The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Agri plus Magazine Vol.10 No.12 2023
นิตยสารอะกริพลัส ปีที่ 10 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม พ.ศ.2566
นิตยสารข่าวเกษตรและไลฟ์สไตล์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by agriplusnews, 2023-12-18 00:13:42

Agri plus Magazine Vol.10 No.12 2023

Agri plus Magazine Vol.10 No.12 2023
นิตยสารอะกริพลัส ปีที่ 10 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม พ.ศ.2566
นิตยสารข่าวเกษตรและไลฟ์สไตล์

Keywords: Agriplus magazine,Agriplus,Magazine,นิตยสารอะกริพลัส,นิตยสารอะกรีพลัส,นิตยสารข่าวเกษตร,นิตยสารเกษตรและไลฟ์สไตล์,สื่อเกษตร,สื่อเกษตรออนไลน์,นิตยสารข่าวเกษตรออนไลน์,agriculture magazine,ข่าวเกษตรออนไลน์,การเกษตร,เกษตรกรรม

Vol.10 No.12 December/2023 WWW.AGRIPLUSNEWS.COM The Best of Agricultural Media 180905 65.- News & lifestyle นิิตยสารอะกริิพลััส ข่่าวเกษตรและไลฟ์์สไตล์์ 5 ลิิสต์์ป 5 ลิิสต์์ปลลาสวยงามไทย ดัังไก าสวยงามไทย ดัังไกลทั่่ ลทั่่�วโลลก งาน VICTAM Asia 2024 และ Health & Nutrition Asia 2024 โรคใบด่ด่่างมัมัันสำปะห ันสำปะหลัลััง ตตรวจง่ง่่ายด้ด้้วยตตนเอง สมุมุุนไพรว่ว่่านหางจระเข้้ ไทย ่านหางจระเข้้ ไทยมีมีีโอกาสส่ส่่งออก อ.ส.ค. เ อ.ส.ค. เตรีตรีียมเปิปิิดตัดตััวผลิิตตภััณฑ์์ สำหรัรัับผู้ผู้้ป่ป่่วยเบาหวาน ่วยเบาหวาน


2


3 อะกริิ พลััส สื่่�อธุุรกิิจเกษตรครบวงจร Agri Plus Magazine อะกริ พลัส นิตยสารวงการเกษตรและไลฟ์สไตล์ ฉบับรายเดือน คณะผู้จัดทำา (ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์) น.สพ.ยุคล ลิ้มแหลมทอง ศ.น.สพ.ดร.อรรณพ คุณาวงษ์กฤต ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช รศ.น.สพ.กิจจา อุไรรงค์ ศ.น.สพ.ดร.เผด็จ ธรรมรักษ์ รศ.น.สพ.ดร.กัมพล แก้วเกษ ผศ.น.สพ.ดร.ปริวรรต พูลเพิ่ม ผศ.น.สพ.คัมภีร์ กอธีระกุล อ.ศักดิ์ชัย โตภานุรักษ์ ผศ.น.สพ.ดร.ดุสิต เลาหสินณรงค์ อ.น.สพ.