The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Winai Simmalee, 2020-11-25 04:07:06

emagzine0092

emagzine0092

ปราสาทศขี รภูมิ

ปราสาทศขี รภมู ิ หรอื ปราสาทระแงง ตง้ั อยู่

ขา้ งวัดบ้านปราสาท บ้านปราสาท ตำ�บลระแงง
อำ�เภอศีขรภมู ิ จังหวัดสุรนิ ทร์ ปราสาทหลงั นเี้ ปน็
ปราสาทท่งี ดงามทีส่ ดุ ในจงั หวดั สุรนิ ทร์

คำ�นำ�

นติ ยสารเล่มนีจ้ ดั ทำ�ขึ้นเพอ่ื ใช้ในการประกอบการเรียนการ
สอนในรูปแบบสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ของนักศกึ ษาการเผยแพรค่ วามรู้
ความคิดและการศกึ ษาซงึ่ จะเป็นประโยชน์ในการศกึ ษา
สำ�หรับนติ ยสารเลม่ น ี้ ได้รวบรวมบทความทางวชิ าการและ
บทความจาก เวป็ ออนไลน์ตา่ งๆ ตลอดจนความรู้จากการไปศึกษา
ตามหมบู่ า้ นในระแวกใกล้เคียง แลว้ หวงั เปน็ อย่างยง่ิ วา่ ทกุ บทความ
จะเปน็ ประโยชน์แก่ผทู้ เี่ ขา้ มารับชม

นายวนิ ยั สิมลี
นายอนันต์ ฟักทอง
นายชาญวทิ ย์ บรุ าคร
นายณัฏฐว์ ฒั น์ ซ่อนกลิน่

นักศกึ ษา

สารบญั หน้า

เรอื่ ง 1
3
ประวัติความเปน็ มาปราสาทศขี รภมู ิ 5
ปรางคป์ ระธาน 7
ทบั หลงั 9

ลกั ษณะทางสถาปตั ยกรรม 11
ปรางคบ์ ริวาร

สระน้ำ�

ประวตั ิความเปน็ มาปราสาท

สันนษิ ฐานวา่ สร้างข้นึ ในสมัยพระเจา้ สรุ ยิ วรมนั
ท่ี 2(พ.ศ. 1656-1688) มีการผสมผสานศิลปะแบบบาป
วนและแบบนครวดั ตอ่ มาในสมัยอยุธยาตอนปลายไดม้ กี าร
บูรณะปราสาทแหง่ น้ขี น้ึ ดงั ปรากฏจารึกภาษาไทย-บาลี
ที่ซุ้มประตูปรางค์บริวารแถวหนา้ ดา้ นทศิ ใต้ กล่าวถงึ พระ
เถระผูใ้ หญ่และท้าวพระยาไดร้ ว่ มกันบูรณะปราสาทแห่ง
นแี้ ละประกอบพธิ กี รรมในศาสนาพุทธปราสาทศีขรภมู ิ
มชี อื่ เรียกในท้องถนิ่ วา่ ปราสาทบ้านระแงง ตัง้ อยใู่ นพ้นื ท่ี
ราบกลางเมืองโบราณบ้านปราสาท ปราสาทนม้ี ีลักษณะ
พเิ ศษคอื ประกอบด้วยปรางค์ห้าองค์ต้ังอยบู่ นฐานสูงมี
ภาพจำ�หลักนางอัปสรที่มรี ปู ลกั ษณค์ ลา้ ยกบั นางอปั สรที่
ปราสาทนครวดั ในเขมรนอกจากน้ยี งั มที บั หลังจำ�หลกั เป็น
ลายศิวนาฏ ราชทีง่ ดงามประณีตมาก

ปราสาทศขี รภมู ิ
ตง้ั อย่ขู า้ งวัดบา้ นปราสาท บ้านปราสาท ตำ�บลระแงง
อำ�เภอศขี รภูมิ จงั หวดั สุรนิ ทร์

