สรรพคณุ และประโยชนข์ องทเุ รียน 25 ขอ้
“ทุเรียน”
ทเุ รยี น ชอื่ สามญั Durian (มาจากคาวา่ duri ในภาษามาเลย์ซึง่ แปลวา่ "หนาม")
ทุเรียน ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Durio zibethinus L. (ชอ่ื พอ้ งวทิ ยาศาสตร์ Durio acuminatissimus Merr., Durio
stercoraceus Noronha) จดั อยู่ในวงศช์ บา (MALVACEAE)
ทเุ รยี นเป็นผลไมท้ ่ีอยวู่ งศ์ฝ้าย ในสกุลทุเรยี น (แตน่ กั อนกุ รมวิธานบางท่านจดั ใหท้ เุ รยี นอยู่ในวงศ์ทเุ รียน) ทุเรยี น
จดั วา่ เป็นราชาผลไมไ้ ทย โดยเป็นพืชพน้ื เมืองของประเทศมาเลเซีย อนิ โดนีเซยี และบรไู น โดยลกั ษณะของผลทเุ รียนจะมี
ขนาดใหญ่ ผลรถี งึ กลม และมีเปลือก( สีเขยี วถงึ สนี ้าตาล) ทีป่ กคลมุ ไปด้วยหนามแข็ง ผลทุเรยี นอาจมีเส้นผ่าน
ศูนยก์ ลางของผลยาวถงึ 15 ซม. นา้ หนักโดยทั่วไปประมาณ 1-3 กโิ ลกรมั และมีเน้ือที่นามารบั ประทานเปน็ สเี หลืองซดี
จนถึงสแี ดง ซ่ึงจะแตกตา่ งกนั ออกไปตามสายพันธุ์
ทุเรียนมมี ากกว่า 30 ชนดิ แตม่ ีเพียง 9 ชนดิ เท่าน้นั ท่สี ามารถรบั ประทานได้ ไดแ้ ก่ Durio zibethinus, Durio
dulcis, Durio grandiflorus, Durio graveolens, Durio kutejensis, Durio lowianus, Durio macrantha, Durio
oxleyanus และ Durio testudinarum แตม่ ีเพยี งสายพนั ธุ์ Durio zibethinus ชนดิ เดียวเทา่ นน้ั ทไี่ ด้รับความนยิ มท่ัวโลก
และชนดิ นก้ี แ็ บ่งแยกยอ่ ยไปอีกมากกวา่ 200 สายพนั ธุ์ โดยสายพนั ธ์ทุ ไ่ี ดร้ บั ความนิยมและปลูกกันมากกค็ อื พนั ธ์ุ
หมอนทอง ชะนี กระดมุ ทอง และพันธุ์กา้ นยาว เป็นตน้
ทุเรียนเป็นผลไมท้ ่กี ล่นิ เฉพาะตัวประโยชนข์ องทุเรยี น โดยเนอ้ื ในจะเหมอื นคัสตารด์ มีรสชาตคิ ล้ายอลั มอนด์
สาหรบั บางคนนั้นบอกวา่ ทเุ รยี นมีกล่ินหอม แต่ในขณะทีบ่ างคนกลับมองวา่ มนั มกี ลิ่นเหม็นรนุ แรงจนถึงขัน้ สะอดิ สะเอยี น
เลยทเี ดียว (ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ขาห้ามนาทเุ รยี นเข้าไปในโรงแรมและการขนสง่ สาธารณะ) ทเุ รียนนนั้ เราสามารถ
รับประทานได้ท้งั สกุ และหา่ มแลว้ แต่คนชอบ นอกจากนย้ี ังนาไปใชท้ าอาหารไดอ้ ยา่ งหลากหลาย แม้แต่เมลด็ กร็ บั ประทาน