อุรส จิตติวรรณ EXECUTIVE EDITOR / บรรณาธิการบริหาร Denchai Nuamwong / เด่นชัย น่วมวงษ์ 09 99591 4169 EDITOR in Chief Katherine Kate Plianpeng PRODUCTION MANAGER Courtney Cusson MARKETING / ฝ่ายโฆษณา/การตลาด Sarisa Nuamwong / สาริสา น่วมวงษ์ กองบรรณาธิการ ทวีทรัพย์ ภูสีฤทธิ์ GRAPHICS ARTIST ศิลปกรรม: ชมพู ภูคา Nation Post Company Limited. จัดจำาหน่ายโดย เวิลด์ ออฟ ดิสทริบิวชั่น, SE-ED (ซีเอ็ด บุ๊ค) Agri Plus Magazine Agri Plus Co., Ltd. 58/365 Soi Ramintra 68 Ramintra rd. Khannayao Bangkok Thailand 10230 นิตยสาร อะกริ พลัส บริษัท อะกรี พลัส จำากัด 58/365 ซอยรามอินทรา 68 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230 โทร. 09-9591-4169 ID Line: agriplusnews Email: [email protected] WWW.AGRIPLUSNEWS.COM ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา: ไม่มีส่วนรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดจาก การใช้ข้อความหรือเนื้อหาของนิตยสาร สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามทำ ซ้ำ ดัดแปลงรูปแบบ/เนื้อหานิตยสาร ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร หากผู้ใดละเมิดจะดำ เนินการตามกฏหมายสูงสุด EDITOR TALK’S WWW.AGRIPLUSNEWS.COM The Best of Agricultural Media online News & lifestyle นิิตยสารข่่าวเกษตรและไลฟ์์สไตล์์อะกริิ พลััส อนาคตข้้าวไทย ร้้อยเอก ธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ได้้รัับมอบหมายจาก นายเศรษฐา ทวีีสิิน นายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการ กระทรวงการคลััง เป็็นประธานพิิธีีเปิิดการประชุุมเวทีีข้้าวไทย ประจำำปีี 2566 ภายใต้้แนวคิิด “อนาคตข้้าวไทย : โอกาสและความท้้าทาย” ณ ห้้องประชุุม สุุธรรมอารีีกุุล อาคารสารนิิเทศ 50 ปีี มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์ บางเขน กรุุงเทพฯ พร้้อมกล่่าวปาฐกถาพิิเศษ เรื่่อง “นโยบายรััฐกัับอนาคตข้้าวไทย” ว่่า รััฐบาลให้้ความสำำคััญกัับข้้าวซึ่งเ่ ป็็นสิินค้้าเกษตรหลัักของประเทศไทย โดยมุ่่งเน้้น การพััฒนาความสามารถด้้านการผลิิตและการตลาดตลอดโซ่่อุุปทาน โดยมีีแนวทาง ดัังนี้้ 1) ส่่งเสริิม สนัับสนุุนการวิิจััยและพััฒนา เพื่่อให้้ได้้ สายพัันธุ์์ข้้าวที่่หลากหลายตรงความต้้องการของตลาด มีีความต้้านทานโรค ให้้ ผลผลิิตสููง มีีรายได้้เพิ่่มขึ้้น 2) นำำเครื่่องจัักรกล เทคโนโลยีี และนวััตกรรมสมััย ใหม่่มาใช้้ในการผลิิต เพื่่อลดต้้นทุุนด้้านการเกษตร 3) ส่่งเสริิมการทำำนาที่่เป็็น มิิตรต่่อสิ่่งแวดล้้อม รองรัับการเปลี่่ยนแปลงต่่อสภาพภูมิูิอากาศ ลดการเผาตอซััง ในไร่่นา ส่่งเสริิมให้้เกษตรกรนำำเศษวััสดุุเหลืือใช้้ในไร่่นามาใช้้ประโชน์์ สร้้างมููลค่่า เพิ่่ม เช่่น การผลิิตปุ๋๋�ย การนำำ ไปเป็็นอาหารสััตว์์ และการนำำ ไปใช้้ในโรงไฟฟ้้าชีีว มวล ช่่วยลดมลพิิษทางอากาศ PM 2.5 4) สร้้างความเข้้มแข็็งให้้กัับเกษตรกรและสถาบัันเกษตรกรเพื่่อให้้เกษตรกร มีีอำำ นาจในการต่่อรองในการเข้้าถึึงปััจจััยการผลิิตและการจำำหน่่ายผลิิตภััณฑ์์ ข้้าว สามารถพึ่่งพาตนเองได้้ 5) ส่่งเสริิมการผลิิตข้้าวที่่ได้้มาตรฐานรองรัับตรง ตามความต้้องการของตลาด 6) ส่่งเสริิมการแปรรููปสิินค้้าข้้าวให้้เป็็นผลิิตภััณฑ์์ อื่่น เพื่่อสร้้างมููลค่่าเพิ่่มให้้กัับผลผลิิต และ 7) เพิ่่มประสิิทธิิภาพการจััดการโลจิิ สต์์เพื่่อการส่่งออกข้้าวไทย การส่่งเสริิมหาตลาดใหม่่ที่่มีีกำำลัังซื้้อ การเจาะกลุ่่ม ตลาดข้้าวเฉพาะ สร้้างตราสิินค้้าให้้เป็็นที่่รู้้จััก เพื่่อสร้้างความเชื่่อมั่่นในคุุณค่่า และคุุณภาพมาตรฐานความปลอดภััยของสิินค้้าข้้าวไทย ประเทศไทยมีีเกษตรกรผู้้ปลููกข้้าว 4.68 ล้้านครััวเรืือน หรืือประมาณ 17 ล้้านคน เนื้้�อที่่�เพาะปลููกข้้าวนาปีีและนาปรััง เฉลี่่�ยปีีละ 70-71 ล้้านไร่่ หรืือคิิด เป็็นร้้อยละ 47 ของเนื้้�อที่่ทำ�ำการเกษตรทั้้�งประเทศ (149 ล้้านไร่่) มีผีลผลิิตข้้าว ประมาณ 31-32 ล้้านตัันข้้าวเปลืือกต่่อปีี หรืือประมาณ 20 ล้้านตัันข้้าวสาร โดยในปีี 2565 ไทยส่่งออกข้้าวได้้ 7.71 ล้้านตััน คิิดเป็็นมููลค่่า 138,698 ล้้าน บาท และปีี 2566 (ม.ค.-ก.ย.) ส่่งออกได้้แล้้ว 6.08 ล้้านตััน มููลค่่า 117,590 ล้้านบาท.


4 News & lifestyle นิิตยสารอะกริิ พลััส ปีีที่่� 10 ฉบัับที่่� 12 เดืือนธัันวาคม พ.ศ.2566 Agri plus Magazine Vol.10 No.12 December/2023 Contents ติิดต่่อลงโฆษณาหรืือส่่งข่่าวเพื่่่�อประชาสััมพัันธ์์กิิจการของท่่านได้้ที่ ่� Email: [email protected] ID Line: denchai_agriplus Tel.09-9591-4169 คุุณเด่่นชััย. FB: https://www.facebook.com/agriplusnews หน้้า ขบวนรถไฟเที่่�ยวปฐมฤกษ์์ส่่งสิินค้้าเกษตรไทยขายจีีน รััสเซีียและยุุโรป 5 ดีีลหวาอี้้�เตรีียม MOU ผลิิตยางล้้อร่่วม 6 เสนอครม.ไฟเขีียวหน่่วยงานราชการ ใช้้ล้้อยางกยท. 7 เทศกาลข้้าวหอมมะลิิโลก2566 8 นาเปีียกสลัับแห้้ง ขัับเคลื่่�อนยุุทธศาสตร์์BCG กรมชลฯหนุุนนโยบายรััฐยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตชาวนา 10 วิิสาหกิิจชุุมชนกลุ่่มข้้าวหอมมะลิิอิินทรีีย์์ บ้้านตะครอง อ.กระสััง จ.