ปรางคป์ ระธาน

เป็นปรางค์ประธานที่สวยและสมบูรณ์ท่ีสุดใน
จังหวัดสุรินทร์

“ปรางคป์ ระธาน กอ่ ดว้ ยอฐิ ขัดมัน อยูบ่ นฐานเดียวกัน
๕ องค์ ฐานก่อด้วยแลงมีบนั ไดอยู่ทางทศิ ตะวันออก-ทิศ
ตะวันตก ปรางคป์ ระธานองค์ใหญอ่ ยู่กลาง มีปรางค์
บริวารอยู่ ๔ มมุ ปรางค์ประธานยอดหักเหลือเพยี งบัว
เชงิ บาตร ๓ ชนั้ สูง ๑๒ เมตร ฐานกว้าง ๑๐.๖๐ เมตร
มีประตูทางทิศตะวันออกทำ�ด้วยหินทรายสีเทาท้องไม้
ของประตูทางด้านหน้าจำ�หลักลายและรูปอัปสรถือ
ดอกบวั ด้านข้างจำ�หลกั ลายและรปู ทวารบาลยนื กมุ
กระบองกับอัปสรศิลาทับหลังประตูกลางจำ�หลักเป็นรูป
เทพสิบกรอยู่อยูบ่ นแทน่ มีหงสแ์ บก ๓ ตัว อยู่บนเศยี ร
เกยี รติมุข มมี อื ทั้งสองจับเท้าสิงห์ขา้ งละ ๑ ตัว รูปสงิ ห์
อยูใ่ นท่ายืนด้วยสองขาหลัง และอุ้งเทา้ ของสองหน้ากุม
ดอกบวั บานออก เกสรเป็นลำ�พวงมาลัยโค้ง ภายใตว้ ง
โคง้ ของพวงมาลยั จำ�หลกั เปน็ รูปพระคเณศ พระพรหม
พระวษิ ณุ และนางปารพตี และมรี ปู โยคีสกดั อยู่ทัง้ หวั
แถวทา้ ยแถว อย่เู หนือปทุมอาศน์”

ทับหลัง
ทับหลังตามท่บี รรยายไว้ จะเหน็ เทพเจ้าตามหลัก
ศาสนาฮนิ ดอู ยู่หลายองค์

ทบั หลงั ตามทบ่ี รรยายไว้ จะเห็นเทพเจ้าตามหลักศาสนาฮินดอู ยู่หลาย
องค ์ ซ่งึ ปราสาทศีขรภูมิแห่งนี้เดิมเป็นเทวสถานในศาสนาฮินดูทบ่ี ชู าพระศวิ ะ
เปน็ ใหญ่ เทพสิบกรนั่นก็คอื พระศิวะกำ�ลงั ร่ายรำ� หรือ เรยี กกันว่า “ศิวะนาฏ
ราช” โดยมีเทพอกี ๔ องคร์ ว่ มบรรเลงดว้ ย กล่าวคอื ไล่เรยี งจากทางด้าน
ขวามอื ของเราในขณะที่แหงนหนา้ มอง ภายใต้วงโค้งของมาลยั น้นั พระคเณศ
ถอื ดอกบวั และชูงวง คลา้ ยรา่ ยรำ� (เพราะชา้ งสุรนิ ทรเ์ วลาเต้นรำ�กม็ ักจะชูงวง
ตามไปด้วย) ถัดมาคือพระพรหม ในทน่ี ีจ้ ะเห็นเพยี ง ๓ หนา้ (เพราะดา้ นหลังคง
สลกั ไม่ได)้ แตม่ ี ๔ กร กำ�ลงั ตีฉิ่งและถือดอกบัวถัดมาทางดา้ นซ้ายจะเปน็ พระ
นารายณ์ ๔ กร สองมือบนถืออาวุธประจำ�ตวั คือจักรและสงั ข์ (รายละเอยี ด
สูญหายบางสว่ น)

สว่ นสองมือล่างดูเหมือนอยู่ในทา่ รำ�
ส่วนองค์สุดท้ายก็คือนางปารพตีบ้างก็
เรยี ก พระอุมา หรอื บรรพตี ซงึ่ เป็นมเหสี
ของพระศิวะมือหน่ึงถือคฑาส่วนอีกมือ
หน่ึงน้นั รายละเอียดก็สญู หายเชน่ กนั สว่ น
รายละเอียดอื่นๆนั้นมีเหล่าเทวดาฤษีหงส์
และสัตว์อีกหลายชนิดเป็นที่ยอมรับจาก
นักโบราณคดีว่าศิลาทับหลังของปราสาท
ศีขรภูมิแห่งนี้สมบูรณ์และสวยงามที่สุด
ในประเทศไทยนักท่องเท่ียวส่วนใหญ่มัก
จะเข้าใจกันว่าทับหลังนารายณ์บรรทม
สินธ์ุท่ีปราสาทพนมรุ้งน้ันสวยงามที่สุด
ซึ่งเรื่องนี้แม้แต่คนศีขรภูมิเองก็ยังไม่ค่อย
ทราบกันเพราะหากเอ่ยถึงทับหลังแล้ว
ผู้ ค น มั ก จ ะ นึ ก ถึ ง ทั บ ห ลั ง ข อ ง ป ร า ส า ท
พนมรุ้งเพราะมีชื่อเสียงมาจากการเรียก
ร้องกลับคืนมาจากสหรัฐอเมริกานั่นเอง
นอกจากทับหลังศิวะนาฏราชท่ีสวยงาม
แ ล้ ว ทั บ ห ลั ง ข อ ง ป ร า ส า ท ศี ข ร ภู มิ ท่ี เ ค ย
สญู หายไปและตามกลบั คนื มาไดอ้ กี ๓ แผ่น
ปัจจุบันได้เก็บไว้ท่ีพิพิธภัณฑสถานแห่ง
ชาติสุรินทร์๒แผ่นและพิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติพิมายอีก๑แผ่นโดยแผ่นที่เก็บไว้ใน
จงั หวดั สุรนิ ทรแ์ ผ่นหนึ่งจำ�หลกั เปน็ รปู พระ
กฤษณะจับช้างและคชสีห์ส่วนอีกแผ่นหนึ่ง
เป็นพระกฤษณะจับคชสีห์ท้ัง๒ตัว(บ้างก็
วา่ “ฆ่า” ไมใ่ ช่จบั ) ทั้ง ๒ แผน่ นีอ้ ยู่ในสภาพ
ท่ีค่อนข้างสมบูรณ์ส่วนที่พิมายเป็นพระ
กฤษณะจับช้างและคชสีห์ปราสาทศีขรภูมิ
มปี รางคท์ งั้ หมด ๕องคแ์ ต่พบทับหลงั ถงึ
๔ ช้นิ อกี ชึน้ หนึง่ น่าจะสูญหายไปพร้อมๆกับ
เครื่องประดับองค์ปราสาทอีกจำ�นวนมาก

