The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rexciseoffice, 2022-11-14 01:48:24

จุลสาร 64_4

จุลสาร 64_4

Excise Law Corner Tips Health
• ขา่ วกรมสรรพสามิต • ประกาศกรมสรรพสามิต
• แกป้ ัญหาการนอนไมห่ ลบั
2 13
แค่ปรบั พฤติกรรม

32

Money & Business IT The Secret Of Work
• [How To] วิธีคํานวณดอกเบ�ียบา้ น
• Web 3.0 คืออะไร มีขอ้ ดี ขอ้ เสีย อยา่ งไร • 5 วิธีเลิกผดั วนั ประกนั พรง่ ุ
ดอกเบ�ียรถ คิดยงั ไง
ตามหลกั จิตวิทยา ฉบบั เขา้ ใจง่าย
36
39 42

English Today Knowledge Statistic

• รวมคําถามและคําตอบภาษาองั กฤษ • 5 วิธีเอาตวั รอด เม�ือไฟไหมใ้ กลต้ วั •ผลการจดั เก็บรายไดภ้ าษีสรรพสามิต
พิชิต ตม.
46 49
45

Statistic Activity Prevention and Suppression

• ผลการปฏิบตั ิงานดา้ นการปราบปราม • ภาพกิจกรรม • ภาพงานปราบปราม

51 53 57

Editorial

Teamประธานทปี่ รึกษา ปที ี่ 25 ฉบบั ที่ 4 เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2565
นายละนอง แกว้ ศรีชว่ ง
ทปี่ รึกษา สวัสดีท่านผู้อ่านทุกท่านค่ะ พบกับจุลสารสามิตภาค 2
ฉบบั ที่ 4 ของปที ี่ 25 ซ่ึงเป็นฉบบั สุดทา้ ยของปนี ี้กันค่ะ
นายนิคม เหลก็ ศริ ิ
นายนพดล พิพัฒนน์ ภาพร จุลสารสามิตภาค 2 เล่มนี้ ยังคงมีเนื้อหาท่ี
นายสหพฒั น์ ศรลี าพฒั น์ น่าติดตามอ่านอย่างเช่นเคย เริ่มจากคอลัมน์ประจำเล่ม
บรรณาธิการบรหิ าร กับข่าวกรมสรรพสามิต และประกาศกรมสรรพสามิต
นางสภุ าพร วัฒนเจรญิ ออกใหม่ พร้อมมาชวนปรับพฤติกรรมสำหรับคนที่พบ
บรรณาธกิ าร ป ั ญ ห า ก า ร น อ น ไ ม ่ ห ล ั บ จ ะ ป ร ั บ อ ย ่ า ง ไ ร ให้มีพฤติกรรม
ผูช้ ่วยนบายร-กร--ฤณดากิ ธริการรตั นพสิ ุทธก์ิ ิจ การนอนที่ดีขึ้น ส่งผลดีต่อสุขภาพ พร้อมเสริมความรู้
นางสาวกาญจนา ปิยะธรรมาภาพ เรื่องการเงินกับการคำนวณดอกเบี้ยบ้าน ดอกเบี้ยรถ
กองบรรณาธกิ าร คิดอย่างไร แตกต่างกันไหม อ่านได้ที่คอลัมน์เลยค่ะ
นายปณธิ าน ศรประชุม ไมอ่ ยากตกกระแสเทคโนโลยีในอนาคตติดตามท่ีคอลัมน์ IT
นางสาววาสนา อำ่ เจรญิ กับ Web 3.0 คืออะไร มีข้อดี ขอ้ เสยี อยา่ งไร และคอลัมน์
นายรภัสสทิ ธ์ิ กำจรอคั รหิรัญ ความรู้ที่ไม่ควรพลาดกับเรื่องใกล้ตัว อย่าง 5 วิธีเอาตัวรอด
ศลิ ปกรรม เมื่อไฟไหม้ กับวิธีเอาตัวเองให้รอดเมื่อต้องตกอยู่
นายอนพุ งศ์ ราชิน ในสถานการณเ์ พลงิ ไหม้ อย่างนอ้ ยความสญู เสียท่ีเกิดข้ึน
ก็อาจเปล่ยี นจากใหญ่เป็นเล็กไดค้ ่ะ

คนที่ชอบเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศไม่ควรพลาด
คอลัมน์นี้อย่างยิ่งค่ะ กับคอลัมน์ English Today
รวมคำถามและคำตอบภาษาอังกฤษ พิชิต ตม. และ
ผลการจัดเก็บรายได้ภาษีสรรพสามิตและผลการปราบปราม
ผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต รวมทั้งการปฏิบัติงาน
ในไตรมาสที่ 4 ของสำนักงาสรรพสามิตภาคที่ 2 ได้ในท้ายเล่ม
จลุ สารคะ่

สุดท้ายนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจุลสารสามิตภาค 2
เล่มนี้ คงจะทำให้ท่านผู้อ่านเพลิดเพลิน ติดตามเนื้อหาได้
ในเลม่ กนั นะคะ แล้วพบกันใหม่ในฉบับหน้านะคะ

บรรณาธิการบรหิ าร

บทความ ข้อเสนอ ความคดิ เห็น หรือข้อเขยี นใด ๆ ที่ลงพมิ พ์ในจลุ สารเลม่ น้ี
เป็นความคิดเหน็ สว่ นตัวของผู้เขยี น ไมผ่ ูกพนั กับทางราชการแตอ่ ย่างใด
สว่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ สำนกั งานสรรพสามติ ภาคท่ี 2

ฉบับท่ี 39/2565 7 กนั ยายน 2565

กรมสรรพสามิตพร้อมเดนิ หน้ายทุ ธศาสตร์ปี 2566
ขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ มุ่งเน้นสิง่ แวดลอ้ ม สังคมและธรรมาภบิ าล (ESG)

สร้างมาตรฐานสากล เดนิ หนา้ ประเทศไทยสู่ความยงั่ ยืน

สรรพสามิตพร้อมขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ ปี 2566 ด้วยกลยุทธ์ “EASE Excise” มุ่งสู่การเป็น
ผู้นาการจดั เกบ็ ภาษี ส่ิงแวดล้อม สงั คม และธรรมาภิบาล (ESG) สรา้ งมาตรฐานสากล เดินหนา้ ประเทศไทยสคู่ วาม
ย่ังยืน พร้อมรกั ษาผลประโยชนช์ าติ ขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ รกั ษาเสถียรภาพการคลงั และวางรากฐานให้สงั คม

ดร.เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพสามิต เปิดเผยว่า “ในปัจจุบันมี 4 เทรนด์ท่ีท้าทายต่อ
สถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่จะส่งผลตอ่ การดาเนินงานของกรมสรรพสามิต ได้แก่ 1. การฟื้นตวั จากโควิด-19 ท่ามกลาง
สงครามการค้าและราคาพลังงานท่ีปรับตัวสูงข้ึน 2. การเปล่ียนแปลงทางด้านดิจิทัลและเทคโนโลยี ท่ีส่งผลให้เกิด
การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของภาคธุรกิจและผู้บริโภค 3. สังคมผู้สูงอายุส่งผลให้ธุรกิจด้านสุขภาพมีการเติบโตมากข้ึน
และ 4. ภาวะโลกร้อนที่ส่งผลกระทบไปท่ัวโลกทาให้ทุกประเทศต้องให้ความสาคัญกับสิ่งแวดล้อมโดยใช้มาตรการทาง
ภาษีเป็นตัวขับเคล่อื น จะเห็นไดว้ ่า บทบาทของกรมสรรพสามิตนอกจากการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ แล้ว ยังเป็นส่วนสาคัญ
ในการสร้างมาตรฐานและผลักดนั ในเร่ืองดังกล่าวโดยใช้มาตรการภาษีสรรพสามิต ท้งั ในดา้ นการสนบั สนุนอุตสาหกรรม
ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้เติบโต หรือในขณะเดียวกันก็สามารถใช้มาตรการภาษีในการช่วยลดการบริโภคในสินค้าท่ี
เป็นอันตรายต่อสุขภาพ จึงเป็นท่ีมาของยุทธศาสตร์ “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ด้วยภาษีสรรพสามิต โดยมุ่งเน้น
สิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG) สร้างมาตรฐานสากล เดินหน้าประเทศไทยสู่ความย่ังยืน” เพ่ือให้
การขบั เคลอื่ นประเทศไทยสู่ความย่งั ยนื สอดคลอ้ งตามนโยบายภาพใหญ่ของกระทรวงการคลงั และภาครฐั

“ภายใต้การเดินหน้าแผนยุทธศาสตร์ ปี 2566 น้ี กรมได้ทาตามกลยุทธ์ ‘EASE Excise’ ซึ่งหมายถึง
การเป็นกรมสรรพสามิตที่ยืดหยุ่นมีความคล่องตัว มุ่งสู่การเป็นผู้นาการจัดเก็บภาษี สิ่งแวดล้อม สังคม และมี
ธรรมาภบิ าล เพ่อื เดนิ หน้าสู่ความย่งั ยนื โดยจะมงุ่ ดาเนินงานภายใต้ 4 เสาหลกั (Pillar) ได้แก่

เสาท่ี 1. ESG/BCG Focus คือการใช้มาตรการทางภาษีเพ่ือส่งเสริมศักยภาพให้กับสินค้า/บริการ
ในกลุ่ม ESG/BCG เพื่อสนับสนุนเป้าหมายของประเทศในการเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ในปี 2050
และปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) ภายในปี 2065 โดยกรมสรรพสามิตมีแนวทาง
ในการสนับสนุนการนาเอทานอลบริสทุ ธม์ิ าใช้ในการผลิตพลาสตกิ ชีวภาพ (Bio Plastic) เชื้อเพลงิ ชวี ภาพอากาศยาน

[2]

(Bio Jet) ซ่ึงจะช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซดท์ ี่เกิดข้ึนต้งั แต่ในข้ันตอนการผลิตสินค้า อกี ทั้งยังช่วยส่งเสริม
ให้มีการใช้วัตถุดิบทางการเกษตรในประเทศเพิ่มขึ้นอีกด้วย การปรับโครงสร้างภาษีแบตเตอรี่ที่จะให้ความสาคัญกับ
กระบวนการรีไซเคิลเพ่ือลดปัญหามลพิษท่ีเกิดขึ้น นอกจากปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม กรมสรรพสามิตยังให้ความสาคัญ
ในแนวทางการใช้มาตรการภาษีในการลดผลกระทบเชิงสังคม โดยเฉพาะในเรื่องสุขภาพ เพื่อเป็นการช่วยยกระดับ
คุณภาพชีวติ ใหก้ ับพ่ีนอ้ งประชาชน ความม่นั คงของประเทศด้วย

เสาท่ี 2. Agile way of working คือการทางานท่ีเน้นความคล่องตัว พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ
หลากหลายและจาเป็นต่อการปฏิบัติงานยุคใหม่ อาทิ Digital Skill, Data Skill เป็นต้น รวมถึงระบบการถ่ายทอด
ความรู้จากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ การใช้ระบบการทางานแบบ Agile และการนากระบวนการ Design Thinking
มาชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการทางานใหร้ วดเร็ว คลอ่ งตัว และสรา้ งสรรค์ เพอ่ื เท่าทนั กบั การเปลย่ี นแปลงท่ีรวดเรว็

เสาที่ 3. Standardization คือการปรับเปล่ียนกระบวนงานในทุกมิติเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่องค์กรดิจิทัล
(Digital Transformation) และนาประสบการณ์ของผู้เสียภาษีมาสร้างมาตรฐานการให้บริการ (Service Standard)
รวมท้ังการนาระบบการกากับดูแลกิจการท่ีดีท่ีคานึงถึงสังคม ส่ิงแวดล้อม และธรรมาภิบาล (ESG) มาใช้ในกรม
สรรพสามิต

เสาท่ี 4. End-to-End Customer-Centric Service บริการผู้เสียภาษีต้ังแต่ต้นจนจบในทุกช่องทาง
แบบไร้รอยต่อ (Omni Channel) สร้างต้นแบบหน่วยงานบริการแบบไร้กระดาษ (Paperless) มุ่งสู่การเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม และการดาเนินการสู่ความยง่ั ยนื

“ดว้ ยยุทธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธ์ที่กรมสรรพสามิตตั้งใจจะขบั เคลื่อนน้ี จะเป็นการวางรากฐานให้ประเทศ
มีความสามารถในการแขง่ ขัน สร้างเศรษฐกิจใหเ้ ติบโต ส่งเสริมสังคม และสนับสนุนให้ประชาชนในประเทศ มีคุณภาพ
ชีวิตที่ดีขึ้น ท้ังในด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยกรมสรรพสามิตจะเน้นการเป็นกลไกสาคัญของประเทศท่ีส่งเสริมให้
สังคมน่าอยู่ เศรษฐกิจม่ันคงเข้มแข็งและมีเสถียรภาพ พร้อมท้ังช่วยยกระดับขีดความสามารถทางการแข่งขันของ
ประเทศใหม้ มี าตรฐานสากล สรา้ งประโยชน์สูงสดุ และความยง่ั ยนื ให้กับประชาชนและประเทศชาติตอ่ ไป”