ไดแ้ ตต่ อ้ งทาให้สกุ กอ่ น
สรรพคณุ ของทเุ รยี น
1. ช่วยทาให้ฝแี หง้ (เน้อื ทุเรยี น)
2. ชว่ ยแกโ้ รคผิวหนงั (เนื้อทเุ รยี น)
3. สารสกัดจากใบและรากทุเรยี นใชเ้ ปน็ ยาแกไ้ ข้ได้ ดว้ ยการใชน้ า้ จากใบวางบนศรี ษะของผปู้ ว่ ยจะช่วยลดไขไ้ ด้
(ราก, ใบ)
4. ทุเรยี นมสี รรพคณุ ชว่ ยแกอ้ าการทอ้ งรว่ ง (ราก)
5. ช่วยขบั พยาธิ (ใบ, เน้อื ทุเรียน)
6. ทเุ รยี นมีสรรพคณุ ทางยาชว่ ยแก้ดีซา่ น (ใบ)
7. ช่วยทาให้หนองแหง้ (ใบ)
8. ชว่ ยแกต้ านซาง (เปลอื ก)
9. ชว่ ยรักษาโรคคางทูม (เปลือก)
10. ชว่ ยแก้นา้ เหลืองเสีย (เปลอื ก)
11. ช่วยแก้ฝี (เปลือก)
12. ช่วยรกั ษาแผลพพุ อง (เปลอื ก)
13. ใชส้ มานแผล (เปลือก)
14. เปลอื กทเุ รยี นใชไ้ ลย่ งุ และแมลง (เปลอื ก)
ประโยชน์ของทเุ รียน
1. ทเุ รียนพันธุห์ มอนทองสามารถชว่ ยลดระดับไขมนั หรอื คอเลสเตอรอลได้ เพราะทเุ รยี นสายพันธุ์น้ีมสี ารโพลฟี ีนอล
(Pholyphenols) และมีเส้นใยท่ชี ว่ ยลดไขมันได้ แต่วา่ ตอ้ งรบั ประทานแค่ 1 พตู อ่ วัน (นพ.กฤษดา ศริ ามพชุ )
2. เนอื่ งจากทเุ รยี นมีสารตอ่ ต้านอนมุ ลู อิสระ (โดยเฉพาะพนั ธหุ์ มอนทอง) การบรโิ ภคทเุ รยี นในปรมิ าณทเี่ หมาะสม
จะช่วยป้องกันการเกิดโรคในมนษุ ยไ์ ด้ เช่น โรคหัวใจ และโรคมะเรง็ เปน็ ต้น
3. แม้ทเุ รยี นจะมไี ขมันมากกต็ าม แตก่ เ็ ป็นไขมันชนดิ ดที ไ่ี มเ่ ป็นโทษตอ่ ร่างกาย
4. เสน้ ใยของทุเรียนมีส่วนช่วยในการขบั ถ่ายให้สะดวกยงิ่ ขน้ึ
5. ผลสามารถนามาแปรรูปหรอื ทาเปน็ ขนมหวานไดห้ ลายชนดิ เชน่ ลูกกวาดโบราณ, ขนมไหวพ้ ระจนั ทร,์ ขนมปงั
สอดไส้, ไอศกรมี , มิลก์เชก, เคก้ , คาปชู ิโน, ขา้ วเหนยี วทุเรียน, เตม็ โพยะก,์ ทเุ รียนดอง, ทเุ รียนแช่อมิ่ , ทเุ รยี นกวน,
ทเุ รียนกรอบ, แยมทุเรียน ฯลฯ
6. ทเุ รยี น ประโยชนข์ องเมลด็ ทุเรยี นสามารถรบั ประทานได้ โดยนามาทาใหส้ กุ ด้วยวิธีการคว่ั การทอดในนา้ มนั
มะพร้าว หรอื การนง่ึ โดยเนื้อในจะมีลกั ษณะคลา้ ยกับเผอื กหรอื มันเทศแตเ่ หนยี วกวา่
7. ใบอ่อนหรือหนอ่ ของทเุ รยี นสามารถนามาใชท้ าอาหารบางอยา่ งคลา้ ยกับผักใบเขยี วได้เชน่ กัน
8. เปลอื กทเุ รยี นสามารถนามาใชเ้ ป็นเชอ้ื เพลงิ ในการรมควนั ปลา
