The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาและดัชนีทางการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TB nakglan, 2021-11-03 22:37:18

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาและดัชนีทางการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาและดัชนีทางการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET)
ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เปรยี บเทยี บ 3 ปกี ารศึกษา

ทักษะการดาเนินชีวติ ทกั ษะการเรยี นรู้

60 60

40 40

20 20

0 0
ปี กศ.2563 ปี กศ.2562 ปี กศ.2561 ปี กศ.2563 ปี กศ.2562 ปี กศ.2561

ทกั ษะการประกอบอาชีพ สาระการพฒั นาสงั คม

50 35

45

40 30

35

30 25

ปี กศ.2563 ปี กศ.2562 ปี กศ.2561 ปี กศ.2563 ปี กศ.2562 ปี กศ.2561

สาระความรู้พ้นื ฐาน

35
30
25
20

ปี กศ.2563 ปี กศ.2562 ปี กศ.2561

ระดับประเทศ ศธภ.1 ศธจ.พระนครศรีอยุธยา

ขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศึกษาและดชั นกี ารศกึ ษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 | 45

ตวั ชี้วดั ทางการศกึ ษา

ตัวชวี้ ดั ทางการศกึ ษา

ตัวช้ีวัดทางการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา ประกอบดว้ ย ดัชนีทางการศึกษา รายด้าน 5 ด้าน จานวน 12 ดัชนี ในรูปแบบตาราง แผนภาพ
โดยนาข้อมูลนักเรียน ในปกี ารศึกษา 2564 มาวิเคราะห์หาจานวนอัตราส่วน ค่าเฉล่ีย ร้อยละ รวมท้ังอภปิ รายและ
ให้ข้อเสนอแนะ ในการจัดการศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลกลางให้หน่วยงานทางการศึกษานาไปใช้ประโยชน์ โดยมี
รายละเอียดดังนี้

1. ดา้ นการเข้าถงึ โอกาสทางการศกึ ษา (Access) จานวน 4 ดัชนี ดังนี้
ดชั นที ่ี 1 สัดสว่ นนกั เรียนกอ่ นประถมศึกษา 3-5 ปี ตอ่ ประชากรกลุม่ อายุ 3-5 ปี
ดัชนีที่ 2 ประชากรอายุ 6-11 ปี ได้เข้าเรยี นระดับประถมศึกษาเทียบกับประชากรกลุ่มอายุ 6-11 ปี
ดชั นีที่ 3 ประชากรอายุ 12-14 ปี ได้เข้าเรียนระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ เทียบกบั ประชากรกล่มุ
อายุ 12-14 ปี
ดัชนีท่ี 4 สดั ส่วนนักเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย(สามญั ศกึ ษา+อาชวี ศึกษา) อายุ 15-17 ปี
ต่อประชากรกลมุ่ อายุ 15-17 ปี

2. ด้านความเท่าเทียมทางการศึกษา (Equity) จานวน 1 ดชั นี ดงั นี้
ดชั นีที่ 5 ร้อยละของเด็กในวัยเรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษได้รับการศึกษาเต็มตาม
ศักยภาพ

3. ดา้ นคุณภาพทางการศึกษา (Quality) จานวน 1 ดัชนี ดังนี้
ดัชนีที่ 6 ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) วิชาคณิตศาสตร์และวิชา
ภาษาไทย ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3
ดัชนีที่ 7 ร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ผา่ นเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขน้ึ ไป

4. ดา้ นประสิทธิภาพ (Efficiency) จานวน 4 ดัชนี ดงั นี้
ดชั นีท่ี 8 อัตราการออกกลางคันของนักเรยี นระดับประถมศึกษา
ดัชนีที่ 9 อตั ราการออกกลางคนั ของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ดชั นีท่ี 10 อตั ราการออกกลางคนั ของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
ดัชนีที่ 11 อัตราการออกกลางคันของนกั เรียนระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.1-3)

5. ด้านการตอบโจทย์บรบิ ททีเ่ ปล่ียนแปลง (Relevancy) ดาเนินการ 1 ดัชนี ดังน้ี
ดัชนที ่ี 12 สัดสว่ นผเู้ รียนอาชีวศึกษาตอ่ ผเู้ รียนสามญั ศกึ ษา

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาละดัชนีการศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 | 47

ดา้ นการเขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษา (Access)

จานวนนกั เรียนระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐานรวมทุกสังกดั ปีการศึกษา 2564
เปรยี บเทยี บกบั จานวนประชากรปี 2563 แยกตามกลมุ่ อายุ

ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564

125.77
93.16

84.78
78.32

83.22 109.35 97.03 59.54

อายุ 3-5 ปี อายุ 6-11 ปี อายุ 12-14 ปี อายุ 15-17 ปี

กลุ่มอายุ รอ้ ยละการเข้าถงึ โอกาสทางการศกึ ษา (Access) สรุปการเขา้ ถงึ
(เพ่มิ /ลด)
อายุ 3-5 ปี ปกี ารศึกษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
อายุ 6-11 ปี +1.56
อายุ 12-14 ปี 83.22 84.78 +16.42
อายุ 15-17 ปี -3.87
109.35 125.77 +18.78
รวมท้ังสน้ิ +10.73
97.03 93.16

59.54 78.32

89.68 100.41

จากตารางแสดงการเปรยี บเทยี บการเขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษา (Access) ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
รวมทุกสงั กัด แยกตามอายุ ภาพรวมพบว่า ปีการศึกษา 2563 คิดเป็นร้อยละ 89.68 ปกี ารศกึ ษา 2564 คดิ เป็นร้อย
ละ 100.41 ซ่ึงพบวา่ เพ่ิมขึน้ ร้อยละ 1.56

เม่ือพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาสัดส่วนนักเรียนก่อนประถม ศึกษา 3-5 ปี ต่อประชากร
กลุ่มอายุ 3-5 ปี ในภาพรวมทุกสังกัด พบว่า ปีการศึกษา 2563 คิดเป็นร้อยละ 83.22 ปีการศึกษา 2564 คิดเป็น
ร้อยละ 84.78 ซ่งึ พบว่าเพิ่มข้ึนร้อยละ 1.56

เม่ือพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรอายุ 6-11 ปี ได้เข้าเรียนระดับ
ประถมศึกษา เทียบกับประชากรอายุ 6-11 ปี ในภาพรวมทุกสังกัด พบว่า ปีการศึกษา 2563 คิดเป็นร้อยละ
109.35 ปีการศึกษา 2564 คดิ เปน็ ร้อยละ 125.77 ซ่ึงพบว่าเพิม่ ขนึ้ ร้อยละ 16.42

ข้อมลู สารสนเทศด้านการศกึ ษาละดชั นีการศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 | 48

เม่ือพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรอายุ 12-14 ปี ได้เข้าเรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น เทียบกับประชากรอายุ 12-15 ปี ในภาพรวมทุกสังกัด พบว่า ปีการศึกษา 2563 คิดเป็น
รอ้ ยละ 97.03 ปีการศกึ ษา 2564 คดิ เป็นรอ้ ยละ 93.16 ซงึ่ พบวา่ ลดลงร้อยละ 3.87

เมื่อพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาสัดส่วนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (สามัญ
ศึกษา+อาชีวศึกษา) ต่อประชากรกลุ่มอายุ 15-17 ปี ผู้เรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบว่า ปีการศึกษา 2563
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 59.54 ปีการศึกษา 2564 คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.32 ซง่ึ พบวา่ เพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 18.78

ดัชนที ี่ 1 สัดสว่ นนกั เรยี นกอ่ นประถมศกึ ษา 3-5 ปี ตอ่ ประชากรกล่มุ อายุ 3-5 ปี

ภาพรวมการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาสัดส่วนนักเรียนกอ่ นประถมศกึ ษา (อายุ 3-5 ปี) ตอ่ ประชากร
กลุ่มอายุ 3-5 ปี ในจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

จานวนนักเรยี นกอ่ นประถมศึกษา (อายุ 3-5 ปี) ในปีการศึกษา 2564 จาแนกตามสงั กดั

จานวน จานวนนักเรยี น (คน)

ประชากร อายุ 3-5 ปี (คน) สพฐ. สช. อปท. อว.

22,963 11,026 5,619 2,663 160

คดิ เป็นร้อยละ 48.02 24.47 11.60 0.70

แผนภาพ แสดงสดั ส่วนนกั เรียนกอ่ นประถมศึกษา (อายุ 3-5 ปี) จาแนกตามสังกดั
อว.

อปท.

สช. สพฐ.

