The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rexciseoffice, 2023-03-12 23:10:44

จุลสาร 66_1

จุลสาร 66_1

ประโยคภาษาอังกฤษในสนามบิน : การซื้อตั๋วเครื่องบิน (ต่อ) 7. I would like to sit next to the aisle. ฉันต้องการที่นั่งติดทางเดิน 8. How much does it cost? ราคาเท่าไหร่ 9. Does this price include the checked baggage? ราคานี้รวมสัมภาระใ สั ต้ท้องเครื่องหรือยัง 10. This price includes checked baggage for 20 kilograms of weight allowance. ราคานี้รวมสัมภาระใ สั ต้ท้องเครื่อง 20 กิโลกรัมแล้วค่ะ/ครับ 1. Where are you flying to today? คุณกำลังจะเดินทางไปที่ไหนคะ 2. Where is your final destination? จุดหมายปลายทางของคุณคือที่ไหนคะ ประโยคภาษาอังกฤษในสนามบิน : เช็คอิน 4. May I have your ticket, please? ขอตั๋วของคุณได้ไหมคะ/ครับ 3. May I have your passport, please? ขอหนังสือเสื ดินทางของคุณได้ไหมคะ/ครับ 6. Here's your boarding pass. อันนี้เป็นตั๋วเดินทางของคุณค่ะ/ครับ 5. Are you checking any bags? มีกระเป๋าที่ต้องโหลดใต้เครื่องไหมคะ/ครับ 7. The boarding time is 12:15 p.m. at Gate 12. เวลาเรียกขึ้นเครื่องคือ 12.15 ที่ประตู 12 นะคะ/ครับ [49]


ประโยคภาษาอังกฤษในสนามบิน : บนเครื่องบิน 1. Excuse me. Where is my seat? ขอโทษนะคะ ที่นั่งของฉันอยู่ตรงไหน 2. Excuse me, someone is sitting in my seat. ขอโทษนะคะ มีคนนั่งตรงที่ของฉัน 3. Your seat is on the left in row M. ที่นั่งของคุณอยู่ทางซ้ายมือ แถว M ค่ะ/ครับ 4. Could you help me with my luggage / bag, please? คุณช่วยฉันยกกระเป๋าได้ไหม 5. May I have (drinks / a blanket), please? ฉันขอ (เครื่องดื่ม / ผ้าห่ม) หน่อยได้ไหมคะ 6. Can you help me with the entertainment system, please? คุณช่วยแนะนำวิธีการใช้จอให้ความบันเทิงได้ไหมคะ 8. Please fasten your seatbelt. กรุณาคาดเข็มขัดนิรภัยด้วยค่ะ/ครับ 7. Can you help me fill out the arrival / departure card, please? คุณช่วยฉันกรอกใบขาเข้า / ขาออกเมืองได้ไหมคะ ศัพศั ท์น่ารู้ 1. Departures ขาออก 2. Arrivals ขาเข้า 3. Domestic การเดินทางภายในประเทศ 4. International การเดินทางระหว่างประเทศ 5. Destination จุดหมาย 6. Boarding time เวลาขึ้นเครื่อง 7. Check-in counter เคาน์เตอร์เช็คอิน 8. Boarding pass บัตรผ่านขึ้นเครื่อง 9. Gate ประตูขึ้นเครื่อง 10. Immigration counter ด่านตรวจคนเข้าเมือง ขอบคุณข้อมูลจาก : Learntalk หนังสือ Short Note Sentences ประโยค สื พื้นฐาน สั้น-สั้ ง่าย-ใช้บ่อย ในการสนทนาภาษาอังกฤษ ข้อมูลจาก : https://www.globish.co.th/blog/professional/englishfortravelling [50]