9. เปลอื กสามารถนามาผลิตทาเป็นกระดาษได้ ซึง่ จะมีเสน้ ใยเหนยี วนุ่มและเหนียวกว่าเน้อื กระดาษสา
10. ในประเทศอนิ โดนีเซียมกี ารนาดอกทเุ รียนมารับประทาน
11. สาหรับความเชอ่ื ในบ้านเราน้นั การปลูกตน้ ทุเรยี นไวใ้ นบริเวณบา้ น (ปลูกทางทิศตะวันออกเฉยี งเหนอื ) เช่อื วา่
ผ้อู ย่อู าศยั จะเปน็ ผมู้ คี วามรู้ แกว่ ิชาการเรียน หรอื เป็นผรู้ ู้มาก เพราะคาวา่ ทุเรียนมีเสียงพอ้ งกบั เกย่ี วกบั การเรยี นน่นั เอง
คณุ คา่ ทางโภชนาการของเนื้อทุเรยี นต่อ 100 กรมั
• สรรพคณุ ของทเุ รยี นพลังงาน 174 กิโลแคลอรี
• คาร์โบไฮเดรต 27.09 กรมั
• เส้นใย 3.8 กรัม
• ไขมนั 5.33 กรมั
• โปรตนี 1.47 กรมั
• วิตามินเอ 44 หน่วยสากล
• วติ ามนิ บี 1 0.374 มิลลิกรัม 33%
• วิตามนิ บี 2 0.2 มิลลิกรมั 17%
• วติ ามินบี 3 1.74 มิลลกิ รมั 7%
• วติ ามนิ บี 5 0.23 มลิ ลกิ รัม 5%
• วิตามินบี 6 0.316 มลิ ลกิ รมั 24%
• วิตามินบี 9 36 ไมโครกรัม 9%
• วติ ามินซี 19.7 มลิ ลกิ รัม 24%
• ธาตแุ คลเซยี ม 6 มลิ ลกิ รมั 1%
• ธาตุเหล็ก 0.43 มลิ ลกิ รมั 3%
• ธาตแุ มกนีเซียม 30 มลิ ลิกรัม 8%
• ธาตแุ มงกานสี 0.325 มลิ ลิกรัม 15%
• ธาตฟุ อสฟอรัส 39 มลิ ลิกรัม 6%
• ธาตโุ พแทสเซียม 436 มลิ ลกิ รมั 9%
• ธาตุโซเดียม 2 มลิ ลกิ รมั 0%
• ธาตุสังกะสี 0.28 มลิ ลกิ รัม 3%
% รอ้ ยละของปริมาณแนะนาท่รี ่างกายตอ้ งการในแตล่ ะวันสาหรบั ผู้ใหญ่ (ขอ้ มูลจาก : USDA Nutrient database)
โทษของทุเรยี น : เน่อื งจากทุเรยี นเป็นผลไมท้ ่ีมนี า้ ตาลสงู และยงั อุดมไปดว้ ยไปดว้ ยไขมันและกามะถัน ผลไม้ชนิดนจ้ี ึงไม่
เหมาะสาหรบั ผ้ปู ว่ ยทีเ่ ป็นโรคเบาหวาน เพราะหากรับประทานเข้าไปอาจจะทาให้ระดับนา้ ตาลในเลอื ดสงู ข้นึ อย่างรวดเร็ว
ทาให้รสู้ กึ ไมส่ บายเน้ือสบายตัว ทาให้เกิดรอ้ นในอีกดว้ ย และสาหรบั บุคคลทัว่ ไปควรจะบริโภคแตน่ อ้ ย และยงั มคี วามเชอื่
โบราณทห่ี า้ มให้หญิงตงั้ ครรภ์หรอื ผทู้ ่ีมดี ันโลหติ สูงรับประทานทุเรยี น และไม่ควรรบั ประทานทุเรยี นร่วมกับเคร่อื งด่มื
แอลกอฮอล์และกาแฟ เพราะเปน็ ของรอ้ นทั้งคู่ เดี๋ยวจะหลบั ไมต่ ่นื ฟืน้ ไม่มีได้ !