บุุรีีรััมย์์ 12 Thailand Rice Fest 2023 และ ThailandCoffee Fest “YearEnd” 2023 14 Kick Offมาตรการช่่วยเหลืือชาวนา เริ่่�มทยอยจ่่ายเงิินไร่่ละ 1,000 15 ส่่งเสริิมอาชีีพปลููกหม่่อนเลี้้�ยงไหม ต่่อยอดผลิิตภััณฑ์์ผ้้าไหมไทยเปิิดตลาดคนรุ่่นใหม่่ 16 โฉนดเพื่่�อการเกษตร พร้้อมแจกฉบัับแรก15ม.ค. 67 17 กรมส่่งเสริิมการเกษตรหนุุนเกษตรกรปลููกพืืชตามมาตรฐาน GAP 18 กรมส่่งเสริิมการเกษตร ขัับเคลื่่�อนกลุ่่มสิินค้้าด้้านพืืช นำำร่่อง 1 ท้้องถิ่่�น 1 สิินค้้าเกษตรมููลค่่าสููง 20 ชุุดตรวจโรคใบด่่างมัันสำำปะหลััง แบบง่่าย ทำำ ได้้ด้้วยตััวเอง 22 สมุุนไพรว่่านหางจระเข้้ ทั่่�วโลกเปิิดตััวสิินค้้าใหม่่ ไทยมีีโอกาสส่่งออก 24 กลุ่่มมิิตรผล คว้้ารางวััลผู้้ประกอบธุุรกิิจส่่งออกดีีเด่่น Prime Minister’sExport Award 2023 ประเภทรางวััลธุุรกิิจ BCG ส่่งออกยอดเยี่่�ยม 26 เปิิดกระแส 5 ลิิสต์์ปลาสวยงามไทย ดัังไกลทั่่�วโลก 27 FisheriesFryShopระบบสั่่�งจองลููกพัันธุ์์สััตว์์น้ำำ�ออนไลน์์ 30 ประกาศขึ้้�นทะเบีียน GIปลานิิลกระชัังแม่่น้ำำ�โขงหนองคาย 31 เลี้้�ยงปลากดคััง อาชีีพเสริิมสร้้างรายได้้ราคาดีี ตลาดท้้องถิ่่�นต้้องการ 32 หมููเถื่่�อน...กว่่าถั่่�วจะสุุกงาก็็ไหม้้ 34 สิิทธิิพัันธ์์ธนาเกีียรติิภิิญโญ นายกสมาคมผู้้เลี้้�ยงสุุกรคนใหม่่ 36 EggBoard เห็็นชอบปลดไก่่ไข่่ตามอายุุและแผนนำำเข้้าเลี้้�ยงไก่่ไข่่พัันธุ์์ 38 โครงการเลี้้�ยงไก่่ไข่่ชุุมชนธุุรกิิจเพื่่�อสัังคมแห่่งแรก 39 อ.ส.ค.เตรีียมเปิิดตััวผลิิตภััณฑ์์ทางการแพทย์์ สำำหรัับผู้้ป่่วยเบาหวาน 40 ซีีพีี-เมจิิ ชููแนวคิิด เพิ่่�มคุุณค่่าชีีวิิต ต่่อยอดความยั่่�งยืืน หนุุนเกษตรกรโคนม 42 ห้้าดาว จัับมืือ BSGFส่่งต่่อน้ำำ�มัันใช้้แล้้ว ผลิิตเป็็นเชื้้�อเพลิิงอากาศยานชีีวภาพแบบยั่่�งยืืน 43 เกษตรกรสำำนึึกรัักบ้้านเกิิด ปีี66 ผู้้ประกอบการเกษตรอััจฉริิยะ (Smart Agri-Entrepreneur) 44 ผู้้เชี่่�ยวชาญ ย้ำำ�กระบวนการผลิิตอาหารแปรรููป สะอาด ปลอดภััย ผู้้บริิโภคมั่่�นใจได้้ 46 ถนนสายดอกไม้้งาม ริิมกว๊๊านพะเยา 48 งาน VICTAM Asia 2024 และ Health & Nutrition Asia 2024 50