ยา ก่อนอาหาร พร้อมอาหาร หลังอาหาร ต่างกันอย่างไร ยาก่อนอาหาร ควรรับประทานในช่วงที่ท้องว่าง ซึ่งก็คือก่อนรับประทาน อาหารอย่างน้อย 30 นาที เหตุผลที่ต้องรับประทานยาก่อนอาหาร • ยาอาจถูกทำลายและประสิทธิภาพลดลงในสภาวะกรดที่กระเพาะอาหารหลั่ง ออกมาหลังมื้ออาหาร เช่น ยา omeprazole • อาหารอาจส่งผลให้ลดการดูดซึมของยาเข้าสู่ร่างกาย เช่น ยา norfloxacin levothyroxine ยาที่ออกฤทธิ์เพิ่มการเคลื่อนไหวของระบบทางเดินอาหาร ยาลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน รวมทั้งยาที่ออกฤทธิ์เพิ่มการหลั่งอินซูลินจะใช้ เวลาประมาณ 30 นาทีก่อนที่จะออกฤทธิ์ เช่น domperidone metoclopramide และยากลุ่ม Sulfonylureas หากลืมรับประทานยา ให้รับประทานยาประมาณ 2 ชั่วโมงหลังรับประทานอาหาร แต่ยาที่ต้องรับประทาน ในมื้อถัดไปอยู่แล้ว ให้รับประทานยาก่อนอาหารมื้อถัดไปแทนได้เลย ต้องรับประทานยาซ้ำ และ ไม่ต้องเพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่าในมื้อต่อไป [51]


ยาพร้อมอาหาร ให้รับประทานยา พร้อมอาหารคำแรก เหตุผลที่ต้องรับประทานยาพร้อมอาหาร • ยาบางชนิดมีคุณสมบัติหรือการออกฤทธิ์ เฉพาะ ออกฤทธิ์ยับยั้งการสลายตัวของ อาหารจำพวกแป้งไปเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว จึงต้องรับประทานเมื่อมีแป้งในทางเดิน อาหาร เช่น ยา acarbose • ยามีคุณสมบัติระคายเคืองทางเดินอาหาร หากลืมรับประทานยา ให้รับประทานพร้อมอาหารมื้อถัดไปโดยไม่ต้องเพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่า ยาหลังอาหาร ควรรับประทานยาหลังอาหารทันทีและไม่ควรนานเกิน 15 นาที หลังรับประทานอาหาร เหตุผลที่ต้องรับประทานยาหลังอาหาร • ยามีคุณสมบัติ ระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน การรับประทานยาพร้อมหรือหลังรับประทานอาหารทันที จะช่วยลดอาการ เหล่านี้ได้ ตัวอย่างยา เช่น metformin และ ยากลุ่ม NSAIDs • ยาบางชนิดต้องการกรดในกระเพาะอาหารช่วยในการดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งกรดในกระเพาะอาหารจะหลั่งสูงสุดในระหว่างที่รับประทานอาหารเท่านั้น ตัวอย่างยา เช่น ketoconazole cefditoren และ pivoxil หากลืมรับประทานยา สามารถรับประทานยาได้ทันทีที่นึกได้ไม่เกิน 15 นาที หากเกิน 15 นาทีแล้ว ควรรับประทานยาหลังอาหารในมื้อถัดไป โดยไม่ต้องเพิ่มขนาด ยาหรือรับประทานอาหารมื้อย่อยก่อนรับประทานยา ข้อมูลจาก : Volume : ฉบับที่ 45 เดือนกรกฎาคม 2565 Column : Rama RDU Writer Name : ภญ.นันทพร เล็กพิทยา งานเภสัชกรรมคลินิก คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาพจาก : freepik [52]