จากตารางและแผนภาพ แสดงภาพรวมการเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษาของนักเรยี นกอ่ นประถมศกึ ษา
(อายุ 3-5 ปี) ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปรียบเทียบกับจานวนประชากร (อายุ 3-5 ปี) จานวน 22,963 คน
แยกเป็นนักเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จานวน 11,026 คน คิดเป็นร้อยละ 48.02
สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน 5,619 คน คิดเป็นร้อยละ 24.47 สานักงาน
ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัด จานวน 2,663 คน คิดเป็นร้อยละ 11.60 และสังกัดกระทรวง
การอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม จานวน 160 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.70

ข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศึกษาละดชั นกี ารศึกษา ประจาปีการศึกษา 2564 | 49

ดัชนที ี่ 2 ประชากรอายุ 6-11 ปี ไดเ้ ขา้ เรียนระดับประถมศกึ ษาเทยี บกับประชากรกลมุ่ อายุ 6-11 ปี

ภาพรวมการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรอายุ 6-11 ปี ได้เข้าเรียนระดับประถมศึกษา
ในจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

จานวนนกั เรียนประถมศกึ ษา (อายุ 6-11 ปี) ปกี ารศึกษา 2564 จาแนกตามสงั กัด

จานวนประชากร จานวนนกั เรียน (คน)

อายุ 6-11 ปี (คน) สพฐ. สช. อปท. อว.

47,330 38,856 14,334 5,902 433

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.10 30.29 12.47 0.91

แผนภาพ แสดงสดั ส่วนนกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษา (อายุ 6-11 ป)ี ไดร้ ับการศึกษา แยกตามสงั กัด

อว.
อปท.

สช.

สพฐ.

จากตารางและแผน แสดงภาพรวมการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของนักเรียนประถมศึกษา
(อายุ 6-11ปี) ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปรยี บเทียบกับจานวนประชากร (อายุ 6-11 ป)ี จานวน 47,330 คน
แยกเป็นนักเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จานวน 38,856 คน คิดเป็นร้อยละ 82.10
สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน 14,334 คน คิดเป็นร้อยละ 30.29 สานักงาน
ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัด จานวน 5,902 คน คิดเป็นร้อยละ 12.47 และสังกัดกระทรวง
การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม จานวน 433 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.91

ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาละดชั นีการศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 | 50

ดัชนีที่ 3 ประชากรอายุ 12-14 ปี ได้เขา้ เรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ เทยี บกับประชากรกลุ่มอายุ 12-14 ปี

ภาพรวมการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรอายุ 12-14 ปี ได้เข้าเรียนในระดับมัธยมศกึ ษา
ตอนต้น ในจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

จานวนนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น (อายุ 12-14 ปี) ปีการศกึ ษา 2564 จาแนกตามสังกัด

จานวนประชากร อายุ จานวนนกั เรยี น (คน)

12-14 ปี (คน) สพฐ. สช. อปท. อว. พศ.

26,742 22,291 3,103 1,688 481 146

คิดเป็นรอ้ ยละ 74.95 10.43 5.68 1.62 0.49

แผนภาพ แสดงสดั ส่วนนักเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (อายุ 12-14 ป)ี ไดร้ บั การศึกษา แยกตามสงั กัด

พศ.
สช. อปท. อว.

สพฐ.

จากตารางและแผนภาพ แสดงภาพรวมการเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาของนักเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา
ตอนต้น (อายุ 12-14ปี) ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปรียบเทียบกับจานวนประชากร (อายุ 12-14 ปี) จานวน
26,742 คน แยกเปน็ นักเรียนสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 22,291 คน คิดเป็นร้อย
ละ 74.95 สังกดั สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน 3,103 คน คิดเป็นร้อยละ 10.43 สงั กัด
สานักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัด จานวน 1,688 คน คิดเป็นร้อยละ 5.68 สังกัดกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จานวน 481 คน คิดเป็นร้อยละ 1.62 และสังกัดสานักงาน
พระพุทธศาสนาจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา จานวน 146 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.49

ขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศกึ ษาละดัชนีการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา 2564 | 51

ดชั นที ี่ 4 สดั สว่ นนักเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (สายสามญั +อาชวี ศกึ ษา) อายุ 15-17 ปี

ตอ่ ประชากรกลมุ่ อายุ 15-17 ปี

ภาพรวมการเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรอายุ 15-17 ปี ไดเ้ ขา้ เรยี นระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายหรือเทยี บเท่า (สามัญศึกษา+อาชวี ศึกษา) ในจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

จานวนนักเรยี นมัธยมศึกษาตอนปลายและอาชวี ศึกษา(อายุ 15-17 ป)ี ปีการศึกษา 2564 จาแนกตามสังกัด

จานวนประชากร จานวนนกั เรยี น (คน)

อายุ 15-17 ปี (คน) สพฐ. สช. อปท. อว. พศ. อาชีว

28,326 11,949 822 454 310 99 8,550

คดิ เป็นรอ้ ยละ 42.18 2.90 1.60 1.09 0.35 30.18

แผนภาพ แสดงสัดส่วนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและอาชวี ศึกษา (อายุ 15-17 ปี)
ไดร้ บั การศึกษา แยกตามสังกัด

อาชีว สพฐ.

พศ. อปท. สช.
อว.

จากตารางและแผนภาพ แสดงภาพรวมการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของนักเรยี นระดับมธั ยมศึกษา
ตอนปลาย (อายุ 15-17 ปี) ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ต่อจานวนประชากร (อายุ 15-17 ปี) จานวน 28,326
คน แยกเป็นนักเรียนสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จานวน 11,949 คน คิดเป็นร้อยละ 42.18
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จานวน 8,550 คน คิดเป็นร้อยละ 30.18 สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน จานวน 822 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.90 สงั กัดสานักงานสง่ เสริมการปกครอง
ส่วนท้องถ่ินจังหวัด จานวน 454 คน คิดเป็นร้อยละ 1.60 สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม จานวน 310 คน คิดเป็นร้อยละ 1.09 และสังกัดสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จานวน 99 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.35

ขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาละดัชนีการศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 | 52

อภิปราย

การจัดการศึกษาของจังหวัดพระนครศรีอยุธยามุ่งเน้นให้นักเรียนทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและ
ความเสมอภาคทางการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นหน่วยงานหลัก
ในการจัดการศึกษาของ จากขอ้ มูลการเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษา ปีการศึกษา 2564 พบว่า ประชากรอายุ 6-11 ปี
คือระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6 เข้ารับการศกึ ษาสูงสุด คดิ เปน็ ร้อยละ 125.77

ขอ้ เสนอแนะ

1. การจัดการศึกษาจะต้องสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้ปกครอง ว่าหากนักเรียนเข้าสู่ระบบการศึกษาแล้ว
จะไดร้ ับความรู้ การดูแล การให้ประสบการณช์ ีวิตทีด่ ี เพ่ือให้เด็กเติบโตไปอยูใ่ นสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข สามารถ
เติบโตเป็นผูใ้ หญ่ทมี่ คี ณุ ภาพได้ในอนาคต

2. รัฐบาลควรหาแนวทางในการจัดการศึกษา เพ่ือส่งเสริมคุณภาพการจัดการศึกษาของภาครัฐ
ใหใ้ กลเ้ คียงกับการจัดการศึกษาของภาคเอกชน

3. ในช่วงสถานการณ์โรคระบาดไวรัส COVID-19 ควรพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบ
ออนไลน์ ให้มปี ระสิทธิภาพ รวบถงึ การสนับสนุนอุปกรณใ์ นการเรียนออนไลน์ให้แก่ผู้เรียน เพอ่ื การเขา้ ถึงระบบการ
เรยี นการสอนทม่ี ีความเทา่ เทียมกนั

ดา้ นความเทา่ เทยี บทางการศกึ ษา (Equity)

ดชั นที ี่ 5 รอ้ ยละของเด็กในวยั เรยี นทมี่ คี วามตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษไดร้ บั การศึกษาเตม็ ตามศกั ยภาพ

ผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่เป็นบุคคลผู้มีความพิการอายุระหว่าง 3-17 ปี ท่ีอยู่ในระบบ
การศึกษาและอยู่ในการดูแลของศูนย์การศึกษาพิเศษมีจานวน 137,127 คน มีนักเรียนท่ีมีความพิการได้รับ
การศกึ ษา จานวน 3,328 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.43

จานวนนกั เรียนระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐานทมี่ ีความบกพร่อง อายรุ ะหวา่ ง 3- 17 ปี

เทยี บกับจานวนนักเรียนทงั้ หมด แยกตามสงั กดั

จานวนนกั เรยี น เขต 1 เขต 2 สพม. สช. อปท. อศจ. อว. พศ. กศ.พิเศษ รวม

นักเรียนทั้งหมด 35,100 22,792 26,230 24,083 10,731 13,689 1,438 245 589 134,897

นร.ทมี่ ีความ 1,788 905 116 25 43 9 30 589 3,478
บกพรอ่ ง

ร้อยละ 5.09 3.97 0.44 0.10 0.40 0.07 0.21 0 100 2.58

ทีม่ า : http://specialbasic.specialset.bopp.go.th (โปรแกรม SET), ข้อมูลจานวนนกั เรยี น ณ วันท่ี 25 ก.ค. 2564 ตามรายงานของหน่วยงาน

ตน้ สังกัด, ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั

ข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาละดชั นกี ารศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา 2564 | 53

กศ.พเิ ศษ 5000 10000 15000 20000 25000 30000 35000 40000
พศ. นกั เรยี นทง้ั หมด นร.ทีม่ มีความบกพร่อง
อว.
อศจ.
อปท.
สช.
สพม.