5 ขบวนรถไฟเที่่�ยวปฐมฤกษ์์ ส่่งสิินค้้าเกษตรไทย ขายจีีน รััสเซีีย และยุุโรป ร้้อยเอกธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวีง เกษตรและสหกรณ์์ เปิิดเผยภายหลัังเป็็นประธานพิธีิีปล่่อย ขบวนรถไฟเที่่�ยวปฐมฤกษ์์ เพื่่�อส่่งเสริิมการค้้าสิินค้้าเกษตร ไปยัังนครเฉิิงตูู สาธารณรััฐประชาชนจีีน สหพัันธรััฐ รััสเซีีย และสหภาพยุุโรป ณ สถานีีรถไฟมาบตาพุุด จัังหวััดระยอง โดยมีี ศาสตราจารย์์นฤมล ภิิญโญสิินวััฒน์์ ที่่ปรึึกษานายก รััฐมนตรีี ทำำหน้้าที่่ผู้้แทนการค้้าไทย พร้้อมด้้วยนาย ประยููร อิินสกุุล ปลััดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ นาย เศรษฐเกีียรติิ กระจ่่างวงษ์์ รองปลััดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์์ นายพีีรพัันธ์์ คอทอง รองปลััดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์์ และผู้้บริิหารหน่่วยงานที่่เกี่่ยวข้้องร่่วมเป็็น สัักขีีพยาน ว่่า จากนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ที่่ต้้องการขัับเคลื่่อนการเปิิดขยายตลาดสิินค้้าเกษตรในต่่าง ประเทศ เพื่่อช่่วยเหลืือพี่่น้้องเกษตรกรในการเพิ่่มโอกาส ทางการค้้า ขยายช่่องทางจำำหน่่ายผลผลิิตทางการเกษตร รวมทั้้งส่่งเสริิมให้้สิินค้้าเกษตรไทยสามารถเข้้าสู่่ตลาดการ ค้้าต่่างประเทศได้้มากขึ้้น “ขบวนรถไฟเที่่�ยวปฐมฤกษ์์นี้้�” จึึงถืือเป็็นการส่่ง เสริิมการค้้าสิินค้้าเกษตรจากประเทศไทยไปยัังนครเฉิิง ตูู ซึ่่งจะช่่วยขยายตลาดส่่งออกสิินค้้าเกษตรและสิินค้้า อุุปโภคบริิโภค ผ่่านระบบการขนส่่งทางรางที่่รวดเร็็วและ ประหยััดค่่าใช้จ่้่ายมากกว่่าการขนส่่งทางเรืือ โดยเป็็นความ ร่่วมมืือระหว่่างกระทรวงเกษตรฯ โดยองค์์การตลาดเพื่่อ เกษตรกร (อ.ต.ก.) กรมส่่งเสริิมสหกรณ์์ กัับภาคเอกชน ได้้แก่่ บริิษััท Global Multimodal Logistics (GML) ซึ่่�งเป็็นบริษัิัทในกลุ่่ม ปตท. ที่่ดำ�ำเนิินธุรกิุจด้ิ ้านโลจิิ สติิกส์์ครบวงจร และบริิษััท แพน-เอเชีีย ซิิลด์์โรด จำำกััด (PAS) ซึ่่�งเป็็นบริิษััทที่่�ดำำเนิินธุุรกิิจขนส่่งสิินค้้าผ่่านระบบ ราง ความร่่วมมืือระหว่่างภาครััฐและเอกชนที่่�เกิิดขึ้้�นนี้้�มีี เป้้าหมายเพื่่�อขัับเคลื่่�อนภารกิิจของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์์ ยกระดัับเศรษฐกิิจของประเทศ โดยจะดำำเนิินการส่่งสิินค้้าเกษตรผ่่านระบบการขนส่่ง ทางรถไฟไทย-จีีน ซึ่งสอด ่รัับกัับโครงการภายใต้ยุุ้ทธศาสตร์์ One Belt One Road (OBOR) หรืือ แถบเศรษฐกิิจเส้้น ทางสายไหมทางบกของจีีน ที่่ผลัักดัันการเชื่่อมโยงและ เส้้นทางการค้้าระหว่่างประเทศสู่่ภููมิิภาคต่่าง ๆ ทั่่วโลก