*********************************

[3]

ฉบบั ที่ 135/2565 วนั ที่ 13 กนั ยายน 2565

ครม. เห็นชอบขยายเวลาปรับลดอตั ราภาษีสรรพสามติ นํา้ มันดีเซลลงลติ รละ 5 บาท
ออกไปอกี 2 เดือนและขยายเวลาจัดเก็บภาษีสรรพสามิตอตั ราศูนย์สําหรับนํา้ มันดีเซล

และนํา้ มันเตาท่นี ําไปผลติ กระแสไฟฟ้า ออกไปอกี 6 เดือน

________________________________________________________

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลงั เปิ ดเผยผลการประชุมคณะรัฐมนตรีเม่ือวนั ท่ี
13 กนั ยายน 2565 เห็นชอบขยายเวลาปรับลดอตั ราภาษีสรรพสามิตน้าํ มนั ดีเซลลงลิตรละ 5 บาท ออกไปอีก2 เดือน ต้งั แต่
วนั ท่ี 21 กนั ยายน 2565 ถึง 20 พฤศจิกายน 2565 และเห็นชอบให้ขยายเวลาจดั เก็บภาษีสรรพสามิตอตั ราศูนยส์ ําหรับน้าํ มนั
ดีเซล (บี0) และน้าํ มนั เตาที่ใชใ้ นการผลิตกระแสไฟฟ้าตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่อธิบดีประกาศกาํ หนด ออกไป
อีก 6 เดือน ต้งั แต่วนั ที่ 16 กนั ยายน 2565 ถึง 15 มีนาคม 2566เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนใหแ้ ก่ประชาชนและภาคธุรกิจ
ในช่วงที่ราคาเช้ือเพลิงต่าง ๆ ในตลาดโลกปรับตวั สูงข้ึน

ดร. เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพสามิต กล่าวเพิ่มเติมวา่ ตามท่ีกระทรวงการคลงั มอบหมาย
ใหก้ รมสรรพสามิตดาํ เนินมาตรการเพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนใหแ้ ก่ประชาชนและผูป้ ระกอบการจากสถานการณ์ราคา
เช้ือเพลิงต่างๆ ปรับตวั สูงข้ึนจนส่งผลกระทบตอ่ ภาระค่าครองชีพและการฟ้ื นตวั ของเศรษฐกิจ กรมสรรพสามิตจึงไดด้ าํ เนิน
มาตรการภาษีเพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนและภาคธุรกิจมาอยา่ งต่อเนื่องต้งั แต่เดือนกุมภาพนั ธ์ 2565
เป็ นตน้ มา อาทิ การจดั เก็บภาษีสรรพสามิตอตั ราศูนยส์ าํ หรับน้าํ มนั ดีเซล (บี0) และน้าํ มนั เตาที่ใชใ้ นการผลิตกระแสไฟฟ้า
ตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขที่อธิบดีประกาศกาํ หนด การปรับลดอตั ราภาษีสรรพสามิตน้าํ มนั ดีเซลลง 5 บาทต่อลิตร
โดยมาตรการดงั กล่าวจะสิ้นสุดในเดือนกนั ยายน 2565 แต่เนื่องจากสถานการณ์ราคาเช้ือเพลิงต่างๆ ในตลาดโลกยงั คงผนั
ผวนและปรับตวั สูงข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง ประกอบกบั ค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลงส่งผลกระทบต่อตน้ ทุนการนาํ เขา้ เช้ือเพลิงตา่ งๆ ทาํ
ใหร้ าคาขายปลีกน้าํ มนั ดีเซลในประเทศ และตน้ ทุนการผลิตกระแสไฟฟ้าปรับตวั สูงข้ึนจนกระทบเป็ นวงกวา้ งต่อประชาชน
และภาคธุรกิจ จึงมีความจาํ เป็ นตอ้ งใชม้ าตรการทางภาษีไปอีกระยะหน่ึงเพอ่ื ช่วยไม่ใหร้ าคาขายปลีกของน้าํ มนั ดีเซลและค่า
ไฟฟ้าไม่สูงจนกระทบต่อภาระค่าครองชีพของประชาชนและการฟ้ื นฟูเศรษฐกิจ เนื่องจากน้าํ มนั ดีเซล และไฟฟ้าเป็ นตน้ ทุน
การผลิตและการขนส่งของทุกภาคอุตสาหกรรม กรมสรรพสามิตจึงเสนอปรับลดอตั ราภาษีสินคา้ น้าํ มนั และผลิตภณั ฑน์ ้าํ มนั
ประเภทน้าํ มนั ดีเซลลงลิตรละ 5บาทและจดั เก็บภาษีสรรพสามิตอตั ราศูนยส์ ําหรับน้าํ มนั ดีเซล (บี0) และน้าํ มนั เตาท่ีใชใ้ น
การผลิตกระแสไฟฟ้าตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่อธิบดีประกาศกาํ หนดแมว้ า่ การปรับลดอตั ราภาษีในคร้ังน้ีจะ
ส่งผลใหก้ รมสรรพสามิตตอ้ งสูญเสียรายไดเ้ ป็นจาํ นวนเกือบ 20,000 ลา้ นบาทกต็ าม

_______________________________________________

ฝ่ ายประชาสัมพนั ธ์ สาํ นกั งานเลขานุการกรม กรมสรรพสามิต โทร. 02-2415600-18 ตอ่ 552302

[4]



ฉบบั ท่ี 143/2565 วนั ท่ี 20 กนั ยายน 2565

ครม. เห็นชอบขยายเวลาขนึ้ อตั ราภาษคี วามหวานตามปริมาณนา้ ตาลระยะที่ 3
ออกไปอกี 6 เดือน เพื่อบรรเทาภาระค่าครองชีพของประชาชน

________________________________________________________

นายอาคม เติมพิทยาไพสิ ฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เปิ ดเผยผลการประชุม
คณะรัฐมนตรี เม่ือวนั ที่ 20 กนั ยายน 2565 เห็นชอบขยายเวลาปรับข้ึนอตั ราภาษีความหวานตามปริมาณน้าตาล
ระยะที่ 3 ออกไปอีกเป็ นเวลา 6 เดือน ต้งั แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566 เพื่อช่วยบรรเทาภาระ
ค่าครองชีพของประชาชนในปัจจุบนั รวมถึงช่วยใหอ้ ุตสาหกรรมเคร่ืองด่ืมมีระยะเวลาในการปรับตวั เพื่อรองรับ
การปรับข้ึนอตั ราภาษีความหวานตามปริมาณน้าตาลระยะที่ 3 ตอ่ ไป

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าววา่ กรมสรรพสามิตไดเ้ ริ่ม
จดั เก็บภาษีความหวานตามปริมาณน้าตาลในสินคา้ เคร่ืองด่ืมต้งั แต่ปี 2560 เพื่อส่งเสริมใหผ้ ูป้ ระกอบอุตสาหกรรม
มีการปรับสูตรลดปริมาณน้าตาลเพอื่ ส่งเสริมสุขภาพของประชาชนมาโดยตลอด โดยมีการกาหนดโครงสร้างภาษี
ในอตั ราแบบข้นั บนั ได ระยะท่ี 1 ในวนั ท่ี 16 กนั ยายน 2560 ถึง 30 กนั ยายน 2562 ระยะท่ี 2 ในวนั ท่ี 1 ตุลาคม
2562 ถึง 30 กนั ยายน 2564 ระยะที่ 3 ในวนั ท่ี 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กนั ยายน 2566 ต่อมาไดม้ ีการขยายเวลาการ
ปรับข้ึนอตั ราภาษีระยะที่ 3 ออกไป 1 ปี จากวนั ท่ี 1 ตุลาคม 2564 เป็ นวนั ที่ 1 ตุลาคม 2565 ด้วยสถานการณ์
เศรษฐกิจในปัจจุบนั หากมีการปรับข้ึนภาษีตามกาหนดเวลาเดิม อาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและการฟ้ื นตวั
ของอุตสาหกรรมเคร่ืองด่ืม เนื่องจากผปู้ ระกอบการอาจดาเนินการปรับราคาเพิ่มสูงข้ึน ดว้ ยเหตุน้ี กรมสรรพสามิต
จึงเสนอขยายเวลาการข้ึนอตั ราภาษีความหวานตามปริมาณน้าตาลระยะท่ี 3 ออกไปอีกเป็นเวลา 6 เดือน ต้งั แต่วนั ท่ี
1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566

ดร. เอกนิติ นิติทณั ฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพสามิต กล่าววา่ เพ่ิมเติมวา่ “การดาเนินการจดั เก็บ
ภาษีสรรพสามิตความหวานตามปริมาณน้าตาลตามท่ีกาหนดไวน้ ้นั นอกจากจะเป็ นแนวทางดา้ นสาธารณสุขใน
การป้องกนั และควบคุมโรคไม่ติดต่อตามท่ีองคก์ ารอนามยั โลก (WHO) แนะนา ยงั ถือไดว้ า่ เป็ นยุทธศาสตร์ของ
กรมสรรพสามิตท่ีมุ่งหวังจะเป็ นกลไกสาคัญในการวางรากฐานสังคมและสนับสนุนให้ประชาชนในประเทศ
มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องสุขภาพ เพื่อเป็ นการสร้ างความย่ังยืนให้กับประชาชนและ
ประเทศชาตสิ ืบไป”

_______________________________________________

ฝ่ ายประชาสมั พนั ธ์ สานกั งานเลขานุการกรม กรมสรรพสามิต โทร. 02-2415600-18 ตอ่ 552302

[6]



ฉบบั ท่ี 45/2565 5 ตุลาคม 2565

สรรพสามิตจัดการประชุมวชิ าการระดบั อาเซียน
ยกระดบั การบรหิ ารการจัดเกบ็ ภาษดี ว้ ยเทคโนโลยดี ิจิทลั
ม่งุ ส่คู วามเป็นกลางทางคารบ์ อน พรอ้ มเดนิ หน้ายทุ ธศาสตร์ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจ

เดนิ หน้าประเทศสูค่ วามยัง่ ยนื

ก ม ส ร ร พ ส า มิ ต เ ป็ น เ จ้ า ภา พ ก า ร ป ร ะ ชุ ม The ASEAN Director-General Meeting on Digital
Technologies to Enhance Excise Tax Administration and Moving Forward to Carbon Neutrality โดยไดร้ ับเกยี รติ
จาก นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุม พร้อมด้วย
ดร. เอกนิติ นติ ิทณั ฑป์ ระภาศ อธบิ ดีกรมสรรพสามติ ประธานจัดงาน และอธบิ ดที ีก่ ากบั ดแู ลหน่วยงานด้านสรรพสามติ
จากประเทศสมาชิกอาเซียน ผู้แทนจากธนาคารการพัฒนาแหง่ เอเชีย (ADB) ผู้แทนจากคณะกรรมการเศรษฐกิจและ
สังคมของเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติ (UN ESCAP) และผู้แทนจากภาคเอกชนที่เก่ียวข้อง อาทิ สมาคม
อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด บริษัท SICPA SA และบริษัทจันวาณิชย์
ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ต้ิง จากัด ร่วมงาน โดยการประชุมจัดข้ึนในวันท่ี 2 - 4 ตุลาคม 2565 ณ โรงแรม รอยัล คลิฟ (Royal
Cliff) จงั หวัดชลบุรี

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวว่า ปัจจุบันโลกมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีดิจิทัลและห่วงโซ่อุปทาน กระทรวงการคลังและกรมสรรพสามติ ดาเนิน
นโยบายในการขับเคลื่อนประเทศเพ่ือความยั่งยืนของเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของประชาชน จากสถานการณ์
การแพรก่ ระจายของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และสถานการณ์วิกฤตพลังงานในปจั จุบนั ซ่ึงภาครัฐพยายามแก้ไขปัญหา
ท้ังด้านสาธารณสุขและดา้ นเศรษฐกิจส่งผลให้เกดิ ภาระทางการคลงั ดังนั้น การจัดเก็บรายได้ของภาครฐั เปน็ สงิ่ สาคัญ
ในการสร้างฐานะทางการคลังทม่ี ่ันคง โดยการเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารการจัดเก็บภาษีผ่านการนา เทคโนโลยี
ดิจิทัลมาใช้ ตลอดจนการบูรณาการในทุกภาคส่วน สาหรับการประชุมในคร้ังน้ี การสร้าง ความร่วมมือและ
การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในด้านนโยบายภาษสี รรพสามิตกับกลมุ่ ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงมีความสาคัญอย่างยิง่
ทจ่ี ะนาไปสู่การดาเนนิ การแบบบูรณาการรว่ มกนั เพอ่ื เกิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ ประเทศสมาชิกอาเซยี นโดยรวม

ดร. เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพสามิต กล่าวว่า การประชุมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์
เพื่อสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและรับรองวิสัยทัศน์ประชาคมอาเซียน พ.ศ. 2568
(ASEAN Economic Blueprint 2025) ในการแลกเปล่ยี นและเรยี นรู้ประสบการณใ์ นการนาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาปรับใช้