เขต 2
เขต 1

0

จากแผนภาพแสดงจานวนผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีมีความพิการอายุระหว่าง 3- 17 ปี
เทียบกบั จานวนนักเรียนท้งั หมด พบว่า นักเรยี นในระบบการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน มจี านวน 134,897 คน มีนักเรียนท่ีมี
ความบกพร่อง จานวน 3,478 คิดเป็นร้อยละ 2.58 มีนกั เรยี นเรยี นรวมในโรงเรียนปกติ จานวน 2,889 คน คิดเป็น
ร้อยละ 2.14

จานวนนักเรียนแยกตามประเภทการรบั บรกิ าร ของศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

รับบริการในศูนย์ รับบรกิ ารนอกศูนย์ รวม
ประจา ไป-กลบั รวม ทัง้ ส้ิน
หนว่ ยงาน ที่บา้ น โรงพยาบาล หน่วยบรกิ าร ศูนย์การ รวม ไม่ระบุ
เรียนรู้

ศุนย์การศึกษาพิเศษ 0 61 61 186 95 247 0 582 0 589
ประจาจังหวดั

ทมี่ า : http://specialbasic.specialset.bopp.go.th (โปรแกรม SET)

การอภปิ ราย

1. พระราชบญั ญตั ิการจดั การศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร พ.ศ. 2551

มาตร 3 ในพระราชบัญญัติดงั น้ี

“คนพิการ” หมายความวา่ บคุ คลซ่ึงมีข้อจากดั ในการปฏิบตั กิ จิ กรรมในชวี ติ ประจาวนั หรือเข้าไปมี

ส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์

พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืนใดประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆ และ ความต้องการ

จาเป็นพิเศษทางการศึกษาท่ีจะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหน่ึงด้านใด เพ่ือให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมใน

ชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลท่ัวไป ทั้งนี้ ตามประเภทและหลักเกณฑ์ท่ี

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกาหนด

ขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศกึ ษาละดัชนกี ารศึกษา ประจาปีการศึกษา 2564 | 54

“ผู้ดูแลคนพิการ” หมายความว่า มารดา ผู้ปกครอง บุตร สามี ภรรยา ญาติ พนี่ ้อง หรือบุคคล อ่ืนใด
ทีร่ ับดแู ลหรอื รบั อุปการะคนพกิ าร

“แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล” หมายความว่า แผนซ่ึงกาหนดแนวทางการจัดการศึกษา
ท่ีสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นพิเศษของคนพิการ ตลอดจนกาหนดเทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก
สอื่ บริการ และความช่วยเหลอื ใดทางการศกึ ษาเฉพาะบุคคล

มาตรา 5 คนพิการมีสทิ ธิทางการศกึ ษา ดังนี้
(1) ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายต้ังแต่แรกเกิดหรือพบความพิการจนตลอดชีวิต พร้อมทั้ง
ไดร้ บั เทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บรกิ าร และความช่วยเหลอื อื่นใดทางการศกึ ษา
(2) เลือกบริการทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบและรูปแบบการศึกษา โดยคานึงถึง
ความสามารถ ความสนใจ ความถนดั และความต้องการจาเปน็ พเิ ศษของบุคคลน้ัน
(3) ได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการจัดหลักสูตรกระบวน
การเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษา ท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นพิเศษของคนพิการแต่ละ
ประเภทและบุคคล
มาตรา 21 ให้จัดต้ังกองทนุ ขึ้น เรียกว่า “กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศกึ ษาสาหรบั คนพิการใน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานเพ่ือใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการศึกษาสาหรับคน
พิการอย่างเปน็ ธรรมและทั่วถึง โดยกองทนุ ประกอบดว้ ย
1. เงินและทรัพย์สินที่โอนมาจากเงินกองทุนการศึกษาสาหรับคนพิการตามระเบียบ
กระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยกองทุนการศกึ ษาสาหรบั คนพิการ พ.ศ. 2546
2. เงนิ อุดหนุนจากรฐั บาล
3. เงนิ อดุ หนนุ จากองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
4. เงินรายไดท้ ี่ได้จากการออกสลากหรอื การจดั กิจกรรม
5. ดอกผลและผลประโยชนท์ ีเ่ กดิ จากเงินหรอื ทรพั ยส์ นิ ของกองทุน
6. เงินหรือทรัพยส์ ินที่มีผ้บู รจิ าคหรือมอบให้
7. รายได้บางสว่ นจากภาษีของสินค้าและบริการท่ีเปน็ สาเหตุแห่งความพิการตามที่กฎหมายกาหนด
2. พระราชบัญญัติการจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2556
มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในบทนยิ ามคาวา่ “ครูการศกึ ษาพิเศษ” ในมาตรา 3 แห่งพระราชบญั ญัติ
การจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร พ.ศ. 2551 และใหใ้ ช้ความต่อไปนีแ้ ทน
“ครูการศึกษาพิเศษ” หมายความว่า ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป
หรือครูท่ีมวี ุฒิทางการศึกษาพเิ ศษระดบั ปริญญาตรีที่ผ่านการประเมินทักษะการสอนคนพิการตามที่คณะกรรมการ
สง่ เสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการกาหนด และปฏิบตั ิหนา้ ที่สอน จัดการศกึ ษา นิเทศ หรอื หนา้ ทอ่ี ่นื เกี่ยวกับ
การจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการในสถานศึกษาทงั้ ของรัฐและเอกชน
มาตรา 4 ให้ยกเลิกความในมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ
พ.ศ. 2551 และให้ใช้ความตอ่ ไปนแี้ ทน

ขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศึกษาละดัชนีการศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2564 | 55

“มาตรา 11 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึง่ เรยี กวา่ “คณะกรรมการสง่ เสริมการจดั การศกึ ษาสาหรับ
คนพกิ าร” ประกอบด้วย

1. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร เป็นประธานกรรมการ
2. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง ผู้ทรงคุณวุฒิ
ซึ่งรฐั มนตรีแต่งต้ังจากกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิซ่ึงเป็นผู้แทนขององค์การคนพิการตาม (4) เป็นรองประธานกรรมการ
คนที่สอง
3. กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนสิบคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา เลขาธิการสภาการศึกษา อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน อธิบดีกรม
สขุ ภาพจติ ผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานคร และเลขาธกิ ารสานกั งานสง่ เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพกิ ารแห่งชาติ
4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนสิบส่ีคน ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความสามารถ
ความเช่ียวชาญและประสบการณ์สงู ดา้ นการบริหารการศึกษา ด้านการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร ดา้ นกฎหมาย ดา้ น
การแพทย์และสาธารณสุข ด้านเทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการและดา้ นสังคมสงเคราะห์ ด้านใด
ด้านหนึ่งหรือหลายด้านรวมกัน โดยในจานวนนี้ต้องมีบุคคลซึ่งเป็นผู้แทนขององค์การคนพิการแต่ละประเภท
จานวนไม่น้อยกว่าเจ็ดคนให้ผู้อานวยการสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้
ผู้อานวยการสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษแต่งต้ังข้าราชการในสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษเป็น
ผ้ชู ่วยเลขานุการ
มาตรา 5 ให้คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ซึ่งโดยตาแหน่งอยู่ในวันก่อน
ท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ คงอยู่ในตาแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษา
สาหรับคนพิการตามพระราชบัญญัติการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ซ่ึงแก้ไขเพ่ือเติมโดยพระราชบัญญัตินี้
ทงั้ น้ี ต้องไม่เกนิ หนึ่งร้อยย่ีสบิ วนั นับแตว่ ันทพ่ี ระราชบญั ญตั ินใ้ี ชบ้ งั คบั
มาตรา 6 ให้ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีซ่ึงทาการสอนและได้รับเงินเพ่ิมสาหรับ
ตาแหน่งตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการครูว่าด้วยเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษของครูการศึกษา
พเิ ศษและครูการศกึ ษาพิเศษกรณเี รียนร่วม พ.ศ. 2539 อยกู่ ่อนวนั ที่พระราชบญั ญตั กิ ารจัดการศกึ ษาสาหรับ คน
พิการ พ.ศ. 2551 ใช้บังคับ เป็นครูการศึกษาพิเศษตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ.
2551 ซ่งึ แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ินี้
มาตรา 7 ใหร้ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
3. สิทธิของคนพิการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560
คนพิการ หมายถึง บุคคลซึ่งถูกจากัดความสามารถในการดาเนินชีวิตประจาวันโดยมีความ
บกพร่องทางร่างกาย สามารถแบ่งประเภทความพิการได้ 6 ประเภท ดังน้ี 1) ความพิการทางการมองเห็น
2) ความพิการทางการได้ยินหรือการสื่อความหมาย 3) ความพิการทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว 4) ความพิการ
ทางจิตใจหรือพฤติกรรม 5) ความพิการทางสติปัญญาหรือการเรียนรู้ และ 6) ความพิการซ้าซ้อน (มีความพิการ
มากกว่า 1 ลักษณะข้ึนไป คนพิการจาเป็นต้องได้รับสิทธิพเิ ศษด้านตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถดาเนินชวี ิตไดเ้ ช่นเดียวกับ
คนปกติ ซึ่งสิทธิของคนพิการได้รับการรับรองอย่างเป็นรูปธรรมคร้ังแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540 กระทั่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ได้รับรองสิทธิของคนพิการเพ่ิมมากขึ้น
โดยประกอบดว้ ย 4 ด้าน สรุปสาระสาคญั ได้ดงั น้ี

ขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศกึ ษาละดัชนกี ารศึกษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 | 56

1. ดา้ นความคุ้มครอง หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 4 กาหนดให้สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค
ของบุคคลยอ่ มได้รบั ความคมุ้ ครองอย่างสมศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ตามรฐั ธรรมนูญเสมอกัน

2. ด้านความเสมอภาค หมวด 3 มาตรา 27 ภาครัฐจะเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลที่มี
ความแตกต่างในเร่ืองถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สุขภาพ สถานะบุคคล ฐานะ ทางเศรษฐกิจ
หรอื สังคม ความเชอ่ื ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคดิ เหน็ ทางการเมอื งท่ีไม่ขดั ตอ่ รฐั ธรรมนูญไมไ่ ด้

3. ด้านสทิ ธใิ นการรบั บริการสาธารณสุข หมวด 3 มาตรา 47 กาหนดให้บุคคลผู้ยากไร้มสี ทิ ธิได้รับ
บริการสาธารณสุขโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และบุคคลมีสิทธิได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตรายจากรัฐโดยไม่
เสียคา่ ใชจ้ ่ายเชน่ กนั

หมวด 5 มาตรา 55 กาหนดให้รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขอย่างมี
ประสิทธิภาพและท่ัวถึงเพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค
และสนบั สนุนให้มีการพัฒนาภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทยใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด อีกท้งั ต้องพัฒนาการบรกิ ารอย่าง
มีคุณภาพ และยกระดับให้มีมาตรฐานสงู ขนึ้ อย่างต่อเน่ืองอีกด้วย

4. ด้านการศึกษา หมวด 5 มาตรา 54 กาหนดให้รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษา
เป็นเวลา 12 ปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย นับวันจานวนคน
พิการเพิ่มมากข้นึ หลายสาเหตุ เช่น ความชรา ความเจ็บปว่ ย และอุบัติเหตุ อย่างไรกต็ ามสงั คมไทย ไดต้ ระหนักต่อสิทธิ
และโอกาสของคนพิการเพ่ิมมากขึ้นเช่นกัน เห็นได้จากการจัดบริการสิ่งอานวยความสะดวกต่อการดาเนินชีวิตของคน
พิการ เช่น ท่ีน่ัง ท่ีจอดรถ ห้องน้า บันไดเล่ือน การจัดพื้นผิวสัมผัสบนทางเดิน การจัดทางลาดเข้าสถานีรถไฟฟ้า
อาคาร หรือห้างสรรพสินค้า การจัดบริการล่ามภาษามือในการประชุม เป็นต้น อีกทั้งภาครัฐยงั ได้มอบเบีย้ ยังชีพให้แก่
คนพิการเดือนละ 800 บาท และหากเป็นผู้สูงอายุจะได้รับเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุเดือนละ 700-1,100 บาท ควบคู่กับเบ้ีย
ยงั ชีพคนพิการอีกด้วย

ทั้งนี้ รัฐบาลได้พยายามปรับกฎหมายและมาตรการต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมสิทธิของคนพิการให้เป็นรูปธรรม
มากขึน้ ประกอบกบั พระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. 2550 ไดก้ าหนดสิทธิต่าง ๆ ทค่ี น
พิการพึงได้รับเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาให้มีคุณภาพชีวิตเช่นเดียวกับคนทั่วไป และพระราชบัญญัติการจัดการศึกษา
สาหรับคนพกิ าร พ.ศ. 2551 ไดก้ าหนดให้จัดการศกึ ษาสาหรับคนพิการโดยเฉพาะ ซึง่ แตกตา่ งจากการจัดการศึกษา
สาหรับบุคคลท่ัวไป และกาหนดให้คนพิการได้รับสิทธิความช่วยเหลือทางการศึกษาเป็นพิเศษต้ังแต่แรกเกิดหรือ
ตั้งแต่พบความพิการจนตลอดชีวิต

หมายเหตุ
1. เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ีคือ โดยที่พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคน
พกิ าร พ.ศ. 2551 ได้บญั ญตั ใิ หค้ รูการศึกษาพิเศษซ่งึ ทาการสอนคนพกิ ารต้องมีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสงู กว่าระดับปริญญา
ตรีข้ึนไป ทาให้ไม่สามารถแต่งตั้งครูท่ีมีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีเป็นครูการศึกษาพิเศษได้ มีผลให้ครู
การศึกษาพิเศษซ่งึ ทาการสอนคนพิการมีไม่เพียงพอ ดังนัน้ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทนยิ าม คาว่า “ครูการศึกษาพเิ ศษ” ใหม้ ี
ความหมายกวา้ งขน้ึ และครอบคลุมครูท่มี ีวฒุ ทิ างการศกึ ษาพเิ ศษระดบั ปริญญาตรีรวมท้ังเห็นควรปรับปรงุ องค์ประกอบของ
คณะกรรมการสง่ เสริมการจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ ารให้เหมาะสมยิง่ ข้ึน จงึ จาเปน็ ต้องตราพระราชบัญญตั ิน้ี
2. พระราชบญั ญัติการจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการ พ.ศ. 2551

ขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาละดัชนกี ารศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 | 57

ขอ้ เสนอแนะ

1. หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องควรมีส่วนช่วยผลักดนั ให้บุคคลผู้มคี วามพิการได้จัดทาบัตรประจาตัวผู้พิการ
เพื่อสทิ ธิประโยชนท์ ีเ่ พิม่ ข้นึ

2. หน่วยงานระดับพื้นท่ีควรมีขอ้ มูลที่ครอบคลมุ นักเรียนแต่ละประเภทใหช้ ัดเจน และสามารถส่งต่อ
ข้อมูลให้กับหน่วยงานอ่ืนได้ ทั้งในภาพรวมระดับกระทรวงศึกษาธิการและระดับประเทศ

3. หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรมีการชี้แจง ประชาสัมพันธ์ และสร้างความเข้าใจให้กับผู้ปกครอง
ครอบคลุมทุกพื้นที่ในการแจ้งข้อมูลและนานักเรียนในความปกครองเข้าไปศึกษาในแต่ละระดับ แต่ละประเภท
ซึง่ จะทาใหน้ ักเรยี นมโี อกาสและความเท่าเทียมกนั ทางด้านการศึกษา

4. รฐั บาลควรให้การสนับสนุนงบประมาณอุดหนุนรายหัวกับนักเรียน โดยให้เหมาะสมสอดคล้องกับ
สภาพของครอบครวั และสภาวะเศรษฐกิจทเ่ี ปลี่ยนแปลงในปจั จบุ นั

ดา้ นคณุ ภาพการศกึ ษา (Quality)

ดชั นที ี่ 6 รอ้ ยละของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ทม่ี คี ะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน
(O-NET) แตล่ ะวชิ าผา่ นเกณฑค์ ะแนนรอ้ ยละ 50 ขนึ้ ไป