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
ปราสาทศีขรภูมิ มีลักษณะเป็นปรางคห์ มู่ 5 องค์

ปราสาทศีขรภูมิ มลี กั ษณะเป็นปรางค์หมู่ 5 องค์ เปน็ ปราสาทก่ออฐิ ไมส่ อ
ปนู ต้ังอยู่บนฐานศิลาแลงเดียวกนั โดยตัวฐานก่อด้วยศอลาแลงกว้าง 25 เมตร
ยาว 26 เมตร สงู 1.5 เมตร โดยมีคูน้ำ�กว้าง 125 เมตร ล้อมรอบสามดา้ น โดย
เว้นดา้ นตะวนั ออกอนั เป็นทางเข้าไว้ปรางคป์ ระธานสงู ประมาณ 32 เมตร ทับ
หลังเป็นภาพพระศวิ นาฏราชสิบกร ทรงฟอ้ นรำ�อย่เู หนอื เกยี รตมิ ุข ภายใต้วงโคง้
ลายทอ่ นมาลยั ซึ่งสลักเปน็ ภาพพระคเณศ พระพรหม พระวษิ ณุ และพระอุมา
โดยทบั หลังช้นิ นบั เปน็ ทบั หลังท่ีมคี วามสวยงามและสมบูรณท์ ่สี ุดชน้ิ หนึ่งของเมอื ง

บรเิ วณเสากรอบประตูสลักเป็นรูปนางอปั ส
ราถือดอกบัวและทวารบาลยืนกุมกระบองซึ่งนา
งอัปสราท่ีปราสาทศีขรภูมินี้มีลักษณะคล้ายกับนา
งอปั สราทปี่ ราสาทนครวัด ประเทศกมั พชู า ซึ่งไม่
พบท่ีปราสาทศิลปะเขมรโบราณแห่งใดอีกเลยใน
ประเทศไทยพบที่ปราสาทศีขรภูมิเพียงแห่งเดียว
เท่านน้ั

ปรางคบ์ ริวาร

ปรางคบ์ ริวารแผนผงั เปน็ รปู สีเ่ หลย่ี ม
จัตุรัสย่อมุมไม้ย่ีสิบองค์ปรางค์ไม่มีมุขมี
ประตูทางเข้าด้านทิศตะวันออกเช่นเดียว
กับปรางค์ประธาน มที บั หลงั ๒ ชน้ิ ชน้ิ
ท่ี ห นึ่ ง เ ป็ น ภ า พ พ ร ะ ก ฤ ษ ณ ฆ่ า ช้ า ง แ ล ะ
คชสหี ์ (ปัจจบุ นั เกบ็ รกั ษาไว้ทพี่ ิพธิ ภณั ฑ์
สถานแห่งชาติพิมาย)ท่ีปรางค์บริวาร
องค์ทิศตะวันตกพบจารึกหินทรายท่ีผนัง
กรอบประตูเป็นจารึกอักษรธรรมอีสาน
ภาษาไทย-บาลีเร่ืองราวท่ีจารึกกล่าวถึง
กลุ่มพระเถระผู้ใหญ่และท้าวพระยาร่วม

กันบรู ณะโบราณสถานแห่งน้ี

ปรางค์บริวาร

ปรางคบ์ รวิ ารจะมที งั้ หมดอย ู่4 องค์

สระน้ำ�รอบปราสาท

สระนำ้ � มจี ำ�นวน ๓
สระ สระทหี่ นงึ่ ตั้งอย่ทู าง
ดา้ นทศิ เหนอื มคี วามยาว
ล้อมออ้ มไปถงึ มุมทศิ ตะวนั
ออกเฉียงเหนือ สว่ นอีก ๒
สระ ตงั้ อยทู่ างด้านทิศใต้
และทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้

รปู ภาพและวีดโี อ

รปู ภาพและวีดโี อ

END


Click to View FlipBook Version