[8]

เพื่อช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี ตลอดจนเกิดความโปร่งใส แม่นยา และตรวจสอบได้ อีกทั้งยังจะนาไปสู่
การลดการกระทาผิดกฎหมาย นอกจากนี้ ยังเปน็ การสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือด้านภาษีสรรพสามิตระหว่างประเทศ
สมาชิกอาเซียน ซ่ึงจะช่วยให้การค้าและการลงทุนระหว่างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสามารถดาเนินไปได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ และช่วยเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ การก้าวไปสู่
ความเป็นกลางทางคารบ์ อน (Carbon Neutrality) เปน็ อีกประเด็นทีท่ ุกประเทศต่างใหค้ วามสาคญั ซ่งึ กรมสรรพสามติ
จะเป็นหน่วยงานท่ีจะช่วยสนับสนุนและผลักดันให้ประเทศไทยสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการดูแลส่ิงแวดล้อม
ท่ยี ัง่ ยนื

ในการประชุมมีการนาเสนอการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลในการเพิ่มประสิทธภิ าพในการบริหารการจัดเก็บ
ภาษีผ่านระบบติดตามและแกะรอย (Tracking and Tracing System) ท่ีช่วยในการบริหารการจัดเก็บภาษี เช่น
การพิมพ์รหัสควบคุมบนบรรจภุ ัณฑ์ (Direct Coding) แสตมป์อิเล็กทรอนิกส์ (E-stamp) และการเติมสารมาร์คเกอร์
(Marker) นอกจากน้ี ยังมีการนาเสนอทิศทางการสนับสนุนอุตสาหกรรการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า (Zero emission
vehicle: ZEV) เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย 30 @ 30 ตามนโยบายของรัฐบาล ซ่ึงเป็นส่วนผลักดันเศรษฐกิจและ
สามารถชว่ ยลดปัญหาด้านมลภาวะทางอากาศและปัญหาโลกรอ้ น โดยผู้แทนจาก UN ESCAP ไดน้ าเสนอเป้าหมายการ
พัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals: SDGs) ในการสร้างหลักประกันให้ทุกคน
สามารถเข้าถึงพลงั งานสมยั ใหมท่ ย่ี ง่ั ยืนในราคาท่ีเขา้ ถึงไดท้ ่ีจะนาไปสู่ Carbon Neutrality ซง่ึ แต่ละประเทศจาเป็นตอ้ ง
มีการลงทุนและสง่ เสรมิ การใช้พลังงานทางเลอื กและพลงั งานทดแทน และผแู้ ทนจาก ADB ได้นาเสนอกระบวนการและ
ขั้นตอนท่ีประเทศต่าง ๆ สามารถนาไปใช้ในการบริหารจดั การเพ่อื ลดการปลอ่ ยคาร์บอนในรปู แบบของตลาดการคา้
คารบ์ อน (Emission Trading System: ETS) และการจดั เกบ็ ภาษคี าร์บอน โดยในช่วงสดุ ท้ายของการประชุม ประเทศ
สมาชิกอาเซียนมีการนาเสนอประสบการณ์ในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตและแนวนโยบาย
ในการลดการปลอ่ ยคาร์บอนเพอื่ มุ่งสู่ Carbon Neutrality

ทัง้ น้ี กรมสรรพสามติ พรอ้ มยกระดบั การบรหิ ารการจดั เก็บภาษสี รรพสามติ สเู่ ทคโนโลยดี ิจิทลั และการ
กา้ วไปสู่ความเปน็ กลางทางคารบ์ อน ทงั้ ยงั พร้อมสง่ เสริมให้การคา้ ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสามารถดาเนนิ การ
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของผู้ประกอบการ ตามยทุ ธศาสตร์ EASE EXCISE ของ
กรมสรรพสามิต ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยภาษีสรรพสามติ โดยมุ่งเน้นแนวคิดการพัฒนาขององค์กรอย่างยงั่ ยนื
สิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environment Social Governance: ESG) สร้างมาตรฐานสากล เดินหน้า
ประเทศไทยสูค่ วามยั่งยนื อธบิ ดกี รมสรรพสามิต กลา่ วปิดท้าย

********************************

[9]

ฉบับที่ 47/2565 12 ตุลาคม 2565

สรรพสามิตออกมาตรการใหค้ วามช่วยเหลือ
ผเู้ สียภาษที ่ีอยู่ในพ้ืนที่ประสบอทุ กภัย

ดร. เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพสามิต เปิดเผยว่าด้วยสถานการณ์มรสุมตะวันตก
เฉียงใต้ทีพ่ ดั ปกคลมุ ประเทศไทยรวมถึงพายุโนรู (NORU) ทาใหม้ ีฝนตกหนกั อยา่ งตอ่ เนือ่ งในทวั่ ทุกภมู ิภาคของประเทศ
จนเกิดอุทกภัยเป็นวงกว้าง โดยมีพ้ืนที่ประสบสาธารณภัยอย่างน้อย 26 จังหวัดท่ัวประเทศในขณะน้ี ซ่ึงส่งผลให้
ผปู้ ระกอบอตุ สาหกรรมและผปู้ ระกอบกิจการสถานบรกิ ารทอี่ ยใู่ นพนื้ ท่ีทป่ี ระสบอทุ กภยั บางรายจาเป็นต้องหยุดกิจการ
เป็นการชั่วคราว ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาผลกระทบให้แก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมและผู้ประกอบกิจการสถาน
บริการดังกลา่ ว กรมสรรพสามิตจงึ ได้ออกมาตรการให้ความช่วยเหลอื ด้วยการขยายกาหนดเวลาการย่ืนแบบรายการ
ภาษีและการชาระภาษี รวมถงึ การยื่นงบเดือน โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

1. ขยายกาหนดเวลาการยื่นแบบรายการภาษีและชาระภาษีตามพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต
พ.ศ. 2560 แก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมและผู้ประกอบกิจการสถานบริการที่โรงอุตสาหกรรม คลังสินค้าทัณฑ์บน หรือ
สถานบริการแล้วแต่กรณี ต้ังอยู่ในจังหวัดท่ีมีการประกาศให้เป็นเขตพ้ืนที่ประสบสาธารณภัย (อุทกภัย) ในช่วงตั้งแต่
วันที่ 28 กันยายน 2565 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2565 สาหรับกรณีท่จี ะต้องยื่นแบบรายการภาษีและชาระภาษี ตั้งแต่วันที่
11 ตลุ าคม 2565 ถงึ วันที่ 31 ตลุ าคม 2565 ออกไปเป็นภายในวนั ที่ 15 พฤศจิกายน 2565

2. ขยายกาหนดเวลาการย่ืนงบเดือน ตามมาตรา 118 แห่งพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.
2560 แก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมและผู้ประกอบกจิ การสถานบรกิ ารที่โรงอุตสาหกรรม คลังสินค้าทัณฑบ์ น หรือสถาน
บริการแล้วแต่กรณี ต้ังอยู่ในจังหวัดท่ีมีการประกาศให้เป็นเขตพ้ืนที่ประสบสาธารณภัย (อุทกภัย) ที่ต้องย่ืนงบเดือน
ภายในเดือนตลุ าคม 2565 ออกไปเปน็ ภายในวนั ท่ี 15 พฤศจกิ ายน 2565

ดร. เอกนติ ิ นิติทณั ฑป์ ระภาศ กล่าวตอ่ ว่า การดาเนนิ มาตรการดังกลา่ วน้ี กรมสรรพสามิตมุ่งหวงั ทจ่ี ะ
ช่วยบรรเทาภาระและความเดอื ดร้อนใหก้ บั ผู้ประกอบอุตสาหกรรมและผู้ประกอบกจิ การสถานบริการทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ
ทีป่ ระสบอทุ กภยั ในครัง้ น้ี

********************************

[10]

ฉบับท่ี 48/2565 15 ตุลาคม 2565

กรมสรรพสามิตชีแ้ จงการเข้าตรวจคน้ และพบบหุ รป่ี ลอมทร่ี า้ นขายของชาในเขตพ้ืนทบ่ี รุ รี มั ย์
ยา้ ชัด ดาเนนิ การถกู ตอ้ งตามขัน้ ตอนของระเบยี บทุกประการ

นายณฐั กร อุเทนสุต ทปี่ รึกษาด้านพัฒนาระบบควบคุมทางสรรพสามิต ในฐานะโฆษกกรมสรรพสามิต
เปิดเผยว่าตามท่ีปรากฏข่าวตามส่ือกระแสหลักและสื่อสังคมออนไลน์ว่า เจ้าหน้าที่สรรพสามิตในเขตพ้ืนท่ีบุรีรัมย์
ได้บุกเข้าทาการตรวจค้นและยึดบุหรี่ของกลางท่ีร้านขายของชาโดยไม่มีหมายค้น และไม่ทราบว่าเป็นเจ้าหน้าท่ี
จริงหรือไม่ น้ัน กรมสรรพสามิตขอช้แี จงว่า เจ้าหน้าที่สรรพสามิตจากสานักงานสรรพสามิตพืน้ ท่ีบรุ ีรัมย์ สาขาประโคนชัย
ได้มีการแต่งเคร่ืองแบบกรมสรรพสามิตพร้อมติดบัตรพนักงานเข้าปฏิบัติหน้าที่ และดาเนินการตามขั้นตอนของ
ระเบียบการตรวจคน้ ทกุ ประการ

โดยเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2565 เจ้าหน้าที่สรรพสามิตจากสานักงานสรรพสามิตพ้ืนท่ีบุรีรัมย์ สาขา
ประโคนชัย แต่งเคร่ืองแบบกรมสรรพสามิตพร้อมติดบัตรพนักงานเจ้าหน้าท่ีเข้าตรวจสอบบ้านท่ีเกิดเหตุ เลขท่ี 20
หมู่ที่ 1 ตาบลสาโรงใหม่ อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นร้านค้าที่ได้รับใบอนุญาตให้ขายสุราและยาสูบ
ตามพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 เจ้าหน้าท่ีจึงมีอานาจที่จะเข้าทาการตรวจสอบร้านค้าและ
เมื่อตรวจสอบแล้ว พบบุหรี่ท่ีมิชอบด้วยกฎหมาย ได้แก่ บุหรี่ซิกาแรตยี่ห้อ SMS (แดง) ขนาดบรรจุ 20 มวน จานวน
6 ซอง จึงมีอานาจจับกุม ตาม ป.วิอาญา มาตรา 80 ซ่ึงเป็นความผิดซ่ึงหน้า ประกอบกับเคยมีประวัติกระทาผิด
กรณีดังกล่าวมาแล้ว อีกท้ังมีเหตอุ ันควรสงสัยว่าจะมีสินค้าท่ีมิชอบด้วยกฎหมายซุกซ่อนอยู่ เจ้าหน้าที่จึงสามารถตรวจ
ค้นได้ ตาม ป.วิอาญา มาตรา 92 (4) และพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 มาตรา 123 ซ่ึงเจ้าของร้านค้า
ยนิ ยอมนาพาตรวจสอบโดยตลอด

สาหรับในประเด็นการเปรียบเทียบปรับ ตามระเบียบกรมสรรพสามิตว่าด้วยการเปรียบเทียบคดี
พ.ศ. 2560 หมวด 2 ข้อ 8 วรรค 2 ในกรณีที่มีความจาเป็นจะต้องเปรียบเทียบคดใี ห้เสร็จส้ินโดยเร็วที่สุด น้ัน สามารถ
ไปดาเนินการเปรียบเทียบคดีนอกสถานท่ีต้ังปกติของสานักงานได้ โดยใช้สถานท่ีของหน่วยงานราชการอื่นแทน
ซึ่งในกรณีน้ี ได้ดาเนินการเปรียบเทียบคดีผู้ต้องหา ณ สานักงานสรรพากรพ้ืนที่บุรีรัมย์ สาขาละหานทราย ภายใน
ที่ว่าการอาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ตามใบเสร็จรับเงินค่าปรับในคดีของกรมสรรพสามิต เล่มท่ี 00789 เลขที่
10 เป็นจานวนเงิน 2,425.20 บาท (สองพันสี่ร้อยย่ีสิบห้าบาทยี่สิบสตางค์) โดยเจ้าพนักงานสรรพสามิตมิได้ทาการ
บังคับ ขู่เข็ญ เรียกรับหรือยอมรับซึ่งทรัพย์สินหรือยึดสิ่งหน่ึงสิ่งใดของผู้กระทาความผิด จึงได้ให้ผู้กระทาความผิด
ลงลายมือช่ือไวเ้ ป็นหลักฐานต่อหน้าเจ้าพนักงานสรรพสามิตและเจ้าพนักงานสรรพากรพืน้ ทบ่ี ุรีรัมย์ สาขาละหานทราย
ที่ปฏบิ ัติงานอยู่ ณ สถานท่ีทาการเปรียบเทียบคดี ซง่ึ ในกรณดี งั กลา่ ว ทางเจา้ หนา้ ทีส่ รรพสามติ ไดด้ าเนินการทกุ ข้นั ตอน
ตามกฎหมายของระเบียบการตรวจค้นและระเบยี บการเปรียบเทยี บคดที ุกประการ