รอ้ ยละจานวนนักเรียนท่ีสอบไดค้ ะแนนต้งั แตร่ ้อยละ 50 ขึ้นไปและจานวนผู้เขา้ สอบของระดบั

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2563 จาแนกตามสังกดั และรายวิชา

สงั กัด ตวั แปร วิชา วิทย์ สังคมฯ
ภาษาไทย องั กฤษ คณติ

สานกั งานเขตพ้นื ที ร้อยละผ้สู อบไดค้ ะแนน 50% ข้นึ ไป 10.42 0 0 2.08 0

การศกึ ษาประถมศึกษา จานวนผเู้ ข้าสอบ 48 48 48 48 48

สานักงานเขตพ้นื ที่ รอ้ ยละผสู้ อบไดค้ ะแนน 50% ข้ึนไป 36.70 6.25 9.66 7.64 4.28

การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา จานวนผเู้ ข้าสอบ 3398 3424 3426 3379 3432

สานกั งานคณะกรรมการการ ร้อยละผสู้ อบได้คะแนน 50% ข้นึ ไป 25.66 7.05 5.31 6.64 3.10

สง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน จานวนผเู้ ข้าสอบ 226 227 227 226 226

กระทรวงอุดมศกึ ษา รอ้ ยละผสู้ อบได้คะแนน 50% ขนึ้ ไป 94.00 66.34 71.29 58.00 35.64

วิทยาศาสตร์ วิจยั ฯ จานวนผเู้ ขา้ สอบ 100 101 101 101 101

สานักงานสง่ เสรมิ การ รอ้ ยละผู้สอบไดค้ ะแนน 50% ข้นึ ไป 13.01 0 0 1.63 0

ปกครองทอ้ งถ่ินจงั หวัด จานวนผู้เขา้ สอบ 123 123 123 123 123

สานักงานพระพุทธศาสนา รอ้ ยละผู้สอบไดค้ ะแนน 50% ขน้ึ ไป 6.25 0 0 0 0

จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา จานวนผู้เขา้ สอบ 32 32 32 32 32

รวมระดับจังหวดั รอ้ ยละผสู้ อบได้คะแนน 50% ขน้ึ ไป 36.21 7.51 10.49 8.55 4.80

จานวนผูเ้ ขา้ สอบ 3927 3955 3957 3908 3962

ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาละดชั นีการศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 | 58

100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00 วทิ ย์ สังคมฯ
ไทย องั กฤษ คณติ

จังหวัด สพป. สพม. สช. อว. อปท. พศ.

จากตารางและแผนภาพ แสดงร้อยละของนักเรียนท่ีสอบได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 50 ข้ึนไปและ
จานวนผูเ้ ขา้ สอบในระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 จาแนกตามรายวชิ า และจาแนกตามสงั กดั พบว่า
วิชาภาษาไทยมีจานวนนักเรียนผ่านเกณฑ์สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 36.21 จากจานวนนักเรียนท่ีเข้าสอบ 3,927 คน
รองลงมาเป็นวิชาภาษาคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 10.49 จากจานวนผู้เข้าสอบ 3,957 คน และวิชาสังคมศึกษาฯ
มีผสู้ อบไดค้ ะแนนต้งั แต่รอ้ ยละ 50 คะแนนขึน้ ไป น้อยท่ีสุด คดิ เปน็ ร้อยละ 4.80 จากผู้เข้าสอบ 3962 คน

รายวิชาภาษาไทย ร้อยละของนักเรียนท่ีสอบได้คะแนนต้ังแต่ร้อยละ 50 ข้ึนไปและจานวนผู้เข้าสอบ
ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 พบว่า นักเรียนสงั กัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม มีนักเรียนผ่านเกณฑ์สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 94.00 และสังกัดสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา มีนกั เรียนผ่านเกณฑต์ า่ สุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.25

รายวิชาภาษาอังกฤษ ร้อยละของนักเรียนท่ีสอบได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไปและจานวนผู้เข้า
สอบในระดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 พบวา่ นักเรยี นสังกัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัย
และนวัตกรรม มีนักเรียนผ่านเกณฑ์สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 66.34 และสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษา สานักงานส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิ่นจังหวดั สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ไม่มนี ักเรียนสอบได้
คะแนนต้งั แต่ร้อยละ 50 ขึน้ ไป

รายวิชาคณิตศาสตร์ ร้อยละของนักเรียนที่สอบได้คะแนนต้ังแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไปและจานวนผู้เข้า
สอบในระดบั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2563 พบวา่ นักเรยี นสังกัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัย
และนวัตกรรม มีนักเรียนผ่านเกณฑ์สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 71.29 และสังกัดสานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
จงั หวดั สานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัด ไมม่ นี ักเรียนสอบได้คะแนนตัง้ แตร่ ้อยละ 50 ขนึ้ ไป

รายวิชาวิทยาศาสตร์ ร้อยละของนักเรียนท่ีสอบได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 50 ข้ึนไปและจานวนผู้เข้า
สอบในระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 พบวา่ นักเรียนสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย
และนวัตกรรม มีนักเรียนผา่ นเกณฑส์ ูงสดุ คดิ เป็นร้อยละ 58.00 และสังกัดสานักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั ไม่มี
นกั เรยี นสอบไดค้ ะแนนตง้ั แตร่ ้อยละ 50 ขน้ึ ไป

ขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศกึ ษาละดัชนีการศกึ ษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 | 59

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา รอ้ ยละของนักเรียนท่ีสอบไดค้ ะแนนต้ังแตร่ ้อยละ 50 ข้ึนไปและจานวนผู้เข้าสอบ
ในระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2563 พบว่า นักเรยี นสงั กัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม มีนักเรียนผ่านเกณฑ์สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 35.64 และสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัด สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ไม่มีนักเรียนสอบได้คะแนนต้ังแต่
รอ้ ยละ 50 ขนึ้ ไป

เปรียบเทยี บภาพรวมร้อยละจานวนนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ทผี่ า่ นเกณฑ์ร้อยละ 50 ข้นึ ไป
ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2563 แยกรายวิชา

องั กฤษ คณิตศาสตร์

0.00 5.00 10.00 0.00 5.00 10.00 15.00

วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา

0.00 5.00 10.00 0.00 2.00 4.00 6.00

ภาษาไทย ปี 2563
ปี 2562
0.00 20.00 40.00 60.00 ปี 2561
ปี 2560

ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาละดัชนีการศึกษา ประจาปีการศึกษา 2564 | 60

จากแผนภาพ เปรียบเทียบภาพรวมร้อยละจานวนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ
50 ขึ้นไปปีการศึกษา 2560 – 2563 พบว่า ในปีการศึกษา 2563 มีนักเรียนสอบได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
สูงกว่า ในปีการศึกษา 2562 ยกเว้นรายวิชาสังคมศึกษาฯ ที่มีนักเรียนสอบได้คะแนนร้อยละ 50 ข้ึนไปน้อยกว่า
ปีการศกึ ษา 2562

ขอ้ เสนอแนะ

การจัดการศึกษาถือเป็นภารกิจท่ีสาคัญท่ีรัฐต้องให้บริการสาธารณะแก่ประชาชน อันเป็นไปตาม
หลักการของแนวนโยบายพ้นื ฐานแห่งรัฐ ท่ีการจดั การศึกษาต้องมคี ุณภาพและมาตรฐานในทุกระดับและทกุ รปู แบบ
ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม รัฐต้องดาเนินการตามหลักการสาคัญของการบริการ
สาธารณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหลักความเสมอภาค ตอ้ งดาเนินการจัดการศึกษามิให้เกดิ ความเหล่ือมล้าในโอกาส
การเข้ารับการศึกษาและคุณภาพการศึกษา ต้องจัดการศึกษาที่มีคุณภาพที่ต่อเนื่องในทุกพ้ืนที่ข องประเทศ
ประชาชนต้องไม่ได้รับความเดอื ดร้อนหรือเสียหายจากการดาเนนิ การจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพทไ่ี ม่ต่อเน่อื ง และไม่
เป็นมาตรฐานเดียวกัน และต้องปรับปรุงอยู่ตลอดเวลาให้เป็นไปตามสถานการณ์ปัจจุบัน เพราะสังคมมีการ
เปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา

ดังน้ัน การจัดการศึกษาเพื่อให้ตอบสนองด้านคุณภาพทางการศึกษา ภาครัฐจะต้องมีการพัฒนา
คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ การสร้างโอกาสทางการเรียนรู้ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาค
ส่วนของสังคมในการบริการจัดการศึกษา รวมทั้งการจัดการคุณภาพของหลักสูตรและระบบจัดการเรียนการสอน
ให้สอดคล้องและเหมาะสมตามบริบทพ้ืนที่ การพัฒนาคุณภาพผู้สอนและคุณภาพชีวิตของผู้เรียน แม้การจัดการ
เรียนการสอนจะดาเนินการตามกรอบมาตรฐานการศึกษา แต่หากผู้เรียนไม่พร้อมต่อการเรียน ด้านครอบครัว
ความพร้อมของผู้ปกครองของผู้เรียน ความสามารถในการดูแล อบรมสั่งสอน การให้เวลาใกล้ชิดต่อผู้เรียน ปัจจัย
ด้านสถานะของครอบครวั รายรับรายจ่าย อาชพี ต่าง ๆ เหล่านี้เปน็ ตน้ ถึงแม้มีระบบการจัดการทดี่ ีกไ็ ม่อาจบรรลผุ ล
ตอ่ คุณภาพการจัดการศึกษาได

ดา้ นประสทิ ธภิ าพ (Efficiency)

ดชั นที ี่ 7 อตั ราการออกกลางคนั ของนกั เรยี นระดับประถมศกึ ษา

จานวนนักเรียนและรอ้ ยละของนักเรยี นออกกลางคัน ปีการศกึ ษา 2563 จาแนกตามระดับชนั้ และสังกดั

ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย

สังกดั นร. นร.ออก ร้อยละ นร. นร.ออก รอ้ ยละ นร. นร.ออก ร้อยละ
ท้งั หมด กลางคนั ทง้ั หมด กลางคนั ทัง้ หมด กลางคนั
สพฐ.
สช. 38,856 0 0.00 22,291 0 0.00 11,949 0 0.00
อปท.
อว. 14,334 140 0.98 3,103 7 0.23 822 5 0.61
พศ.
อาชวี ศกึ ษา 5,902 4 0.07 1,688 0 0.00 454 0 0.00
รวมท้ังหมด
433 0 0 481 3 0.62 310 6 1.94

0 00 146 0 0.00 99 0 0.00

0 00 0 0 0.00 8,550 1,030 12.05

59,525 144 0.24 27,709 10 0.04 22,184 1,041 14.59

ขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศึกษาละดัชนกี ารศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 | 61

40000 สพฐ.
35000
30000 สช.

25000 อปท.

20000 อว.
15000

10000 พศ.

5000 อาชวี
0

จากตารางและแผนภาพ จานวนนักเรียนและร้อยละของนักเรียนออกกลางคัน แยกตามสังกัด
ปกี ารศึกษา 2563

ระดับช้ันประถมศึกษา พบว่า สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษาเอกชน มีนักเรียนออกกลางคนั สูงสุด
คิดเป็นร้อยละ 0.98 จากนักเรียนทั้งหมด 14,334 คน และสังกัดสานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา มีนักเรียนออกกลางคนั นอ้ ยทีส่ ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.07 จากจานวนนกั เรียนทั้งหมด 5,902 คน

ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
มีนักเรียนออกกลางคันสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 0.62 จากนักเรียนท้ังหมด 481 คน และน้อยท่ีสุดสังกัดสานักงาน
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.23 จากนักเรียนทงั้ หมด 3,103 คน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พบวา่ สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีนักเรียนออก
กลางคันสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 12.05 จากนักเรียนทั้งหมด 8,550 คน และน้อยที่สุดสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา
วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม คิดเปน็ ร้อยละ 1.94 จากนักเรยี น 310

ข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาละดัชนีการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา 2564 | 62

ตาราง แสดงจานวนและร้อยละของนกั เรียนออกกลางคนั ปกี ารศกึ ษา 2563 จาแนกตามสาเหตแุ ละระดบั การศกึ ษา

ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอน รวมทั้งหมด

สาเหตุการออกกลางคัน ปลาย

เจบ็ ปว่ ย/อบุ ัติเหตุ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
ฐานะยากจน (คน) (คน) (คน) (คน)
ตอ้ งคด/ี ถูกจบั 0 0 25.92
ปญั หาด้านการปรบั ตวั 0 2.78 0 0 311 29.76 311 0.33
มปี ญั หาครอบครวั 4 0 0 4 0.00
สมรส 0 0 0 18.18 0 0.00 0 3.75
หาเล้ยี งครอบครวั 0 0 2 0 45 0.00
อพยพตามผูป้ กครอง 0 0 0 0 0 0.00 0 0.00
กรณีอ่นื ๆ 0 0 0 0 0 5.58
รวมทัง้ หมด 0 0 0 54.55 43 4.11 67 10.33
114 79.17 6 27.27 54.08
26 18.06 3 100 0 0.00 124 100.00
144 100 11 649
0 0.00 1,200

67 6.41

4 0.38

620 59.33

1045 100

800
600
400
200

0 นร.ประถม

นร.ประถม นร. ม.ต้น นร.ม.ปลาย

ขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศกึ ษาละดัชนีการศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 | 63

จากตารางและแผนภาพ สาเหตุการออกกลางคันของนักเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น
และมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปีการศึกษา 2563 พบว่า ภาพรวมนักเรียน
มีสาเหตกุ ารออกกลางคนั มากท่สี ุดคือ กรณีอ่นื ๆ ไมร่ ะบุ รอ้ ยละ 54.08 น้อยท่สี ุดคอื ฐานะยากจน รอ้ ยละ 0.33

ระดับช้ันประถมศึกษา พบว่า สาเหตุการออกกลางคันของนักเรียนระดับประถมศึกษา ในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ปีการศึกษา 2563 พบว่า นักเรียนมีสาเหตุการออกลางคันมากท่ีสุด คือ อพยพตามผู้ปกครอง
ร้อยละ 79.06 น้อยทีส่ ดุ คือ ฐานะยากจน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.78

ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า สาเหตุการออกกลางคันของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ในจังหวัดพระนครรีอยุธยา ปกี ารศกึ ษา 2563 นักเรยี นมีสาเหตกุ ารออกลางคันมากที่สุด คอื อพยพตามผูป้ กครอง
รอ้ ยละ 54.55 นอ้ ยที่สดุ คือ ปญั หาด้านการปรับตวั คิดเปน็ ร้อยละ 18.18

ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า สาเหตุการออกกลางคันของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลายในจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ปีการศกึ ษา 2563 นักเรยี นมีสาเหตุการออกกลางคันมากทสี่ ุด คือ กรณีอน่ื ๆ ไม่
ระบุ ร้อยละ 59.33 น้อยที่สดุ คือ อพยพตามผู้ปกครอง ร้อยละ 0.38

ขอ้ เสนอแนะ
1. หน่วยงานต้นสงั กัดทุกระดับ สถานศกึ ษา ตลอดจนหน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งทกุ ภาคส่วน ควรตระหนัก
ถึงความสาคัญและบูรณาการการทางานร่วมกัน ในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ให้เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ มีการคัดกรองผูเ้ รียน คน้ หามลู เหตุท่ีทาให้ผ้เู รียนในสถานศกึ ษาออกกลางคนั ร่วมกนั กาหนดแนวทาง
ป้องกันและแก้ปัญหา กาหนดมาตรการเฝ้าระวัง หรือกฎระเบียบ รวมท้ังกาหนด กิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนที่
เหมาะสมตามความสนใจและความถนดั เพ่อื ใหส้ ามารถเรยี นไดจ้ นจบการศกึ ษา
2. สถานศกึ ษาควรประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน ในการดแู ลช่วยเหลอื ผ้เู รียน โดยทา
ความเข้าใจและรับฟังสภาพปัญหาของผู้เรียน พร้อมท้ังหาแนวทางช่วยเหลือตามความเหมาะสม เช่น จัดหา
ทุนการศึกษาเพื่อชว่ ยเหลือและส่งเสริมนักเรียนท่ีมีฐานะยากจน การสอนซอ่ มเสริม รวมถึงการ ปรับเปล่ยี นวิธีการ
เรียนการสอนที่เสริมแรงทางบวก พัฒนาทักษะวิชาการ ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิต
โดยจัดการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตลอดจนการจัดสภาพแวดล้อม สร้างบรรยากาศ ในช้ันเรียน พัฒนา
แหล่งเรยี นรูใ้ นสถานศกึ ษาท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาละดัชนีการศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 | 64

ดา้ นการตอบโจทยบ์ รบิ ททเี่ ปลยี่ นแปลง (Relevancy)

