มมอื กบั หนวยงาน
ทเี่ กี่ยวของในการจดั ทำแผนงาน โครงการรองรบั การเขา สูประชาคมอาเซียน

82 จำนวนและรอ ยละของกลุมตวั อยางจำแนกตามการเตรยี มความพรอมของชุมชน
ในการเขา สปู ระชาคมอาเซยี นจากการสนบั สนนุ ความพรอมของชุมชนจาก
หนวยงานภายนอกเกี่ยวกบั หนว ยงานภายนอกมาใหความรแู ละสราง
เขา ใจใหกับชุมชนเกีย่ วกับการเขาสูประชาคมอาเซยี น


ÊÒúÞÑ µÒÃÒ§(µÍ‹ )

µÒÃÒ§·Õè 86
86
83 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการเตรียมความพรอมของชมุ ชน 87
ในการเขาสูป ระชาคมอาเซยี นจากการสนับสนุนความพรอมของชมุ ชน 87
จากหนว ยงานภายนอกเกยี่ วกบั ไดร บั การสง เสริมดานภาษาและศลิ ปะ
ประเพณีของประเทศตางๆ ในอาเซียนจากหนวยงานภายนอกในการเขา
สูป ระชาคมอาเซียน

84 จำนวนและรอ ยละของกลุมตัวอยางจำแนกตามการเตรียมความพรอ มของชุมชน
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซียน จากการสนบั สนนุ ความพรอมของชมุ ชน
จากหนวยงานภายนอกเกีย่ วกับการเตรยี มความพรอ มบุคลากรในชมุ ชน
ดานความรูและศกั ยภาพเพอ่ื รองรบั การเปลยี่ นแปลงจากการเขา สู
ประชาคมอาเซียน

85 จำนวนและรอ ยละของกลุม ตัวอยา งจำแนกตามการเตรียมความพรอ มของชมุ ชน
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซียน จากการสนบั สนนุ ความพรอมของชมุ ชนจาก
หนวยงานภายนอกเกีย่ วกบั การสงเสริมดานความรคู วามเขา ใจเกยี่ วกบั
ประวตั ศิ าสตรและวัฒนธรรมของประเทศตา งๆ จากหนว ยงานภายนอกเพ่ือ
รองรับการเขา สปู ระชาคมอาเซียน

86 จำนวนและรอ ยละของกลมุ ตัวอยา งจำแนกตามการเตรยี มความพรอ มของชุมชน
ในการเขาสปู ระชาคมอาเซียนจากการสนับสนุนความพรอมของชุมชนจาก
หนวยงานภายนอกเก่ยี วกบั ประสานความรวมมือกับภาคธุรกิจในการมสี ว นรวม
พฒั นาชุมชนเพ่ือรองรับการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

·

 ÊÒúÑÞÀÒ¾

ÀÒ¾·èÕ 21

1 ภาพแสดงกระบวนการดำเนินงานโดยรูปแบบสายใยรัก

¸

º·¹Ó









2 á¹Ç¤Ô´ ·ÄÉ®Õ
áÅÐÇÃó¡ÃÃÁ·Õèà¡èÂÕ Ç¢ÍŒ §










































Click to View FlipBook Version