[11]

การปรับขึ้นอัตราภาษีบุหรี่ซิกาแรตที่ผ่านมานั้น ส่งผลให้ราคาขายปลีกบุหรี่ซิกาแรตปรับตัวสูงขึ้น
ทาให้มีการนาบุหรี่ปลอมมาจาหน่ายในท้องตลาด บุหร่ีปลอมเหล่านี้ไม่ได้มีการควบคุมคุณภาพให้ได้มาตรฐาน
โดยอาจมีสารปนเปื้อนจากสารเคมีตกค้าง รวมถึงเช้ือราในบุหร่ี ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคมากกว่าบุหรี่
ท่ีถูกกฎหมาย ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคให้บริโภคสินค้าท่ีมีคุณภาพและได้มาตรฐาน กรมสรรพสามิตจึงได้
มีการดาเนินการในเร่ืองดังกล่าวอย่างจริงจัง เพื่อให้ทราบว่าเป็นบุหรี่ปลอมหรือไม่นั้น สามารถสแกน QR CODE
บนแสตมปบ์ ุหร่ีซึ่งรายละเอียดของสนิ คา้ และขอ้ มลู การชาระภาษีจะปรากฏขึ้นมา และหากประชาชนพบการกระทาผดิ
สามารถแจ้งผา่ นสายดว่ นกรมสรรพสามติ 1713 ไดท้ ันที

*********************************

[12]

[13]

[14]

[15]

[16]

[17]

[18]

[19]

[20]

[21]

[22]

[23]

[24]

[25]

[26]

[27]

[28]

[29]

[30]

[31]

ภาพจาก : Yesmom

แกป้ ญั หาการนอนไม่หลบั แค่ปรบั พฤตกิ รรม

การนอนหลบั พกั ผ่อนใหเ้ พียงพอเป็ นปัจจยั สาคญั ของชวี ิต ซง่ึ ความตอ้ งการ
ของคนในแต่ละชว่ งวยั ก็ไม่เหมือนกนั ไม่ว่าวยั ไหนหากนอนไม่เพียงพอก็มีผลกระทบ
ต่อร่างกายและจิตใจ ไดแ้ ก่ รา่ งกายจะมีความอ่อนเพลีย สมาธสิ น้ั ลง ความจาแย่ลง
มีความบกพร่องในการทางานต่าง ๆ หากใครกาลังประสบปัญหาการนอนไม่หลับ
มแี นวทางใหค้ ุณนาไปปฏบิ ตั ติ ามกนั ไดเ้ ลย

เราตอ้ งสารวจตวั เองกอ่ นวา่ มโี รคอะไรทสี่ ่งผลใหเ้ รานอนไม่หลบั หรอื ไม่ ไมว่ ่าจะเป็ น
ดา้ นรา่ งกาย เชน่ โรคระบบทางเดนิ อาหาร โรคระบบทางเดนิ หายใจ และโรคหวั ใจ เป็ นตน้
ดา้ นจติ ใจ ที่พบไดบ้ ่อย ก็คอื โรคซมึ เศรา้ อารมณแ์ ปรปรวน โรควติ กกงั วล โรคการปรบั ตวั
ผดิ ปกติ เป็ นตน้

รกั ษาดว้ ยการปรบั พฤตกิ รรม
คอื การปรบั พฤตกิ รรมทไี่ ม่เหมาะสม จนทาใหน้ อนหลบั ไดไ้ ม่ดี หรอื นอนหลบั ได ้
ยากขึน้ มาเป็ นพฤติกรรมใหม่ที่เหมาะสมนาไปสู่การนอนหลบั ที่ดีขนึ้ ประกอบไปดว้ ย
4 อยา่ ง ดงั นี้
หลกั สขุ อนามยั ของการนอนหลบั (sleep hygiene)
รูปแบบการใชช้ วี ิตและพฤติกรรมในแต่ละวนั มีสิ่งที่ควรทาที่จะชว่ ยส่งเสรมิ ให ้
การนอนหลบั ดขี นึ้ และสงิ่ ทไี่ ม่ควรทา ซง่ึ จะสง่ ผลใหก้ ารนอนหลบั แยล่ ง

[32]

สงิ่ ทคี่ วรทา 4. จดั เวลาสาหรบั การผ่อนคลาย
1. รกั ษาเวลาการเขา้ นอน และการตนื่ ร่างกายและจิตใจ ช่วงเวลาประมาณ
30 นาที กอ่ นเขา้ นอน
ใหค้ งทสี่ ม่าเสมอมากทสี่ ุด
5. หลีกเลี่ยงการขบคิดปัญหาต่าง ๆ
2. งดรบั ประทานอาหารหนัก ๆ ชว่ งกอ่ นเขา้ นอน
กอ่ นเขา้ นอน
6. จัด ห้อ ง น อ น ใ ห้บ ร ร ย า ก า ศ
3. ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอ เหมาะสมแก่การนอนหลับ คือ เงียบ
ควรออกกาลงั กายในชว่ งเชา้ หรอื ชว่ งกลางวนั สบาย ปลอดภยั ไม่มแี สงรบกวน มอี ากาศ
และไม่ควรใกลเ้วลานอนมาก (การออกกาลงั กาย ถ่ายเทสะดวก และอุณหภูมเิ หมาะสม คอื
ควรห่างจากเวลาเขา้ นอนอย่างน้อย ไมร่ อ้ นไม่เย็นเกนิ ไป
2 ชว่ั โมง)

สงิ่ ทไี่ ม่ควรทา

1. การงบี หลบั ในชว่ งกลางวนั นานเกนิ 30 นาที

2. การดนู าฬกิ าบ่อย ๆ หรอื มนี าฬกิ าไวใ้ กลส้ ายตา

3. การทากจิ กรรมที่เรา้ หรอื กระตุน้ ใหเ้ ครง่ เครยี ดก่อนนอน เชน่ การดูรายการ
โทรทัศน์ ภาพยนตร ์ หรอื อ่านหนังสือที่ตื่นเตน้ ตึงเครยี ดก่อนนอน หรอื การเล่น
คอมพวิ เตอร ์มอื ถอื โซเชยี ลเน็ทเวริ ค์ กอ่ นเขา้ นอน เป็ นตน้

4. การรบั ประทานอาหารหนัก ๆ
กอ่ นเขา้ นอน

5. การดมื่ เครอื่ งดมื่ ที่มีคาเฟอีน
หลังเที่ยงวันไปแลว้ เช่น กาแฟ ชา
นา้ อดั ลม ชอ็ คโกแลต โกโก ้ เป็ นตน้

6. การสูบบุหรี่ ก่อนเขา้ นอน ภาพจาก : https://www.istockphoto.com/
หรอื เมอ่ื นอนไมห่ ลบั เพราะสารนิโคตนิ
ในบุหรี่ จะมีฤทธิก์ ระตุน้ ทาใหห้ ลับ

ไดย้ าก

7. การดมื่ แอลกอฮอล ์ กอ่ นเขา้ นอน จะทาใหก้ ารนอนหลบั ทไี่ ม่มคี ุณภาพ

8. การใชเ้ ตยี งนอนสาหรบั กจิ กรรมอนื่ ๆ นอกเหนือจากการนอน และเพศสมั พนั ธ ์
เชน่ การรบั ประทานอาหาร การอ่านหนังสอื การออกกาลงั กายบนเตยี ง การทางาน หรอื
การพดู คยุ โทรศพั ท ์ เป็ นตน้

[33]

ภาพจาก : becommon.co

การรกั ษาโดยการควบคมุ ปัจจยั กระตนุ ้ (stimulus control therapy)
เป็ นแนวทางการรกั ษาที่มาจากทฤษฎีการเรยี นรู ้ โดยเชอ่ื ว่าอารมณ์ ความรูส้ ึก
ความคดิ การทางานของรา่ งกาย และ สมอง เชอ่ื มโยงกบั สถานการณท์ เี่ คยเกดิ ขนึ้
1. ขนึ้ ไปอย่บู นเตยี งตอ่ เมอ่ื ง่วงเท่าน้ัน
2. ใชเ้ ตยี งนอนหรอื หอ้ งนอนสาหรบั การนอนหลบั และกจิ กรรมทางเพศเทา่ น้ัน
3. ลุกออกจากเตยี งเมอ่ื ไมส่ ามารถนอนหลบั ได ้
4. ตนื่ นอนในเวลาเดยี วกนั ทุกเชา้
5. อยา่ งบี หลบั ระหวา่ งวนั
การศึกษาพบว่าการรกั ษาโดยการควบคุมปัจจยั กระตุน้ (stimulus control therapy)
มปี ระสทิ ธภิ าพต่อการนอนหลบั ทเี่ รว็ ขนึ้ การตนื่ กลางดกึ ชา้ กว่า ประสทิ ธภิ าพในการนอน
หลบั ดขี นึ้ และการหลบั ลกึ มากขนึ้
การรกั ษาดว้ ยการผ่อนคลาย (relaxation therapy)
การรกั ษาดว้ ยการผ่อนคลาย เป็ นการช่วยลดระดบั ความตื่นตวั ทางสรรี วิทยา
ของรา่ งกาย และจติ ใจ จะมผี ลทาใหร้ ะบบประสาทซมิ พาเธทคิ (sympathetic nervous system)
ทางานลดลง และระบบประสาทพาราซมิ พาเธทิค (parasympathetic nervous system) ทางาน
มากขนึ้ ทาใหร้ า่ งกายและความรูส้ กึ ทางจติ ใจผ่อนคลายมากขนึ้ ซง่ึ ทาใหก้ ารนอนหลบั
เกดิ งา่ ยขนึ้ มหี ลายวธี ี ดงั นี้
1. การหายใจเขา้ -ออก ชา้ ๆ ลึก ๆ ( diaphragmatic breathing) คือ การหายใจ
เขา้ -ออก ชา้ ๆ สบาย ๆ
2. จนิ ตนาการ (imagery) โดยการนึกถงึ ภาพทที่ าใหร้ สู ้ กึ สบายผ่อนคลาย

[34]

3. การฟังเพลงบรรเลงทที่ าใหผ้ ่อนคลาย (relaxing music) เพลงบรรเลงทผี่ ่อนคลาย
จะทาใหค้ ลนื่ สมองเปลยี่ นจาก คลนื่ เบตา้ ซง่ึ เป็ นคลนื่ สมองในชว่ งตงึ เครยี ด เป็ นคลนื่ สมอง
ในช่วงที่ผ่อนคลายมากขึน้ คือ คลื่นแอลฟา ทาใหเ้ กิดความรูส้ ึกผ่อนคลายจนเขา้ สู่
การหลบั ไดง้ า่ ยขนึ้ จนเขา้ สูค่ ลนื่ เธตาและคลนื่ เดลตา้ ซง่ึ เป็ นคลนื่ หลบั

4. การทาสมาธิ (meditation) ช่วยใหจ้ ิตใจ
แ ล ะ ร่ า ง ก า ย เ กิ ด ค ว า ม รู ส้ ึ ก ส ง บ ผ่ อ น ค ล า ย
จนความฟ้ ุงซา่ นทางความคดิ และอารมณล์ ดลง

5. ก า ร ต ร ะ ห นั ก รู ส้ ภ า พ ร่ า ง ก า ย จ า ก

ความเครยี ด (biofeedback) โดยใชเ้ ครอื่ งตรวจวดั

วิธีการใชเ้ ครอื่ งมือที่ช่วยใหเ้ กิดการตระหนักรู ้

เกยี่ วกบั สรรี วทิ ยาในรา่ งกายเกยี่ วกบั ความเครยี ด

แ ล ะ ก า ร ผ่ อ น ค ล า ย จ า ก นั้ น ผู้ป่ ว ย เ ข ้า ใ จ

ภาพจาก : กลนั้ ใจใหเ้ ป็นสขุ สภาพรา่ งกายทผี่ ่อนคลายเป็ นอย่างไร และสามารถ
นาไปดูแลตวั เองต่อได ้เพอ่ื ใหร้ า่ งกายเกดิ การผ่อนคลาย

จนเขา้ สกู่ ารนอนหลบั ไดด้ ขี นึ้ ในตอนกลางคนื

6. การตระหนักรูค้ วามคิด และ อารมณต์ ่าง ๆที่เกิดขึน้ (mindfulness) และเรยี นรู ้
ยอมรบั ธรรมชาติของมัน ดว้ ยใจที่ปล่อยวาง เป็ นกลาง และผ่อนคลาย โดยไม่เขา้ ไป
แทรกแซงหรอื จดั การความคดิ หรอื อารมณน์ ้ัน

การรกั ษาโดยการปรบั เปลย่ี นความคดิ

การใช ้ cognitive technique ในการปรบั เปลยี่ น
วธิ คี ดิ ทไี่ ม่เหมาะสม ความเชอ่ื ในแง่ลบ การคาดหวงั
ทไี่ ม่สมเหตุสมผล การรบั รูเ้ กยี่ วกบั การนอนทผี่ ดิ ไป
ทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจผิดเกี่ยวกับการนอนและ