ดชั นที ี่ 12 สดั สว่ นของผเู้ รยี นอาชวี ศกึ ษาตอ่ ผเู้ รยี นสามญั ศกึ ษา

ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการเพิ่มปริมาณผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อผู้เรียนสามัญ
ศึกษา 50 : 50 โดยได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาให้ขยายจาก 4 ภูมิภาค
เป็น 6 ภูมิภาค ครอบคลุมพ้ืนที่ประเทศไทยท่ีมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าศึกษาต่อในระดับอาชีวศึกษาเพ่ิมข้ึน
โดยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลสาขาท่ีได้รับความนิยม ได้แก่ เทคนิคยานยนต์ ไฟฟ้ากาลัง ช่างกลโรงงาน และ
การโรงแรม/ท่องเท่ียว สาหรับสาขาที่ควรเปิดสอนเพิ่ม ได้แก่ ระบบขนส่งทางรางเพื่อรองรับตลาดแรงงาน
ในอนาคต โดยมขี อ้ มูลเกยี่ วขอ้ งดังนี้

สัดส่วนผเู้ รียนสามัญศึกษาต่อผูเ้ รียนอาชวี ศกึ ษา ปีการศึกษา 2563

ปีการศกึ ษา จานวนผเู้ รียน (คน) รวม สดั ส่วนผเู้ รยี น
สามญั ศึกษา อาชวี ศกึ ษา สามัญศกึ ษา อาชวี ศึกษา

2562 19,516 8,715 28,231 69.13 30.87

2563 13,193 9,430 22,623 58.32 41.68

2564 13,634 8,550 22,184 61.46 38.54

ปี กศ.64 13,634 8,550

ปี กศ.63 13,193 9,430

ปี กศ.62 19,516 8,715
0
5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000
สามญั อาชวี

ข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาละดชั นีการศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 | 65

จากตารางและแผนภาพ สัดส่วนของผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อผเู้ รียนสามัญศึกษาในภาพรวมของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา พบว่า ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละของผู้เรียนอาชีวศึกษาต่ากว่าผู้เรียนสามัญศึกษา ในทุกปี
การศึกษา เปรียบเทียบสัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อผู้เรียนสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2562-2564 พบว่า ผู้เรียน
อาชีวศึกษามีจานวนผู้เรียนน้อยกว่าผู้เรียนสามัญศึกษาในทุกปีการศึกษา ในปีการศึกษา 2563 มีผลต่างผู้เรียน
สามัญกับผู้เรียนอาชีวศึกษาน้อยที่สุด เท่ากับ 16.64 ในปีการศึกษา 2562 มีผลต่างผู้เรียนสามัญกับผู้เรียน
อาชีวศกึ ษามากทส่ี ุด เท่ากับ 38.26

ขอ้ เสนอแนะ
1. รฐั บาลควรมนี โยบาย/กฎหมายที่ชัดเจนในการเรียนตอ่ ในระดบั ตา่ ง ๆ
2. สถานศกึ ษา หน่วยงานทกี่ ากบั สถานศกึ ษาหรอื หน่วยงานภาครฐั ที่เกีย่ วข้อง หน่วยงานภาคเอกชน
ควรมกี ารดาเนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้

2.1 โรงเรียนมัธยมศึกษาและโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา
- แนะแนวเพอื่ สร้างความร้คู วามเข้าใจแก่นกั เรียน
- ประชาสัมพันธ์และสรา้ งความรู้ความเข้าใจให้กับครูผู้ปกครองและชมุ ชน
- เปิดโอกาสใหส้ ถาบนั อาชวี ศกึ ษาเข้ามาแนะแนวในโรงเรยี น
- ปรับหลกั สตู รของโรงเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ปจั จุบนั
- จัดกิจกรรมเสรมิ สรา้ งทักษะด้วยอาชีพใหก้ ับนกั เรียนเพ่ิมมากขึ้น
- จดั การเรยี นการสอนทวิศกึ ษา

2.2 สถาบันการอาชวี ศึกษา
- แนะแนวให้กับนกั เรียนในสถานศกึ ษาทกุ แหง่ ทุกสงั กัดอยา่ งทว่ั ถึง
- ประชาสัมพนั ธอ์ ยา่ งทัว่ ถงึ ด้วยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย
- กระทรวงศึกษาธิการ/หน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง ควรทาความรว่ มมือ/MOU ร่วมกัน
เพือ่ หาแนวทางและความตอ้ งการของสถานประกอบการ
- พฒั นาสถาบันใหม้ ีคุณภาพมากขนึ้ รวมถึงการสร้างภาพลกั ษณท์ ี่ดขี องสถาบัน/
สรา้ งจุดเดน่ ของแตล่ ะสถาบัน
- ฝึกอาชีพระยะสน้ั ใหแ้ กน่ ักเรียนในสถานศกึ ษาและเปดิ สอนภาคสมทบ (ภาคพเิ ศษ)
หรอื ในวันเสาร์ – วันอาทติ ย์
- ใหน้ ักศกึ ษาหรือศิษยเ์ ก่าออกหน่วยบริการแก่ประชาชน
- จัดหาทุนการศกึ ษาให้แกน่ กั เรียนดแี ตย่ ากจน
- ทา MOU ทวิศึกษากับสถานศกึ ษา
- จดั โควตาศกึ ษาต่อในสถาบันอาชวี ศึกษาให้กับนกั เรียนทุกสังกดั
- มีหอพักหรอื สวัสดิการให้กบั นักศึกษาท่ีอยู่ในพ้นื ทห่ี ่างไกล

ขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศึกษาละดัชนีการศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2564 | 66

2.3 หนว่ ยงานที่กากับสถานศึกษาหรอื หน่วยงานภาครัฐท่เี กีย่ วข้อง
- ให้มกี ารประสานความรว่ มมือทั้งในขั้นกาหนดนโยบายและข้ันขับเคลื่อนงานให้สอดคล้องกัน
- ให้ความรู้ ขอ้ มลู ชใ้ี ห้เห็นถงึ ประโยชนข์ องการเรยี นอาชีวศกึ ษาใหก้ บั ผู้ปกครอง
- ทา MOU กบั สถานประกอบการในการรบั นกั ศกึ ษาเข้าทางาน
- มีการศึกษาวจิ ัยเรือ่ งแนวทางการสร้างเจตคตทิ ด่ี ใี ห้แกผ่ ปู้ กครอง
- จัดหาทุนการศกึ ษาและทุนเพอ่ื ประกอบอาชพี ให้แกผ่ ูเ้ รยี นอาชีวศึกษา
- กระตนุ้ เศรษฐกจิ เพ่อื เพม่ิ สถานประกอบการ

2.4 ภาคเอกชน
- สนบั สนุนสถานที่ในการฝึกประสบการณ์
- ขยายตลาดแรงงาน
- ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนไปดูงานและเรยี นตอ่ ต่างประเทศ เพอื่ ให้เกิดการการแข่งขนั สเู่ วทโี ลก

ข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาละดชั นีการศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 | 67



rirunr:ft nr*r fl . Ft.bdbo "

{oto:srfi ardhit{r16'rsrscu0iiuo-erttn?-utjivnrnrfl ufr ultj

e ad I r[ii"l?1;1t:do-rrr{rtuu :rjuutlo

9l1U?fin',1:n1.11

":ti'flxtn:g'.lufia1{" r,turunrrudr gr-ttntuiosl-ro'nu:dnrusfl::ilnr:u3ur:{arya

"nrufrn::ilfl1:" 14tJ''1t,fi?ru'jr nzucn::lnr:uirar:{oqaar:auturtd, unr:finr*r

da nJltoorJ, l{€Jju?Jairiltuv'lvJlur<oil<?-nqu rtv6-{:n4 [un1 v n1lf-f nu'l
fi t5u Tan

tunr:{ornr:finurfriu

{va o }qivrcftlumivrfrA'uouvfl:vnv irdr :u:tnr: mirruvtu flnluafinu 4v

fitcfi'ar]t1n'1:d1:'tafl:?aaau

rat16nr5n6uvn:riln1rn1ro1fi?finu1 ra?'rBnlintuvnrrilnl:n'r:0nilfinu'r rafl1En1i

ffn1nl:frnur oBr,tfrn:unlrf nn:0.r aBlfin:la'qrairnr:ln,n:orfr'Iarfl; u rJ,- donlrrvrvwulun:

rJd'prrfio.rfivrur {rirgrrnr:gir:'rsrLvis"r,rfi r"rav{ti'ru:ern'r:ritinrlun:uI?r6Frrauru.viwrfi

(en) n::rnr:frvr:rqrulofiii',urudn, d.::-olunBurirfr'.:mn{fifirrruf n?rrrrdu?t1ryrav

: firJ : s a u nr : nia c dru n l : ui r,r r oir u rv nrluTa E a r : fi u rlrn vYl oio q usi{ #r o rn frr u uu nluta 6

a 1:ff rV ue 1!?uff 0 {fi u

u tvr f10 u'r{u0

(<):ocil#nn:vvn'ltfinurBnr:fi:-ufrprtoupirurvrnTuladar:a!rufl rflun::rnr:unu

tatlunl:

(a) ry'tiruranr:qudrunTuladaT:aurununrnr:doar: riru-nrrur.J#rrn:vvr:xfinrsr3nr:

rfl un ::r n r : *a v rsitrlr u tnt'ru n1i

tfr': o r il a-n n : v u : r r fi n ur B n r : ii iu fi n t a u dr u r vr n1ula CI a r : a u ivr n il si r dr ri"r v rir fi rfl u

! iut\vd

r!ul u't u ta lJ 1 fl r Lq o n a't :r n ?'l xt t14 }.J't u fi }.t

rtdo 'L#n::rnr:{vr:.:qru1ofimu{a oe, (rn) oqluriTuurarjrn:'navf,fluauorolpiYunrt
, !, o qu
trFl'tF){0n t9l

o aJ v or ttgrruut{ll,tJsl[vnum, d&a.in:5iln1:t1Q4].rro[,14flT:iln1:uHu
[un:ilyrn:5]Jn1:ilun1n6t1r,t14u{Fl't}tl1:u

n:Tilfl r:fiidaililn tqostfl uav{tJ:Yql

uo^9Ya

n''r:TrBrul llauo1 Luunl::uuu'lJ0{aa']5aurufi n1un1:fi nu'r
duo qludrurorarirdm.:ncusn:i:rnl:ldsnrnru tuil1sail

(b) ov"e6rfiy'r{affiuot lfie-r?ffunrviufiflu1:uuU!{0{4fr'r:f,urflfidU'lunr:f1inuruacunurJ,farrrsifinr:

d
(c) {'oil:vqu$asnu{'ru,,lanr:sirif,urlunr:fi$ur{o4aar:autvrnrirunT :finurrJ:vil'rtl

ceio oo, ha lvfdi ncuv n : :iln1 : n ilu J q d a nrt'1 a fi ilu n::iln- l-:'u-i.qldl :{v04 a ar:aut*n
rE "
ufi

oirunr:fi nurnln " vlnr'I1n il:unoudru

rnu{o o6',1fi1irnml1u{a ou {o oen rffc{o ocr url{risdulnuoqlau

giovu{Jv{v

ilnn:0{a?uyra{tiu[un1:!:fuln1tta{aff1:aurmfin1un1:flflu1tilon15fl9}ru1n'l:finu1r#aufl1n

to,inilun:5ilfl1:^u:1r:4{a' u!aa'}:autrfidlun'l:Anulfrm



m ndru runluln dartau tytna drcfis u,i'lururad{ nu

ritfl unr:trr 1 tfrrfl uhJ ntr:s tfi uud

uaoYJ-YYavv {rfr {oqnruun::iln1t!5u1r'[0Hnat:autYtPl gllunl:fl nu1fl tlv? 9l

d'uoHludrumfi
U

TU uu uu tcn!tYotraldnrunrrutur1uflil

fiut {14?fle 9r

a tv

fl1r?mT1s14$8{A

(u) {nrJ:uqiluasi'lU{1ur+anr:e{rtfiulrurirunr:uir,rr:taHadl:f,utYlndrunr:finur

aLrrfia?u:1tn'l: t{ auvuelqunl:auornC!r0VilatQ?I1ufl4t9t1llttuu:1eln'l:

14u?udlutlauetnllJfinu']

6(

ilr?n b

d

fl1?uutuou

}tUln E,
n1:0nn1il u:Jtu-lur{a uaSn'ltHulrill

{o *c tvTriru:T t nr : urirulru uauanrufi nur Hauui uacd:sqr#ufi'ui${aqadugtu

{rsnrn ru iufi bd dur.,u, rt.rt.lodbo

Iol. : o.i L,uii r : rt fl r : d'lvifl v\ i u 1t n : ri; o u o u ( m ) rJ:vorun::lnt:

r oto. flrutir ur u n r :r{rfin r r u ut sr fi ufr n r : fi fl ur | : u tul A fl u'r tr\ : v urt : nB o s o u ut n n::}.]flr:

*. | I bfur udr ur u n r : dr rin I r u ut m fi u fr n I : fi n rsr : v a :.1 fi fl u'r v\ : v u Ft : oB o u o a it n n::ilnl:
d. l!va 44 4 v 4 n::ilnr:
tln { 11,J Fl 1l{1-J!1 fl I : ilDU ll L? Fl en
ft OrL'l u n1:a fl nUl fl nU'l

d. ,a u ar:?irun{]u1 l5v1\1,16fl raula{v?01 :vuo:fl d u0u'l n;:ilflr:

r.r€ilu? :o N::}Jfl'I:
uqq
u. tflyo 4
uld
zu tir ut a n r :6ir u o fl 5 v u Li uua v n r : fl fl 19r F]'l :-1 0 fi u'l fl u
{ 1 ua { ta : il 4 1 : ri fl

d

a.i141 0v\:v1lFl : rl : 0 u D u'l

sr. -i.d UA{Y? A1'\:YLJn:fl :0 USUl
?'10{fl

d. lliflu r u fl a3]'r o l.l n I : fi fl ie'l Lo f-l tJ La-{ 1\ : v L n : 6B o u o u'l

*. i: rtJ : v o r u n fuv a :.J fl 1 : o r fl 1 fi n rcr q-l uipt l"t : v u n : rti o uq o a

vo d 5 v sj'l {'l v io v\ : v u n : fl ; o uo u
q
o. u! ro-',-- i.crl-o r 1r-1--u n 1 :'!Fl 1-J u il 1 : fi n ler 1fr ta

00^dufdl'r:1r ol.ru'r'l11ula u:'llJnfl1\:v!n:fl:0 u 6 ur

tu

Toanruvn::rnr:rr3lir:dola!-9a, r:aLtlinfrrunr:finrcr{tviflv',t:vuFr:fl;oqour fidlurqvflrfr rilfl

o. Ld1-JOLrl.jul#do6ou#u rrayrirr.JTnrgrttdo[uun:Tilnr:finurBnr:6'lr.ainufiu':n!nr:l&'ruu1:vu1J

rJ:voruneuvlirllu
:ott]:vorunruvlirllu

nruvlirrru

ei I u n r t u o't ddd fl fl 191 a { u? o 1\ : u u n : rl : 0 u 5 u'l

tt't

:l roc(. tY^d

ii tLYl l-Jl.l u r'l 11 U I A U
n fl 1\ : v 1-J fl 5 fl : O U 0 U

].qo. ur{fi r?Qffi'ta-nufl"i fl raniar:u
9

ri'drur u nr:nei:rulall a utav ttt'lu

!q

eiru nlrundand ul0 n r:a {v? flv\ SvlJn :fl :o q0 u r

loo. Lr{dfl r?ad lfutt6l}.1

rini un:r vliulu L'r u tta v ttt'ru

ov4ad llun nul0 fl l:a {il'l fll^l :vLa:fl :0 rq fi u

eirun

Iele. ur.iar?fivr:r qtfl nl

rini lnr:rvfuTu!ru LLas LL,.r1l

ou4ad trurt nrg'tD fl I : a {u't o1\ : vun:fl : 0 u fi u'l

ailun

iluurilav-itedleoY :?u :?}.t 6 nur ? rn:lulr ? 01.tr! av tfl u?? 0.1 [a vLl tfl 1]0:uuL11 0].1 a

ar:auryfififin?ruau\nl:fli nunrlorruavr{Jurlolir-iu loarqjruiu:vLUnr:!iur:a-rtnr:{oqulatt!1luu:mnr:

lour{rflrfirnr:triYrTonrayr{nr:6nurodxfinrqu9n'r1\ uavflr:fici':uirrtolvtnnrn?i?1-Jttav:ru{'rur.Ja
nl:ri'ttilu{r!tnu;xn!f-lo- lY-n- ai-l:a!ty6orunrY:r,lnurLa vn[uq,ufl::3.]fl1:lt:1.44r:toilauar! :aLt1lPlrl11Y-J

4UUd

nl:Fl fl 19'rQ {1,4'l O1\:vUn:fl :O U 0U',lvl:1l-i

*J.

(ur.:amltur a rl:vfr rJB:tiuoi)

vt 'l:Q{11'l 01 :uua:fl d

:0{t.UJ9?l:lljfl :0u0u1

rJ :vorua::r nr:!ivridol.r aar:autufl rirunr:fi nur

drviol,,t: vu n: fli o u ou r
q

1. Lru00rlr-ln:o tr!1J:tl'l dad nr:q l1{? flv!: vuFl :fl :0 u0 u'l
q
rt nBr0
2. uxdruur nldoriti
:o{F1 fl 19'r0fl l:a{v? fi1\:vua d Iu 0 u
9
:fl :o


Click to View FlipBook Version