จัดเก็บได้ เป้าหมาย (567,000 ล้านบาท) สูง (ต ่า) จัดเก็บได้ สูง (ต ่า) ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ ไตรมาสนี้ปี ก่อน ร้อยละ 1 น ้ามันและผลิตภัณฑ์น ้ามัน 21,303.400 50,836.135 (58.09) 44,844.467 (52.49) 2 รถยนต์ 26,604.485 21,048.953 26.39 22,888.000 16.24 3 เบียร์ 44.715 16.467 171.54 21.289 110.04 4 ยาสูบ 954.847 967.182 (1.28) 992.423 (3.79) 5 สุรา 1,551.922 1,369.706 13.30 1,400.388 10.82 6 เครื่องดื่ม 1,538.257 1,410.858 9.03 1,412.128 8.93 7 เครื่องไฟฟ้า - - - - - 8 รถจักรยานยนต์ 485.920 328.543 47.90 332.126 46.31 9 แบตเตอรี่ 614.909 494.295 24.40 559.260 9.95 10 สนามกอล์ฟ 50.979 30.295 68.27 26.585 91.76 11 สถานอาบน ้า อบตัวหรือนวด 1.578 1.802 (12.42) 0.002 71,327.93 12 เครื่องหอมและเครื่องส าอาง 108.675 86.567 25.54 95.395 13.92 13 ไนท์คลับและดิสโก้เธค 5.0286 2.2342 125.07 0.0003 1,571,333.01 14 แก้วและเครื่องแก้ว - - - - - 15 ไพ่ 0.000018 - 100.00 0.00152 (98.80) 16 พรม - - - 0.0001 (100.00) 17 เรือ - - - - - 18 สารท าลายชั้นบรรยากาศ - - - - - 19 อื่นๆ 10.513 - - 12.000 (12.39) 20 รายได้เบ็ดเตล็ด 24.376 41.035 (40.60) 45.131 (45.99) 53,299.606 76,634.070 (30.45) 72,629.194 (26.61) แผนภูมิการจัดเก็บรายได้ภาษีสรรพสามิต ไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม - ธันวาคม 2565) ปี งบประมาณ 2566 สถิติผลการจัดเก็บรายได้ภาษีสรรพสามิต ส านักงานสรรพสามิตภาคที่2 แยกตามประเภทสินค้า ไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม - ธันวาคม 2565) ปี งบประมาณ 2566 เปรียบเทียบกับเป้าหมาย เปรียบเทียบกับจัดเก็บได้ไตรมาสนี้ ปี ก่อน ประเภท รวมทั้งสิ้น ข้อมูลจากระบบ BI ณ วันที่ 10 มกราคม 2566 น ้ำมัน 39.97% รถยนต์ 49.91% สุรำ 2.91% เครื่องดื่ม 2.89% ยำสูบ 1.79% รำยได้อื่นๆ 2.53% 0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 53,299.606 76,634.070 72,629.194 ล้ำนบำท ปีนี้เป้ ำหมำย ปีก่อน [53]


จัดเก็บได้ เป้าหมาย (567,000 ล้านบาท) สูง (ต ่า) จัดเก็บได้ สูง (ต ่า) ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ ไตรมาสนี้ปี ก่อน ร้อยละ 1 ชลบุรี 1 938.387 781.101 20.14 1,265.655 (25.86) 2 ชลบุรี 2 18,218.322 29,939.035 (39.15) 27,396.654 (33.50) 3 ระยอง 1 8,340.015 26,114.233 (68.06) 22,794.227 (63.41) 4 ระยอง 2 6,627.237 5,291.180 25.25 5,283.969 25.42 5 สมุทรปราการ 1 6,120.723 3,934.022 55.58 4,796.894 27.60 6 สมุทรปราการ 2 2,900.758 2,646.783 9.60 2,949.785 (1.66) 7 จันทบุรี 6.945 5.316 30.63 6.057 14.65 8 ฉะเชิงเทรา 7,888.656 5,856.871 34.69 5,740.660 37.42 9 ตราด 1.966 1.599 22.90 2.872 (31.56) 10 ปราจีนบุรี 2,251.941 2,058.974 9.37 2,385.244 (5.59) 11 สระแก้ว 2.489 3.443 (27.73) 4.878 (48.98) 12 นครนายก 2.168 1.513 43.32 2.299 (5.72) 53,299.606 76,634.070 (30.45) 72,629.194 (26.61) สถิติผลการจัดเก็บรายได้ภาษีสรรพสามิต ส านักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 แยกตามพืนที้ ่ ไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม - ธันวาคม 2565) ปี งบประมาณ 2566 แผนภูมิรายได้เปรียบเทียบกับเป้ าหมายและจัดเก็บได้ปี ก่อน ไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม - ธันวาคม 2565) ปี งบประมาณ 2566 เปรียบเทียบกับเป้าหมาย เปรียบเทียบกับจัดเก็บได้ไตรมาสนี้ ปี ก่อน พื้นที่ รวมทั้งสิ้ น ข้อมูลจากระบบ BI ณ วันที่ 10 มกราคม 2566 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 ล้ำนบำท ปีนี้ เป้าหมาย ปีก่อน [54]