สถานการณก์ ารนอนหลบั จนส่งผลใหเ้ กดิ ความวติ ก

กงั วล และกลวั การนอนไม่หลบั อย่างมาก

การปรบั เปลยี่ นความคิด จะมุ่งเน้นที่การหา

ความเชอ่ื ความคาดหวัง และการรบั รูท้ ี่ผิด และ ภาพจาก :
วิเคราะหค์ วามเช่อื ความคาดหวัง และการรบั รู ้
https://medium.com/hackernoon/cognitiv
เกยี่ วกบั การนอนใหม่อกี ครง้ั และแทนทดี่ ว้ ยความคดิ e-behavioural-therapy-cbt-for-developers-

ใหมท่ ถี่ ูกตอ้ งตามความเป็ นจรงิ f170826cac5c

ขอ้ มลู โดย : ผศ. พญ.ทานตะวนั อวริ ทุ ธว์ รกลุ

ภาควชิ าจติ เวชศาสตร ์ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
ขอ้ มูลจาก : https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/article/แกป้ ัญหาการนอนไม่หลบั -แ/

[35]

ภาพจาก : iStock
ภาพจาก : Thaihometown.com

[How to] วธิ cีค]tำนวณดอกเบ้ยี บำ้ น ดอกเบ้ยี รถ คิดยงั ไง

รูห้ รอื ไม่ วธิ ีคำนวณดอกเบย้ี บ้าน กบั วธิ ีคำนวณดอกเบยี้ รถนั้น ไม่เหมอื นกัน
สินค้าที่มนุษย์เงินเดือนชาวไทยนิยมซื้อแบบผ่อนชำระ ติดแบบอันดับต้น ๆ
ก็คือ “รถยนต์” และ “บ้าน” อันนี้ใคร ๆ ก็รู้อยู่แล้ว ! แน่นอนว่าเมื่อเราซื้อรถยนต์
หรือบ้าน การผ่อนชำระไม่มีผ่อน 0% แทบจะไม่มีให้เห็นเลย แต่เดี๋ยวนี้ก็มี
เปน็ โปรโมช่นั 0% เฉพาะปีแรก แลว้ ค่อยไปเก็บเยอะ ๆ ทีหลังก็มีเหมือนกัน
แต่รู้หรือไม่ว่า “ดอกเบี้ยรถยนต์” ที่เราเห็นอาจจะ
เรียกเก็บถูกกว่า แต่จริง ๆ แล้ว ระหว่าง “ดอกเบี้ยกู้ซื้อรถ”
กับ “ดอกเบี้ยกู้ซื้อบ้าน” มีวิธีการคิดดอกเบี้ยต่างกัน
อย่างชัดเจน พวกเราลองมาดูกันหน่อยว่า 2 แบบนี้
มีความแตกตา่ งกันยงั ไงบ้าง ?

ภาพจาก : Medium

มาดูที่ดอกเบี้ยการซื้อ “รถยนต์”

กันก่อน สมมติให้ดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อรถยนต์อยู่ที่
5% ต่อปี รถมูลค่า 1,000,000 บาท เราวาง
ดาวน์ไป 250,000 บาท แสดงว่าเราต้องผ่อน
ชำระอีก 750,000 บาท

ภาพจาก : Money kapook.com

[36]

สมมติวา่ ผอ่ น 5 ปี ท้งั หมด 5 งวด
(สมมติให้จ่ายรายปี เพอ่ื งา่ ยต่อการคำนวณ)
ดอกเบย้ี ทีจ่ ะต้องจ่ายเท่ากับ 750,000 x 5% = 37,500 บาทต่อปี
จำนวน 5 ปี ; 37,500 x 5 ปี = 187,500 บาท
เท่ากับวา่ เราติดหนที้ ้ังหมด
750,000 บาท + 187,500 บาท = 937,500 บาท
แสดงวา่ เราตอ้ งผ่อน ตกปีละ 187,500 บาท

ทนี ้ีเราเปล่ียนมาดดู อกเบย้ี การซ้ือ “บา้ น” บา้ ง ใหร้ าคาบ้าน การ

วางเงนิ ดาวน์ และ ดอกเบย้ี เงนิ กเู้ ทา่ กนั เลย จะไดค้ ิดงา่ ย ๆ

สมมติใหจ้ า่ ยรายปเี ช่นเดยี วกัน ภาพจาก : PngFind
ดอกเบี้ยปแี รก

เท่ากบั 750,000 x 5% = 37,500 บาท
สมมตวิ า่ ผอ่ นจ่ายปีแรก 187,500 บาท
เท่ากับการผ่อนรถเลยแล้วกันนะ
เราจ่ายดอกเบี้ย 37,500 บาท
จา่ ยเงินต้นเท่ากบั 150,000 บาท
(187,500 – 37,500)
แตม่ าดูเร่มิ ท่ีปีที่สอง ยอดกบู้ า้ นสุทธิ
เหลือ 600,000 บาท
ทำให้ดอกเบีย้ ทต่ี ้องจา่ ยในปที ่ีสอง
เท่ากบั 600,000 x 5% = 30,000 บาท

วธิ คี ำนวณดอกเบีย้ บ้าน ต่างจาก วธิ คี ำนวณดอกเบย้ี รถ
จะเห็นได้ว่าดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อรถ จะคิดจาก “เงินกู้ก้อนแรก” เสมอ ทำให้
ดอกเบี้ย 37,500 บาทตลอด 5 ปี แต่สำหรับดอกเบี้ยบ้านคิดจาก “ยอดสุทธิ”
ปีแรกดอกเบี้ย 37,500 บาท ปีสอง 30,000 บาทและลดลงเรื่อย ๆ “การผ่อนรถ”
จะเป็นการคิดดอกเบี้ยแบบคงที่ ตลอดระยะเวลาที่ผ่อน (Flat Rate) จากตัวอย่าง
ดอกเบ้ยี ปลี ะ 37,500 บาท เป็นเวลา 5 ปี
แต่ถ้าเป็นดอกเบี้ยกู้ซื้อบ้านจะคิดจาก จำนวนเงินที่เราติดค้างให้แต่ละงวด
เรียกว่า การคิดดอกเบี้ยแบบอย่างง่าย (Simple Interest) จากตัวอย่างดอกเบ้ีย

[37]

ปีแรก 37,500 บาท ปีที่สอง 30,000 บาท จะลดลงเรื่อยตามจำนวน “เงินต้น
คงเหลือ” ท่กี ู้ไว้

เงื่อนไขการคิดดอกเบี้ยไม่เท่ากัน ทำให้ดอกเบี้ยจ่ายแต่ละปีไม่เท่ากัน
แล้วด้วยรถยนต์ถือว่าเป็น สินทรัพย์ที่มีแต่จะเสื่อมค่า แต่บ้านถือว่าเป็นสินทรัพย์
ทเี่ พ่มิ คา่ หรือสะสมทรัพย์ไดแ้ ถมรถยนตย์ ังคิดดอกเบยี้ ท่ีแพงกว่าด้วย

ขอแนะนำว่า จะซื้อรถยนต์สักคันควรคิดให้ดีก่อนว่า “จำเป็น” จริง ๆ หรือ
เปล่า เพราะสุดท้ายก็ผ่อนกันไม่ไหวกันเยอะมาก ปล่อยให้โดนยึดกันเป็นแถบ
น่าเสียดายมาก ๆ อย่าให้โลกวัตถุนิยม มาทำให้แผนการเงิน ในอนาคตเสียหาย
ถา้ มันไมจ่ ำเปน็ จริงๆ

ข้อมลู จาก : https://www.moneybuffalo.in.th/debt/คำนวณ-ดอกเบี้ย-รถ-บา้ น

[38]

ภาพจาก : https://mitigatecyber.com/

Web 3.0 คอื อะไร มขี อ้ ดี ขอ้ เสยี อยา่ งไร ?

Web 3.0 ชื่อน้ ีในวงการคริปโทเคอร์เรนซีน่าจะพอคุน้ หูมาบา้ งแลว้ แต่สาหรับคนทัว่ ไปแลว้

‘Web 3.0’ คืออะไรกนั แน่ แลว้ 1.0 2.0 อยไู่ หนละ่ ? วนั น้ ีเราจะมาทาความรจู้ กั กบั รปู แบบของเว็บไซต์

ในอนาคตน้ ีกนั

แน่นอนว่า เมื่อพดู ถึงการมีอยูข่ อง ‘Web 3.0’ แปลวา่ ก่อนหน้าน้ ีจะตอ้ งมี Web เวอรช์ นั ก่อน ๆ

อยา่ งแน่นอน คือ Web 1.0 และ Web 2.0 เร่ิมจาก Web1.0 พูดง่าย ๆ ก็คือ เป็ นเว็บไซต์ในยุคเริ่มตน้

ของอินเทอรเ์ น็ตเลย ภาพจาก : วอตา้
โดยในปี 1989 ทิม เบอร์

เนอร์ส-ลี วิศวกรดา้ นคอมพิวเตอร์

ของอังกฤษ เป็ นคนท่ีคิดคน้ วิธีการ

สอื่ สารขอ้ ความหลายมิติ (Hypertext)

ซึ่งมีท้งั ภาพ เสียง และขอ้ ความ เป็ น

การสือ่ สารแบบทางเดียว (One Way

Communication) ไม่มีการโต้ตอบ

กลบั มาใด ๆ คนที่จะสามารถแกไ้ ขหน้าตาเวบ็ ไซต์ไดก้ ็จะมีแต่เจา้ ของเว็บไซต์เทา่ น้ัน อยา่ งเช่น เว็บไซต์

ประกาศขา่ ว เว็บไซตร์ บั สมคั รงาน เวบ็ ประวตั ิสว่ นตวั เป็ นตน้

พอเป็ นเว็บที่สื่อสารแค่ทางเดียว มนั ก็มีขอ้ จากดั ในการใชง้ าน เพราะในยุค Web 1.0 เว็บก็เหมือน

หอ้ งสมุดที่ใหค้ นเขา้ มาอ่านไดอ้ ย่างเดียว ไม่สามารถสรา้ งสรรคเ์ น้ ือหาใหม่ ๆ ไดง้ ่าย ก็เลยมกี ารพฒั นา

เป็ น Web 2.0 ข้ นึ มา

ซึง่ เจา้ Web 2.0 น้ ี สามารถทาไดท้ ้งั อ่าน แบบใน Web 1.0 แตส่ ามารถโตต้ อบกนั ไดอ้ ยา่ งอิสระ

ในรูปแบบการสื่อสารแบบ 2 ทาง (Two Way Communication) สามารถสื่อสารหากันไดท้ ้ังระหว่าง

เจา้ ของเว็บไซต์และผูใ้ ชง้ าน หรือระหว่างผูอ้ ่านกนั เองได้ ผูอ้ ่านส่ือสารกันเองได้ จนเกิดเป็ นสงั คมข้ ึน

[39]

ตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทน้ ีก็ง่าย ๆ เลยครับ โซเชียลมีเดียท่ีคุณใชด้ ูคลิปน้ ีอยู่นี่แหละครับ ! ท้ังเฟซบุ๊ก

ยทู บู หรอื ทวิตเตอร์ ก็เป็ น Web 2.0 ท้งั น้ันเลย

พอเรารูแ้ ลว้ ว่า Web 2.0 คือ โซเชียลเน็ตเวิร์ค แปลว่า

เว็บเหล่าน้ันมีขอ้ มูลข่าวสารไหลไปมาอยา่ งรวดเร็ว และมากมาย

กว่าเว็บแบบเก่า ๆ แน่นอน พอแกป้ ัญหานึงได้ ก็เกิดประเด็น

ใหม่ข้ ึนมาอีก เพราะการใชโ้ ซเชียลเน็ตเวิร์กน้ัน แมจ้ ะเป็ นการ

ติดต่อสื่อสารกันเองระหว่างผูใ้ ช้ แต่ก็ยงั ตอ้ งทาผ่าน ‘ตวั กลาง’

นัน่ เอง

ภาพจาก : https://sirikanya926.wordpress.com/tag/web-2-0/ ตัวกลางในท่ีน้ ีก็คือเซิร์ฟเวอร์ของผู้ใหบ้ ริการโซเชียล

นัน่ เองครบั ขอ้ มูลท่ีจะส่งไปหาผูร้ บั ของเรา ยงั ไงก็ตอ้ งผ่านผูใ้ หบ้ ริการอยู่ดี คนกลางเหล่าน้ ีสามารถเขา้ ถึง

ขอ้ มูลท่ีเราสื่อสารกนั พฤติกรรมการใชง้ าน เวลาที่เราใชง้ านส่ือเหล่าน้ันไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย ทาใหเ้ กิดปัญหา

การดักจบั ขอ้ มูลของเรา มาวิเคราะหเ์ พ่ือทาโฆษณาท่ีตรงใจเรามากข้ ึน ทาใหข้ อ้ มูลของเราที่ส่ือสาร

เขา้ ไปน้ันไมเ่ ป็ นขอ้ มูลสว่ นตวั อีกต่อไป หรอื มีประเด็นเรอื่ งการแบน การถูกลบบญั ชีท้ ิงโดยบรษิ ทั เจา้ ของ