สำำหรัับรถไฟเที่่ยวปฐมฤกษ์์นี้้ได้้จััดส่่งสิินค้้าเกษตรนำำร่่อง ได้้แก่่ ข้้าวหอมมะลิิ ทุุเรีียนแช่่แข็็ง และยางพารา ซึ่่งจะ เดิินทางถึึงสถานีีเฉิิงตูู สาธารณรััฐประชาชนจีีน ในวัันที่่ 15 ธัันวาคม 2566 และเดิินทางต่่อเนื่่องไปยัังสหพัันธรััฐ รััสเซีีย และสาธารณรััฐโปแลนด์์ตามลำำดัับ “การขยายตลาดส่่งออกสิินค้้าเกษตรและสิินค้้า อุุปโภคบริิโภคผ่่านระบบการขนส่่งทางรางไปยัังนครเฉิิง ตูู สาธารณรััฐประชาชนจีีนซึ่่�งเป็็นตลาดที่่�มีีศัักยภาพ จะ สามารถเพิ่่�มมููลค่่าผลผลิิตภาคการเกษตรให้้เติิบโตอย่่าง สมดุุลและมีีเสถีียรภาพ รวมถึึงเพื่่�อเสริิมศัักยภาพในการ แข่่งขัันด้้านการเกษตรต่่างประเทศให้ทั้ัดเทีียมหรืือก้้าวนำำ คู่่แข่่งทางธุุรกิิจ เพื่่�อสร้้างความมั่่�นคงและยั่่�งยืืนของภาค การเกษตรไทยตามนโยบายรััฐบาล” รััอยเอกธรรมนััสกล่่าว


6 ดีล ี หวาอี้้� เตรีียม MOU ผลิิตยางล้้อร่่วม ร้้อยเอกธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวีง เกษตรและสหกรณ์์ พร้้อมด้้วย คณะผู้้บริิหารกระทรวง เกษตรฯ นายณกรณ์์ ตรรกวิิรพััท ผู้้ว่่าการการยางแห่่ง ประเทศไทย นายสุุขทััศน์์ ต่่างวิิริิยกุุล รองผู้้ว่่าการด้้าน ปฏิิบัติัิการ นายโกศล บุุญคง รองผู้้ว่่าการด้้านธุรกิุจิ ลงพื้้�น ที่่� จ.ระยอง เยี่่�ยมชมกระบวนการผลิิตล้้อยางของ บริิษััท หวาอี้้� กรุ๊๊�ป (ประเทศไทย) จำำกััด และหารืือแนวทาง ความร่่วมมืือผลิิตล้้อยางใช้้หน่่วยงานภาครััฐ พร้้อม ปล่่อยขบวนรถไฟเที่่�ยวปฐมฤกษ์์ ส่่งยางพาราและสิินค้้า เกษตรสู่่ตลาดจีีน นายณกรณ์์ ตรรกวิิรพััท ผู้้ว่่าการการยางแห่่ง ประเทศไทย กล่่าวว่่า นโยบายสำำคััญของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์์ โดยการนำำของร้้อยเอก ธรรมนััส พรหม เผ่่า ได้้ให้้ความสำำคััญในการพััฒนาเศรษฐกิิจยาง เพื่่อให้้ เกษตรกรมีีคุุณภาพชีีวิิตที่่ดีีขึ้้นอย่่างเป็็นรููปธรรม โดยหนึ่่ง ในแนวทางยกระดัับยางพาราที่่ให้้ความสำำคััญ คืือ การร่่วม มืือกัับภาคเอกชนกำำหนดแนวทางความร่่วมมืือในการลงทุุน แปรรููปผลิิตภััณฑ์์ยาง กยท. ได้้รัับนโยบายจาก รมว.