ประมาณการ เป้าหมาย จับกุมได้ ร้อยละ เป้าหมาย ปรับจริง ร้อยละ ศาลปรับ สุรา 248 350 41.13 2,808,836.00 3,908,792.61 39.16 105,000.00 ยาสูบ 131 328 150.38 5,391,827.00 17,011,885.19 215.51 54,519,521.24 ไพ่ 2 4 100.00 4,167.00 43,515.00 944.28 - สินค้าและบริการ 19 36 89.47 1,169,665.00 3,277,907.21 180.24 - - น ้ำมันฯ - 11 - - 1,187,592.00 - - เครื่องดื่ม - 2 - - 89,185.00 - - เครื่องไฟฟ้ำ - - - - - - - รถยนต์ - 5 - - 462,200.00 - - รถจักรยำนยนต์ - 7 - - 240,626.66 - - เครื่องหอมฯ - 3 - - 1,040,125.55 - - แบตเตอรี่ - 8 - - 258,178.00 - - ไนต์คลับ/ดิสโก้เธค - - - - - - - อำบอบนวด - - - - - - - สนำมกอล์ฟ - - - - - - - อื่น ๆ - - - - - - รวมทั้งสิ้ น 400 718 79.50 9,374,495.00 24,242,100.01 158.60 54,624,521.24 ประเภท พ.ร.บ. จ านวนคดี (ราย) ค่าเปรียบเทียบปรับ (บาท) ผลการปฏิบัติงานด้านการปราบปราม ส านักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 แยกตามสินค้า ไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม - ธันวาคม 2565) ปี งบประมาณ 2566 0 50 100 150 200 250 300 350 รำย แผนภูมิจ ำนวนคดีที่จับได้ เปรียบเทียบกับเป้ ำหมำย แยกตำม พ.ร.บ. เป้าหมาย จับกุมได ้ 0 2,000,000 4,000,000 6,000,000 8,000,000 10,000,000 12,000,000 14,000,000 16,000,000 18,000,000 บำท แผนภูมิค่ำเปรียบเทียบปรับ เปรียบเทียบกับเป้ ำหมำย แยกตำมสนค้ำ ิ เป้าหมาย ปรับจริง [55]


ประมาณการ เป้าหมาย จับกุมได้ ร้อยละ เป้าหมาย ปรับจริง ร้อยละ ศาลปรับ ชลบุรี 1 18 74 311.11 500,000.00 1,553,597.46 210.72 19,603,126.60 ชลบุรี 2 30 74 146.67 1,250,000.00 4,016,350.24 221.31 5,828,980.95 ระยอง 1 27 32 18.52 701,000.00 921,427.77 31.44 - ระยอง 2 21 33 57.14 570,000.00 1,274,652.40 123.62 2,900,275.90 สมุทรปราการ 1 75 170 126.67 944,829.00 3,164,955.30 234.98 1,239,848.00 สมุทรปราการ 2 45 70 55.56 550,500.00 1,962,762.90 256.54 314,000.00 จันทบุรี 30 81 170.00 593,499.00 4,653,440.30 684.07 741,414.00 ปราจีนบุรี 25 27 8.00 300,000.00 523,512.89 74.50 - ตราด 22 33 50.00 335,833.00 482,539.60 43.68 1,602,689.00 สระแก้ว 72 62 (13.89) 3,100,000.00 3,164,193.26 2.07 21,391,824.79 นครนายก 5 17 240.00 28,834.00 510,744.90 1,671.33 1,002,362.00 ฉะเชิงเทรา 30 45 50.00 500,000.00 2,013,922.99 302.78 - รวมทั้งสิ้ น 400 718 79.50 9,374,495.00 24,242,100.01 158.60 54,624,521.24 พื้นที่ จ านวนคดี (ราย) ค่าเปรียบเทียบปรับ (บาท) ผลการปฏิบัติงานด้านการปราบปราม ส านักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 แยกตามพืนที้ ่ ไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม - ธันวาคม 2565) ปี งบประมาณ 2566 0 50 100 150 200 ชลบุรี 1 ชลบุรี 2 ระยอง 1 ระยอง 2 สมุทรปราการ 1 สมุทรปราการ 2 จันทบุรี ปราจีนบุรี ตราด สระแก ้ว นครนายก ฉะเชงเทราิ รำย ผลจ ำนวนคดีปรำบปรำมของแต่ละพืนที่เปรียบเทียบกับเป้ ำหมำยแยกตำมพื ้ นที่ ้ เป้าหมาย จับกุมได ้ 0 1,000,000 2,000,000 3,000,000 4,000,000 5,000,000 บำท ค่ำเปรียบเทียบปรับของพืนที่เปรียบเทียบกับเป้ ำหมำยแยกตำมพื ้ นที่ ้ เป้าหมาย ปรับจริง [56]