แพลตฟอรม์

พอการสื่อสารท่ีผ่านตวั กลาง มนั ทาใหเ้ กิดความลาบากใจข้ ึนมา ก็เลยเกิดการพัฒนาเป็ น Web

3.0 นัน่ เองครบั

ปัจจบุ นั Web 3.0 คอื แนวคดิ รปู แบบของเวบ็ ไซตใ์ นอนาคต ท่ีคาดการณไ์ วว้ า่ มนั จะเป็ นยุคใหม่

ของอินเทอร์เน็ต ที่จะมีความฉลาดมากข้ ึน ใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่าง Machine Learning (ML),

Big Data, Artificial Inteligence (AI), Blockchain ทางานไดอ้ ยา่ งเต็มที่

โดย Web 3.0 น้ ีเป็ นแนวคิดที่เริ่มมาจากทิม เบอร์เนอร์ส-ลี คนเดียวกันกับที่ริเร่ิม Web 1.0

นี่แหละ เขาไดม้ องว่าเว็บท่ีจะเป็ น Web 3.0 ไดน้ ้ัน จะเกิดจากพฒั นาการการเช่ือมโยงกนั แบบไรศ้ ูนย์กลาง

เป็ น Node ที่เช่ือมถึงกนั ไดท้ ้งั หมดท้งั โลกโดยไม่ตอ้ งผ่านตวั กลาง รวมถึงนาเอาเทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่างเช่น

AI เขา้ มาช่วยในการทาใหเ้ ว็บไซต์น้ันทางานไดด้ ีมากข้ ึน หรือการถ่ายโอนขอ้ มูลระหวา่ งคน และอุปกรณ์ได้

แบบอตั โนมตั ิ ท้งั หมดน้ ีเรียกวา่ เป็ น Semantic Web หรอื ‘เว็บเชิงความหมภาายพจ’าก : https://hmong.in.th/wiki/Yardleys_School
ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี เขาสนใจที่จะพัฒนามาตรฐานเว็บไซต์

อย่างมาก จนได้ก่อต้ัง องค์กรเว็บไซต์สากล ( World Wide Web

Consortium หรือ W3C) ข้ ึนมา และไดพ้ ยายามใหค้ วามหมายของการ

เป็ น Web 3.0 เอาไว้ และเริ่มเป็ นรูปเป็ นร่างจริง ๆ แลว้ ไดด้ งั น้ ีครบั

อย่างแรก ก็คือ ไรต้ ัวกลาง (Decentralized) หมายถึงมีการ

กระจายอานาจผใู้ ชง้ านไมต่ อ้ งผ่านเซริ ฟ์ เวอรข์ องแพลตฟอรม์ ใด ๆ เลย

ต่อมาก็คือ มีโคด้ ท่ีออกแบบร่วมกนั ได้ (Bottom-up Design)

หมายถึง การพฒั นาโคด้ ที่ใหผ้ ูใ้ ชม้ ีส่วนร่วมในการเขา้ มาร่วมพฒั นาโคด้

จนสามารถใชง้ านได้แทนที่จะใหค้ นกลุ่มเดียวเขา้ มาออกแบบโคด้

เท่าน้ัน ซึ่งตอนน้ ีก็มี กิตฮับ (Github) ที่เป็ นแหล่งรวมโค้ดโปรแกรมแบบโอเพ่นซอร์ส สามารถ

เขา้ มารว่ มพฒั นาโคด้ แกบ้ ๊กั ตา่ ง ๆ ร่วมกนั แลว้ และยงั มีการส่งเสริมการเขียนโคด้ ตา่ ง ๆ มากข้ นึ อีกดว้ ย

[40]

อย่างสุดทา้ ย ก็คือ มีฉนั ทามติ (Consensus) สามารถตรวจสอบความถูกตอ้ งกันเองระหว่างผู้

ใชไ้ ด้ มีความโปรง่ ใส สรา้ งความเห็นพอ้ งตอ้ งกนั ได้

นอกจากทิม เบอรเ์ นอรส์ -ลี แลว้ เกวิน เจมส์ วูด

(Gavin James Wood) ผูร้ ่วมก่อต้ัง Ethereum คริปโทเคอรเ์ รนซี

อันดับตน้ ๆ ของโลก ไดม้ ีแนวคิดท่ีจะต่อยอดเร่ือง Web 3.0

จึงได้ก่อต้ังมูลนิธิ Web3 (Web3 Foundation) ข้ ึนเพื่อ

ภาพจาก : https://financefeeds.com/ สรา้ งความตระหนักรู้ ใหค้ นรูจ้ กั Web 3.0 และผลกั ดันให้

มาตรฐานเว็บไซต์ใหม่น้ ีเป็ นท่ีรูจ้ ัก และมีผู้ใชง้ านใหม้ ากย่ิงข้ ึน และเขาก็ไดใ้ หน้ ิยามของ Web 3.0

วา่ เป็ นรูปแบบอินเทอรเ์ น็ตในอนาคตท่ีจะไม่มีเซิร์ฟเวอร์ มีการกระจายอานาจ เป็ นโลกอินเทอร์เน็ตท่ี

ผูใ้ ชท้ ุกคนสามารถควบคุมขอ้ มลู ตวั ตน รวมถึงกาหนดทิศทางของชวี ติ ตวั เองไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ

ซ่ึงจะว่าไป Web 3.0 ก็คลา้ ยกับเครือข่าย Ethereum ท่ีทางานอยู่ในปัจจุบันเหมือนกนั เพราะ

Ethereum เป็ นเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรท์ ่ีไรศ้ ูนยก์ ลาง อาศยั คอมพวิ เตอรท์ วั่ โลกช่วยกนั ประมวลผลเพื่อให้

เครือข่ายทางานได้ มี DApps ที่ยอ่ มาจาก decentralized application สรา้ งข้ ึนบนเครือข่ายเพ่ือทางานต่าง ๆ

แบบไรศ้ ูนยก์ ลาง ซึ่งมีการตรวจสอบความถูกตอ้ งกนั เองดว้ ยระบบ Proof of Work ท่ีแข่งกนั ประมวลผล

และมกี ารจ่ายคา่ ประมวลผลในระบบดว้ ยเหรียญ Ether ภาพจาก : https://www.aurora.com.tw/

การเขา้ ถึงมาตรฐานของ Web 3.0 ได้ จาเป็ นที่

จะต้อง ‘ไรต้ ัวกลาง’ อย่างแท้จริง ซ่ึงนั่นหมายถึง

การติดต่อสื่อสารแบบไม่ผ่านตัวกลางใด ๆ เลย

ปัญหาตอนน้ ีก็คือ ต่อใหเ้ ราเข้าสู่ยุคของ เมตาเวิร์ส

(Metaverse) แล้วก็ตาม เราก็ยังต้องพ่ึงพาเซิร์ฟเวอร์

ในการเข้าถึงโลกโซเชียลเสมือนแห่งใหม่น้ ีอยู่ดี เช่น

ของเฟซบุ๊ก ที่เปลี่ยนชื่อไปเป็ น เมตา (Meta) หรือ

หากนึกภาพไปยงั ระดับท่ีใกลต้ ัวมากท่ีสุด ต่อใหท้ ุกอยา่ ง

ไรต้ ัวกลางหมดแลว้ แต่การที่จะเขา้ ถึงอินเทอร์เน็ตได้ ยังคงตอ้ งผ่านผู้ใหบ้ ริการอยู่ดี โอกาสที่รัฐ

จะแทรกแซงก็ยังมีอยู่ทาใหใ้ นขณะน้ ีโลกอินเทอร์เน็ตยังไม่หลุดพน้ การเป็ นเว็บไซต์ท่ี ‘ไรต้ วั กลาง’

จริงไดอ้ ยู่

นอกจากน้ ี Web 3.0 ในตอนน้ ีก็ยังมีข้อจากัดหลายอย่าง ท้ังเร่ืองของประสิทธิภาพและ

ความสามารถในการสเกลระบบ ท่ีทาไดช้ า้ กวา่ การใช้ Cloud Server ในปัจจุบนั เพราะการประมวลผล

จะถูกแยกออกไปใหค้ อมทวั่ โลกทางาน ซง่ึ ตอ้ งจ่ายค่าแกส๊ ใหค้ นทวั่ โลกชว่ ยประมวลผล

นอกจากน้ ียงั ตอ้ งรอ Browser หรือโปรแกรมท่องเวบ็ พฒั นาใหร้ องรบั และการพฒั นา Web 3.0

ทาไดย้ ากกว่าเว็บปกติ เพราะมีพ้ ืนฐานเทคโนโลยีต่างกัน และการเขียนแอปขนาดเล็กพอท่ีจะเก็บลง

Blockchain ได้ น้ันตอ้ งลงทุนการพฒั นาเป็ นอยา่ งมากดว้ ยครบั

แมว้ ่าในปัจจุบัน Web 3.0 อาจจะยังไม่เกิดข้ ึนจริง แต่ก็ไม่ไดห้ มายความว่าจะไม่เกิดข้ ึนใน

อนาคตซะทีเดียวนะครบั ดว้ ยเทคโนโลยีท่ีกา้ วหน้าข้ ึน ในทุก ๆ วนั การพฒั นาก็ไม่เคยหยุดน่ิง ยุคของ

Web 3.0 ที่แทจ้ รงิ ก็อาจจะอยอู่ กี ไมไ่ กลแลว้ ครบั

ขอ้ มูลจาก : https://www.beartai.com/feature/946550

[41]

5 วธิ เี ลกิ ผดั วนั ประกนั พรุ่งตามหลกั จติ วทิ ยา ฉบบั เขา้ ใจงา่ ย

ภาพจาก : https://www.realsimple.com/

หากถามว่าสิ่งที่มนุษย์มีร่วมกันทุกคนคืออะไร? “การผัดวันประกันพรุ่ง” อาจเป็ นหนึ่ง
ในคาตอบ ไม่ว่าจะเก่งหรือขยนั แค่ไหน เราทุกคนลว้ นเคยมีอาการข้ ีเกียจทางาน แลว้ ปล่อยใหต้ ัวเรา
ในวนั พรุ่งน้ ีเป็ นคนจดั การกนั ท้งั น้ัน

หากทานาน ๆ ครง้ั คงไมเ่ ป็ นปัญหา แต่ถา้ หากทาบอ่ ย ๆ จนเป็ น “นิสยั ” คงแย่ เพราะมนั อาจ
ส่งผลกระทบต่อท้งั ตวั เราเอง หน้าที่การงาน และความสมั พนั ธก์ บั คนรอบ ๆ ตวั แบบน้ ีจะแกอ้ ยา่ งไรดี

ในบทความน้ ีเราไดร้ วบรวม 5 วิธีเลิกผดั วนั ประกนั พรุ่งฉบบั เขา้ ใจงา่ ย และนาไปปรบั ใชไ้ ดท้ ันที
แต่ก่อนจะไปรจู้ กั เทคนิคตา่ ง ๆ เรามาทาความเขา้ ใจกนั ก่อนวา่ ทาไมมนุษยเ์ ราถึงชอบผดั วนั ประกันพรุ่ง
กนั นัก

จติ วทิ ยาแห่งการผดั วนั ประกนั พร่งุ

การผัดวันประกันพรุ่ง (Procrastination) เป็ นหน่ึงหัวข้อท่ีมีการศึกษามาหลายทศวรรษ
มกี ารมุง่ หาท้งั “สาเหตุ” วา่ ทาไมมนุษยเ์ ราจึงทาพฤติกรรมน้ ี ไปจนถึง “วิธี” ที่จะจดั การกบั มนั

ปิ แอร์ สตีล นักจิตวิทยาและนักวิจัย ไดร้ วบรวมงานวิจัยต่าง ๆ ที่เก่ียวกับการผัดวันประกันพรุ่ง
จากหลาย ๆ ทศวรรษท่ีผ่านมา และทาการศึกษาจากวิจัยท้ังหมดว่า ปัจจัยหลัก ๆ ที่ทาใหม้ นุษย์เรา
ผดั วนั ประกนั พรุ่งมอี ะไรบา้ ง

โดยสรุปคอื เรามีแนวโนม้ จะผดั วนั ประกนั พรุ่งเมื่อ…
• เรารสู้ ึกวา่ งานที่ทาน้ันดจู ะสาเร็จยาก และไม่มีรางวลั ตอบแทน
ที่น่าพึงพอใจหากทาเสรจ็
• ไม่ไดอ้ ะไรตอบแทนในทนั ที
• มสี ่ิงรบกวนหรอื สงิ่ ลอ่ ใจ
• เดดไลน์ยงั อีกไกล
ดว้ ยเหตุผลหลกั ๆ น้ ีเอง เราเลยเกิดอาการบ่ายเบ่ียงไม่ทางานอยู่บ่อย ๆ
เขา้ ใจสาเหตุกนั แลว้ แลว้ วิธีแกล้ ่ะ พอจะมีอะไรบา้ ง

ภาพจาก : https://cen.acs.org/

[42]

1) Chunk your work แบง่ งานใหญ่ ๆ ใหเ้ ป็นงานเลก็ ๆ

หากไดร้ บั โจทยใ์ หญ่ ๆ เช่น ทาวิจยั 1 เลม่ เราคงรสู้ กึ ไม่อยากทา
แน่นอนเพราะงานมนั ดูช้ นิ ใหญ่ ยาก และใชเ้ วลาเยอะเหลือเกนิ

ถา้ เจอแบบน้ ีใหล้ อง “ห่ัน” หรือแบง่ งานกอ้ นโตของเราใหเ้ ป็ น
งานเล็ก ๆ ดู เมอ่ื ความยากและความใหญ่ลดลง งานท่ีตอ้ งทาจะดูง่าย
ข้ ึนและมีแนวโน้มว่าเราจะเร่ิมลงมือ (ซ่ึงเป็ นส่วนท่ียากท่ีสุด) ไดง้ ่ายข้ ึน
นัน่ เอง

2) Set fake deadlines สร้างเดดไลน์ปลอม ๆ ขน้ึ มา

ตัวกระตุ้นให้ลุกไปทางานได้ดีที่สุดคงจะหนี ไม่พ้น
“เดดไลน์” ที่ใกลเ้ ขา้ มา แต่แมเ้ ราจะมีแรงฮึบและรีบทาจนเสร็จ
หลายต่อหลายคร้ังเราพบว่าเพราะความรีบ งานจึงไม่มีคุณภาพ
แถมยังเหนื่อยและรูส้ ึกผิดกับตัวเองอีกต่างหาก หน่ึงในวิธีแกค้ ือ
ลองสร้างเดดไลน์ปลอมๆ ข้ ึนมาใหม่ก่อนหน้าเดดไลน์จริงๆ
สัก 2-3 วันข้ ึนไปและเราอาจลองใชว้ ิธีน้ ีกับวิธีแรกร่วมกันก็ได้
โดยการแบ่งงานเป็ นช้ ิน ๆ และสรา้ งเดดไลน์ปลอมๆ ใหง้ านแต่ละ
สว่ น เชน่ เขยี น Outline ภายในวนั ที่ 5 เขียน Introduction ใหจ้ บใน
วนั ท่ี 7 และเรมิ่ บท 1 ดราฟตแ์ รกภายในวนั ท่ี 9 เป็ นตน้
วิธีน้ ีจะไดผ้ ลเม่ือเราเช่ือในเดดไลน์ท่ีสรา้ งข้ ึนมาใหม่จริง ๆ แต่ถา้ ใครรูส้ ึกว่าไม่สามารถสรา้ ง
ความสมจริงน้ ีข้ ึนมาเองได้ ลองชวนเพ่ือน ๆ ใหม้ าทาตามเดดไลน์ปลอมดว้ ยกนั ก็อาจจะเป็ นวิธีท่ีช่วย
ใหเ้ ราจริงจงั กบั มนั มากข้ นึ

3) Reward yourself ให้รางวลั ตวั เองในแต่ละขน้ั

หากเราทางานยาว ๆ รวดเดียวและค่อยไปให้รางวัลตัวเอง
ในตอนจบโปรเจกต์ มีความเป็ นไปไดส้ ูงว่าเราจะหมดแรงและเลิกทา
กลางคันไปเสียก่อนหรือเลวรา้ ยกว่าน้ันคือ รางวลั ตอบแทนท่ีดูห่างไกล
อาจทาใหเ้ ราเบีย่ งบ่ายไปเร่ือย ๆ และไม่เรม่ิ งานเสียดว้ ยซ้า

การใหร้ างวลั ตวั เอง ณ ปลายทางก็สาคญั แต่ข้นั เล็ก ๆ ท่ีเราทา
ในละวนั ก็ควรจะมีการใหก้ าลังใจหรือใหร้ างวลั ตัวเองดว้ ย เพ่ือใหเ้ รา
ทางานไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง แน่นอนว่ารางวลั ไม่จาเป็ นตอ้ งยิ่งใหญ่ อาจจะ
เป็ นการอนุญาตใหต้ ัวเองทาส่ิงที่เราอยากทาก็ได้ เช่น หากเขียนบทน้ ี
สาเร็จ เราจะอนุญาตใหต้ วั เองเลน่ โซเชียลมีเดีย 1 ชวั่ โมง

หากการใหร้ างวลั ภายหลงั กระตุน้ เราใหล้ ุกไปทางานไมไ่ ด้ เคธี มิลกแ์ มน นักวิจยั จาก The University
of Pensylvania ไดแ้ นะนาอีกเทคนิคท่ีชื่อวา่ “Temptaion Bundling” หรอื การใหร้ างวลั ตวั เองไปพรอ้ ม ๆ กบั
การทาส่ิงท่ีตอ้ งทา เช่น การวิ่งออกกาลังกายไปพรอ้ ม ๆ กบั การฟัง Audiobook หรือ พบั ผา้ ไปพรอ้ ม ๆ กนั
การดซู รี ีสเ์ รอ่ื งโปรด

[43]

4) Turn off your phone ปิดโทรศพั ท์

ย่ิงมีส่ิงล่อใจท่ีทาไดง้ ่ายกว่า ยิ่งมีแนวโน้มว่าเราจะไม่เริ่ม
ทางานสักที หรือถา้ หากเร่ิมแลว้ เจา้ ส่ิงล่อใจพวกน้ ีก็อาจจะทาใหเ้ รา
ไขวเ้ ขวและหยุดทางานกลางคนั

ในการทางานให้มีประสิทธิภาพ ลองเลือกเวลาสัก 3-4
ชวั่ โมงต่อวนั ที่เรามีสมาธิที่สุด และใชเ้ วลาน้ันทางานท่ียากและสาคัญ
ที่สุด แบบไม่มสี ง่ิ รบกวน เชน่ โทรศพั ท์ แจง้ เตือนแชตงาน หรอื อีเมล

เจมส์ เคลียร์ เจา้ ของหนังสือดัง Atomic Habits ยังแนะนาอีกว่า
เราควรสรา้ งระยะห่างระหว่าง ‘เรา’ และ ‘เครื่องล่อใจ’ เหล่าน้ ีใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด เช่น การลบแอปฯ โซเชียล
มีเดีย เพ่ือป้องกนั ไม่ใหเ้ รากดเขา้ ไปเล่นบ่อย ๆ หรือการซ่อน Playstation ไวใ้ นตูเ้ ส้ ือผา้ หยิบออกมา
เล่นเฉพาะวนั ที่ใหร้ างวลั ตวั เอง เป็ นตน้

5) Use gentle self-talk พูดจาดี ๆ กบั ตวั เอง

บางคนย่ิงผัดวันประกันพรุ่ง ย่ิงรูส้ ึกแย่ และย่ิงพูดไม่ดีกับ
ตวั เอง ซึ่งการทาเช่นน้ ีจะทาใหเ้ รารูส้ ึกอยากหนีความรูส้ ึก โดยการ
ทาอะไรที่เรารสู้ กึ ดี อยา่ งการเลน่ โซเชียลมเี ดียไปเรือ่ ย ๆ หรอื ดูซีรสี ์

ยิ่งไปกวา่ น้ัน หากเราทาเช่นน้ ีบ่อยเขา้ มนั อาจจะเป็ นแผลใจให้
เราไปเลยก็ได้ ทาใหไ้ ม่วา่ จะทาอะไร เราก็จะเร่ิมตน้ ชา้ และทาอยา่ งไมม่ ี
ประสิทธิภาพ เพราะเสียงลบ ๆ ในหวั ไดแ้ ต่บอกว่า “เราคงทาไดไ้ ม่ดี
หรอก เพราะทาอะไรก็ทาตอนวนิ าทีสุดทา้ ยแบบน้ ีตลอด”

แทนท่ีจะกล่าวโทษตวั เอง ลองยอมรบั ความจริงและพดู จาดี ๆ
เช่น เรายอ้ นอดีตไปเริ่มงานเร็ว ๆ ไมไ่ ด้ แตเ่ ร่มิ งานตอนน้ ีกไ็ มส่ าย ขอแคใ่ หต้ ้งั ใจทาอยา่ งเต็มท่ีกพ็ อ

อา้ งองิ – How to stop procrastinating – from a procrastination psychologist :: https://bit.ly/3cCguxO
– Procrastination: A Scientific Guide on How to Stop Procrastinating by James Clear :: https://bit.ly/3e3tUmF

– How to Stop Procastinating by Alice Boyes :: https://bit.ly/3AHpqdk
ขอ้ มูลจาก : https://missiontothemoon.co/softskill-procrastination/

ภาพจาก : https://guts.wisc.edu/2021/03/31/how-to-combat-procrastination/

[44]

รวมคำถามและคำตอบภาษาอังกฤษ พิชิต ตม.

สำหรับคนที่อยากไปเที่ยวต่างประเทศ สิ่งที่สำคัญและต้องเตรียมตัวให้ดี คือ การตอบคำถาม ตม.
หรือด่านตรวจคนเข้าเมือง ซึ่งหลาย ๆ คนกลัว ตม. มาก ๆ ไม่ว่าจะกลัวฟังเจ้าหน้าที่ไม่ออก
ตอบไม่ตรงคำถาม แต่จริง ๆ แล้ว สิ่งที่เจ้าหน้าที่ ตม. มักจะถามนั้น มีไม่กี่คำถาม
ซึ่งแต่ละคำถามเป็นอะไรที่เบสิคมาก ซึ่งรวบรวมมาให้ทุกคนเตรียมตัวเพื่อไปพิชิต ตม. แล้วที่นี่

คำถามภาษาอังกฤษที่ ตม. ชอบถาม

1. What is your purpose of visiting? จุดประสงค์การเดินทางของคุณคืออะไร
2. What is the purpose of your trip? จุดประสงค์การเดินทางของคุณคืออะไร

3. Where are you going to stay? คุณพักที่ไหน
4. How long are you going to stay? คุณจะพักนานแค่ไหน

5. Is anybody else traveling with you today? มีคนอื่นเดินทางมากับคุณอีกไหม
6. May I see your boarding pass and passport? ขอดูตั๋วและหนังสือเดินทางของคุณหน่อยได้ไหม

7. What country are you from? คุณมาจากประเทศอะไร
8. What is your occupation? คุณทำอาชีพอะไร

คำตอบภาษาอังกฤษที่ใช้ตอบ ตม.

1. I’m here to conduct business with some US companies.
ฉันมาที่นี่เพื่อทำธุรกิจกับบริษัทบางแห่งของสหรัฐอเมริกา
2. I’m a foreign exchange student studying in Singapore.
ฉันเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนที่กำลังเรียนอยู่ที่สิงคโปร์

3. I’m just visiting and seeing the sites. Then, I’ll return home in a month.
ฉันแค่มาเที่ยว มาชมสถานที่ต่าง ๆ แล้วจะกลับบ้านภายใน 1 เดือน
4. I’m visiting some relatives here in the UK. ฉันมาเยี่ยมญาติที่อาศัยอยู่ที่อังกฤษ

5. I’m going to stay at Holiday Inn Hotel. ฉันจะไปพักที่โรงแรมฮอลิเดย์อินน์

ขอบคุณข้อมูลจาก : Learntalk
หนังสือ Short Note Sentences ประโยคพื้นฐาน สั้น-ง่าย-ใช้บ่อย ในการสนทนาภาษาอังกฤษ
ข้อมูลจาก : https://www.globish.co.th/blog/professional/englishforcustomsquestions

[45]

ภาพจาก : https://home.kapook.com

5 วธิ เี อาตวั รอด เมอ่ื ไฟไหมใ้ กลต้ วั

5 เดือนแรกของปี 2565 เกิดเหตไุ ฟไหมแ้ ทบทุกวนั เป็นข่าวบา้ ง ไม่เป็นข่าวบา้ ง แต่ละเหตุการณม์ ีทั้งเสียชีวิต
และทรพั ยส์ ิน บางเหตกุ ารณ์เกิดจากอุบตั ิเหตุ บางเหตกุ ารณเ์ กิดจากความสะเพรา่ และประมาท แต่ทุกครงั้ ท่ีเกิดไฟไหม้
ส่ิงท่ีหลีกเล่ียงไม่ไดเ้ ลยก็คือการสญู เสีย ไม่มีใครอยากใหเ้ หตกุ ารณแ์ บบนเี้ กิดขนึ้ แต่ไฟไหมเ้ ป็นเร่ืองใกลต้ วั มากกวา่ ท่คี ิด
อย่างนอ้ ยทุกคนควรรูว้ ิธีเอาตวั เองใหร้ อดเม่ือตอ้ งตกอย่ใู นสถานการณเ์ พลิงไหม้ อย่างนอ้ ยความสญู เสียท่ีเกิดขึน้ ก็อาจ
เปล่ียนจากใหญ่เป็นเลก็ ได้