ภาพก ิ จกรรม กิจกรรมสภากาแฟ จังหวัดชลบุรี ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2566 วันที ่ 30 พฤศจิกายน 2565 นายละนอง แก้วศรีช่วง ผู้อำนวยการสำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 ร่วมกิจกรรมสภากาแฟ จังหวัดชลบุรี ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการเสริมสร้างบูรณาการ ร่วมมือระหว่างหน่วยงาน แลกเปลี่ยนข้อราชการระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี กับหน่วยงานภายในจังหวัดชลบุรี อย่างไม่เป็นทางการ ณ อาคารโรงฝึกกีฬาอเนกประสงค์ มหาวิทยาลัยกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตชลบุรี ต.หนองไม้แดง อ.เมือง จ.ชลบุรี [57]


ภาพก ิ จกรรม ผู้อำนวยการสำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 เป็นวิทยากร บรรยายหัวข้อ เรื่องกฎหมายภาษี สรรพสามิตกับการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านการควบคุมสุราและยาสูบ วันที่ 28 - 29 พฤศจิกายน 2565 นายละนอง แก้วศรีช่วง ผู้อำนวยการสำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 ได้เป็นวิทยากร บรรยายหัวข้อเรื่อง กฎหมายภาษีสรรพสามิตกับการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านการควบคุมสุรา และยาสูบ ในการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ควบคุม การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบชาติ ณ โรงแรม เฮลท์ แลนด์ รีสอร์ท แอนด์ สปา พัทยา จังหวัดชลบุรี [58]


ภาพงานปราบปราม สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 ส่วนตรวจสอบ ป้องกันและปราบปราม ได้จับกุมผู้ต้องหา จำนวน 1 ราย พร้อมด้วยของกลาง เครื่องดื่ม จ ำ นวน 2 6 3,6 1 7 มิล ลิลิต ร ก ล่า วห าว่า มีไว้เพื่อขายซึ่งสินค้าที่มิได้เสียภาษีเหตุเกิดที่ ห้างสรรพสินค้าแห่งหนึ่ง ตำบลหนองปรือ อำเภอ บางละมุง จังหวัดชลบุรี เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 44,592.70 บาท สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 ส่วนตรวจสอบ ป้องกันและปราบปราม ได้จับกุมผู้ต้องหา จำนวน 1 ราย พร้อมด้วยของกลาง บุหรี่ซิกาแรต จำนวน 1,800 ซอง กล่าวหาว่า มีไว้เพื่อขายซึ่งสินค้าที่มิได้เสียภาษี เหตุเกิดที่ ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 1,695,600.00 บาท ส ำ นัก ง า นส ร ร พ ส า ม ิต ภ า ค ท ี่ 2 ส่วนตรวจสอบ ป้องกันและปราบปราม ได้จับกุมผู้ต้องหา จำนวน 1 ราย พร้อมด้วย ของกลาง บุหรี่ซิกาแรต จำนวน 164 ซอง กล่าวหาว่า มีไว้เพื่อขายซึ่งสินค้าที่มิได้เสียภาษี เหตุเกิดที่ ตำบลท่าบุญมี อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัด ชลบุรีเปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 69,564.10 บาท [59]


ภาพงานปราบปราม สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 ส่วนตรวจสอบ ป้องกันและปราบปราม ได้จับกุมผู้ต้องหา จำนวน 1 ราย พร้อมด้วย ของกลาง บุหรี่ซิกาแรต จำนวน 38 ซอง กล่าวหาว่า มีไว้เพื่อขายซึ่งสินค้าที่มิได้ เสียภาษี เหตุเกิดที่ ตำบลท่าบุญมี อำเภอ เกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 35,796.00 บาท สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 ส่วนตรวจสอบ ป้องกัน และปราบปราม ได้จับกุมผู้ต้องหา จำนวน 1 ราย พร้อมด้วย ของกลาง บุหรี่ซิกาแรต จำนวน 28 ซอง กล่าวหาว่า มีไว้เพื่อขาย ซึ่งสินค้าที่มิได้เสียภาษี เหตุเกิดที่ ร้านค้าไม่มีเลขที่ ตำบลตลาด อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 27,519.45 บาท สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 ส่วนตรวจสอบ ป้องกันและปราบปราม ได้จับกุมผู้ต้องหา จำนวน 1 ราย พร้อมด้วยของกลาง บุหรี่ซิกาแรต จำนวน 214 ซอง กล่าวหาว่า มีไว้เพื่อขายซึ่งสินค้าที่มิได้เสียภาษี เหตุเกิดที่ บ้านไม่มีเลขที่ ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 134,392.00 บาท [60]


Click to View FlipBook Version