1. ตง้ั สติสำคญั ทสี่ ุด

สิ่งสาคญั ท่ีสดุ คือ ตงั้ สติ สาเหตสุ ่วนใหญ่ของคนท่ีเสียชีวิตในเหตเุ พลิงไหม้ มาจากการขาดสติ ลนลาน และตื่น
ตระหนกจนพลาดทาใหไ้ ม่สามารถรกั ษาชีวิตไวไ้ ด้ ทางท่ีดีตอ้ งตงั้ สติใหด้ ี ประเมินสถานการณท์ ่ีเกิดขึน้ ว่าอยู่ห่างจาก
สถานท่ีเกิดเหตุมาก-นอ้ ยแค่ไหน ไฟไหม้รุนแรงแค่ไหน เม่ือรูส้ ถานการณเ์ บือ้ งตน้ แลว้ และพบว่าตวั เองอย่ใู นท่ีเกิดเหตุ
หากมีสญั ญาณเตือนภยั เหตไุ ฟไหม้ ตอ้ งรีบส่งสญั ญาณทนั ที แต่หากไม่มสี ญั ญาณเตอื นไฟไหม้ ตอ้ งรีบโทรแจง้ เจา้ หนา้ ท่ี
ดบั เพลิงท่โี ทร. 199 พรอ้ มบอกพกิ ดั ท่ีชดั เจน และหากรูส้ าเหตเุ พลิงไหมใ้ หร้ บี บอกทนั ที

2. ใชถ้ ังดบั เพลิงหรอื อปุ กรณด์ บั เพลิง

ในกรณีท่ปี ระเมนิ สถานการณเ์ บอื้ งตน้ แลว้ พบว่าไฟไหมร้ ุนแรงหรอื เพียง
เล็กนอ้ ย และในจุดเกิดเหตมุ ีถงั ดบั เพลิงหรืออปุ กรณด์ บั เพลิงอื่น ๆ สามารถ
ใชถ้ งั ดบั เพลิงควบคมุ ไฟไมใ่ หข้ ยายวงกวา้ งออกไปได้ แตห่ ากในท่เี กดิ เหตไุ มม่ ี
ถังดับเพลิง และไม่มีสาเหตุท่ีชัดเจนของเพลิงไหม้ ไม่ควรใช้นา้ ดับเพลิง
เพราะนา้ สามารถดบั เชือ้ เพลิงธรรมดา เช่น ฟื น ฟาง ยาง ไม้ ผา้ กระดาษ
ภาพจาก : https://www.dreamstime.com/ พลาสติก หนงั สติ๊ก หนงั สตั ว์ ไดเ้ ท่านนั้ แต่ในกรณีท่ปี ระเมนิ สถานการณ์แลว้
พบว่าไฟไหมร้ ุนแรง และอยู่ใกลจ้ ดุ เกิดเหตุมาก ก็ไม่ควรใชถ้ ังดบั เพลิงเช่นกัน เพราะเม่ือไฟไหมร้ ุนแรงแลว้ ถังดบั เพลิง
ภายในอาคารไมเ่ พยี งพอจะใชด้ บั เพลิงท่รี ุนแรงได้

[46]

3. ออกจำกทเี่ กดิ เหตุโดยปกป้องตัวเองให้มำกทสี่ ุด

ภาพจาก : https://www.safesiri.com/fire-drills/

หลงั จากโทรแจง้ ดับเพลิงท่ีโทร.199 แลว้ ในกรณีท่ีไฟไหมร้ ุนแรง ตอ้ งรีบอพยพตวั เองและคนใกลช้ ิดออกจาก

ท่ีเกิดเหตุให้เร็วและปลอดภัยท่ีสุด ย่ิงเม่ือไฟไหมร้ ุนแรง มีทั้งไฟและควัน ยิ่งเป็นสาเหตุของการหมดสติและนาไปสู่

การเสียชีวิตได้ ดังน้ันจึงตอ้ งใชผ้ ้าชุบนา้ ปิดจมูกและปาก หรือใช้ถุงพลาสติกใสขนาดใหญ่อัดอากาศบริสุทธิ์นามา

ครอบศีรษะ เพ่ือป้องกันการสูดดมควนั ไฟเขา้ ส่รู ่างกาย จากนนั้ หมอบ คลาน หรือกม้ ใหต้ ่าท่ีสดุ เพ่ือไม่ใหส้ ดุ ดมควนั ไฟ

เข้าไปในร่างกาย หากเกิดไฟไหม้ข้างนอกและติดอยู่ในห้อง ก่อนออกจากห้องให้ใช้มือสัมผัสผนังหรือลูกบิดประตู

หากไมร่ อ้ นใหเ้ ปิดประตอู อกไปชา้ ๆ และออกไปตามทางท่ีปลอดภยั แต่หากสมั ผสั ผนงั หรอื ลกู บดิ แลว้ พบวา่ มีความรอ้ นสงู

หา้ มเปิดประตอู อกไป เพราะจะตกอยใู่ นวงลอ้ มของกองเพลงิ ได้

ในกรณีนี้ วธิ ีการเอาตวั รอดก็คอื ใชผ้ า้ หนา ๆ ชบุ นา้ อดุ ตามชอ่ งท่ีควนั ไฟสามารถลอยเขา้ มาได้ ปิดพดั ลมระบาย

อากาศและเครื่องปรบั อากาศ เพ่ือป้องกันการสูดดมควันไฟ พรอ้ มโทรศัพทแ์ จง้ เจา้ หน้าท่ีเพ่ือบอกตาแหน่งท่ีติดอยู่

และส่งสญั ญาณขอความชว่ ยเหลือท่หี นา้ ตา่ งหรอื ระเบียงใหไ้ ดม้ ากท่สี ดุ

4. หำ้ มทำสิ่งเหลำ่ นี้

- ห้ามใช้ ลิฟต์ เพราะเม่ือเกิดเพลิงไหม้ไฟฟ้าจะดับ ทาให้ติดค้าง

ภายในลิฟท์ ขาดอากาศหายใจ เสียชีวิตได้ ให้ใช้บันไดหนีไฟในการอพยพ

ออกจากอาคาร เน่ืองจากมีช่องระบายอากาศ จึงช่วยลดการสูดดมควันไฟ

เขา้ สรู่ า่ งกาย ท่สี าคญั ไมค่ วรใชบ้ นั ไดภายในอาคารเป็นเสน้ ทางหนไี ฟ เพราะบนั ได

มีลักษณะเป็นปล่อง ทาใหค้ วนั ไฟและเปลวเพลิงลอยขึน้ มาปกคลมุ จึงเสี่ยงต่อ

การสาลกั ควนั ไฟและถกู ไฟคลอกเสยี ชีวิตได้

ภาพจาก : th.pngtree.com - ไม่หนีไปที่ห้องน้า หลายคนคิดว่าน้าดับไฟได้ ทาให้คนส่วนใหญ่

เกิดเหตเุ พลงิ ไหมใ้ กลต้ วั มกั จะหนีไปท่ีหอ้ งนา้ แตจ่ รงิ ๆ แลว้ นา้ ดบั ไฟไดบ้ างชนิดเท่านนั้ และตอ้ งใชน้ า้ ในปรมิ าณท่ีมากพอดว้ ย

ท่ีผ่านมาในหลายท่ีเกิดเหตุพบผู้เสียชีวิตในห้องนา้ เป็นจานวนมาก ซ่ึงเกิดจากปริมาณนา้ ไม่เพียงพอต่อการดับไฟ

และควนั ไฟทาใหห้ มดสติจนถกู ไฟคลอกเสียชวี ติ

- ไม่ขึ้นไปอยู่ชั้นบนหรือดาดฟ้าของอาคาร เพราะไฟจะลุกลามจากช้ันล่างขึน้ สู่ช้ันบน ทาให้เส่ียงต่อ

การไดร้ บั อนั ตราย ยกเวน้ กรณีท่ไี ม่สามารอพยพหนีไฟไปชน้ั ล่างหรอื นอกอาคารได้

- ไม่เข้าไปอย่ใู นบริเวณจุดอับของอาคาร เชน่ หอ้ งใตด้ ิน เพราะยากต่อการช่วยเหลือของเจา้ หนา้ ท่ี

- เมื่อออกจากตัวอาคารที่เกิดเหตุได้แล้ว ห้ามกลับเข้าไปในอาคารที่เกิดไฟไหม้อีกเด็ดขาดเพราะ

โครงสรา้ งอาคารอาจพงั ถลม่ ลงมาได้

[47]

- อย่าหวงของหรือทรัพย์สมบัติ สาเหตุหน่ึงท่ีคนส่วนใหญ่เสียชีวิตในเหตเุ พลิงไหมเ้ กิดจากการหวงของมีค่า
ทรพั ยส์ ินต่าง ๆ จนพลาดโอกาสในการเอาชีวิตรอด หรือบางครงั้ ก็ออกจากตวั อาคารท่ีเกิดเหตุไดแ้ ลว้ แต่กลบั เขา้ ไปเอา
ของมีค่าท่ีอย่ดู า้ นในใหม่อีกรอบ ทาใหไ้ ม่สามารถกลบั ออกมาไดอ้ ีก ดงั นนั้ เม่ือเกิดเหตุเพลิงไหม้ สิ่งท่ีสาคญั ท่ีสดุ คือชีวติ
ไมใ่ ชส่ ง่ิ ของ จึงตอ้ งรบี พาตวั เองออกจากสถานท่เี กิดเหตใุ หเ้ รว็ ท่สี ดุ

5. ใหข้ อ้ มูลทถ่ี ูกตอ้ ง ชัดเจน และไม่เป็ นภำระของเจำ้ หน้ำที่

ภาพจาก : https://www.uidownload.com/th/vector-dsist

เม่ือออกจากท่ีเกิดเหตุไดแ้ ลว้ หากไฟลุกไหมร้ ุนแรงขึน้ เร่ือย ๆ ตอ้ งปล่อยใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีไดท้ างานอย่างเต็มท่ี

อย่าขดั ขวางการทางานหรือก่อใหเ้ กิดความสบั สน ถา้ มีขอ้ มลู เก่ียวกบั สาเหตุของเพลิงไหม้ จดุ เกิดเหตุ เชือ้ เพลิงท่ีกาลงั ลกุ ไหม้

หรือข้อมูลใด ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ควรรีบแจ้งเจ้าหน้าท่ีทันที แต่หากไม่แน่ใจก็ไม่ควรทาให้เกิดความสับสนเด็ดขาด

กนั ไวด้ กี วา่ แก้ ป้องกนั เหตเุ พลิงไหมไ้ ดอ้ ย่างไร

1. ตรวจสอบอปุ กรณไ์ ฟฟ้า สายไฟฟา้ ใหอ้ ยใู่ นสภาพปลอดภยั หากชารุดใหร้ ีบซอ่ มแซมทนั ที

2. เลือกใชป้ ล๊กั พ่วงท่มี ีคณุ ภาพและไดร้ บั มาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม

3. ถอดปล๊กั อปุ กรณเ์ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้าทกุ ชนดิ หลงั เลิกใชง้ านแลว้ ทกุ ครงั้

4. ตรวจสอบเตาและถังก๊าซหุงต้มให้อยู่ในสภาพปลอดภัย ปิดวาล์วท่ีหัวถังทุกครัง้

หลงั เลิกใชง้ าน

ภาพจาก : th.pngtree.com 5. หนา้ ต่างท่ตี ดิ เหล็กดดั ตอ้ งมชี ่องทางออกฉกุ เฉินท่เี ปิดไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 1 บาน ทกุ หอ้ ง

6. ควรติดตงั้ ถังดบั เพลิงภายในบา้ นในจุดท่ีเห็นเด่นชัด ปราศจากสิ่งกีดขวาง และควรใช้

ถงั ดบั เพลิงเป็นทกุ คน

7. ควรตดิ ตงั้ เครื่องตดั ไฟ เพ่อื ช่วยป้องกนั ไฟฟ้าร่วั และอคั คีภยั

8. วสั ดทุ ่เี ป็นเชอื้ เพลงิ ไวไฟทกุ ชนดิ ตอ้ งเกบ็ ใหห้ า่ งจากความรอ้ นและเปลวไฟ

9. เพิม่ ความระมดั ระวงั เป็นพเิ ศษในกจิ กรรมเกี่ยวกบั ไฟ เชน่ ดบั ธูปเทียนใหส้ นทิ

10. จาเบอรโ์ ทรศพั ทส์ ถานดี บั เพลิงในพนื้ ท่ใี กลบ้ า้ นใหไ้ ด้ หรอื ติดไวใ้ นท่มี องเห็นไดช้ ดั ภาพจาก : th.pngtree.com

วิธีเอาตวั รอดและวิธีป้องกนั พวกนี้ หลายคนเห็นเป็นเร่ืองไกลตวั เหตไุ ฟไหมไ้ ม่ไดเ้ กิดขึน้ บ่อย ๆ และเราคงไม่โชครา้ ย

ขนาดนนั้ แตข่ องแบบนี้ รูไ้ วไ้ ม่เสียหาย เพราะเม่ือเกดิ เหตขุ นึ้ จรงิ ๆ ก็ไมม่ ใี ครชว่ ยเราได้ นอกจากตวั เราเอง

ขอ้ มลู จาก : https://today.line.me/th/v2/article/l2vq5Mg?utm_source=lineshare

[48]


Click to View FlipBook Version