เกษตรฯ ให้้ผลิิต ยางพาราที่่มีีคุุณภาพ ผลัักดัันให้้ยางพารา (ประเภท Raw Material) เข้้าสู่่กระบวนการผลิิตในภาคอุุตสาหกรรม แปรรููปเป็็นผลิิตภััณฑ์์ยางใช้้ในประเทศ โดยเฉพาะล้้อยาง ที่่รััฐบาลผลัักดัันให้้รถยนต์์ของหน่่วยงานราชการทุุกแห่่งใช้้ ล้้อรถยนต์์จากบริษัิัทผู้้ผลิิตยางล้้อในประเทศ และต่่อยอดไป จนถึึงการส่่งออก ซึ่่งเชื่่อมโยงสู่่โครงการ One Belt One Road หรืือแถบเศรษฐกิิจเส้้นทางสายไหมทางบกของจีีน ที่่สามารถส่่งยางจากไทยสู่่ประเทศจีีนได้้ ทั้้�งนี้้� ได้้หารืือแนวทางความร่่วมมืือการลงทุุนและ เยี่่�ยมชมกระบวนการผลิิตยางล้้อของ บริิษััท หวาอี้้� กรุ๊๊�ป (ประเทศไทย) จำำกััด ซึ่่�งตั้้�งอยู่่ในนิิคมอุุตสาหกรรมหลััก ชััยเมืืองยาง ถืือเป็็นบริิษััทผลิิตยางรถยนต์์รายใหญ่่ ที่่� มีีตััวแทนขายในต่่างประเทศ 3 บริิษััท 5 ฐานการผลิิต ทำำการตลาดไปกว่่า 10 ภููมิิภาค และโครงข่่ายการขายกว่่า 100 แห่่งทั่่�วโลก ซึ่่�งภายหลัังจากการหารืือภาคเอกชนใน วัันนี้้� จะมีีการลงนาม MOU ระหว่่างกระทรวงเกษตรฯ กัับผู้้ประกอบการผลิิตยางล้้อ เพื่่�อส่่งเสริิมการผลิิตยางล้้อ รถยนต์์และส่่งเสริิมการใช้้ยางล้้อดัังกล่่าวต่่อไป นายณกรณ์์ กล่่าวเพิ่่มเติิมว่่า การลงพื้้นที่่ครั้้งนี้้ รมว. เกษตรฯ ได้้ปล่่อยขบวนรถไฟเที่่ยวปฐมฤกษ์์ เพื่่อส่่งเสริิม การค้้าสิินค้้าเกษตรไปยัังนครเฉิิงตูู สาธารณรััฐประชาชน จีีน สหพัันธรััฐรััสเซีีย และสหภาพยุุโรป ณ สถานีีรถไฟ มาบตาพุุด โดยรถไฟเที่่ยวนี้้จััดส่่งสิินค้้าเกษตรนำำร่่อง ได้้แก่่ ข้้าวหอมมะลิิ ทุุเรีียนแช่่แข็็ง รวมถึึงยางพารา ซึ่่งจะเดิิน ทางถึึงสถานีีเฉิิงตูู ในวัันที่่ 15 ธัันวาคม 2566 ก่่อนเดิิน ทางต่่อเนื่่องไปสหพัันธรััฐรััสเซีีย และสาธารณรััฐโปแลนด์์ ตามลำำดัับ ถืือเป็็นการขัับเคลื่่อนขยายตลาดสิินค้้าเกษตร ในต่่างประเทศ เพื่่อช่่วยเหลืือพี่่น้้องเกษตรกรในการเพิ่่ม โอกาสทางการค้้า เพิ่่มช่่องทางจำำหน่่ายผลผลิิตทางการ เกษตร ส่่งเสริิมให้้สิินค้้าเกษตรไทยเข้้าสู่่ตลาดการค้้าต่่าง ประเทศได้้มากขึ้้น นอกจากนี้้ยัังมีีโอกาสได้้พบปะเกษตรกร ชาวสวนยาง ร่่วมพููดคุุย รัับฟัังความความต้้องการของ ชาวสวนยางในพื้้นที่่ เพื่่อนำำ ไปกำำ หนดนโยบายและแนวทาง ช่่วยเหลืือพี่่น้้องเกษตรกรต่่อไป “กยท. พร้้อมขานรัับนโยบายของท่่าน รมว.เกษตรฯ โดยจะเร่่งขัับเคลื่่�อนการบริิหารจััดการยางให้้ครอบคลุุม ทุุกมิิติิ ควบคู่่ไปกัับการกระตุ้้นให้้เกิิดการสร้้างมููลค่่าเพิ่่�ม โดยการแปรรููปยาง เพื่่�อขยายโอกาสด้้านการแข่่งขััน ซึ่่�ง เป็็นรากฐานสำำคััญในการสร้้างเสถีียรภาพให้้เกิิดขึ้้�นกัับ ยางพาราทั้้�งระบบ อัันจะนำำ ไปสู่่การยกระดัับคุุณภาพชีวิีิต เกษตรกรได้้อย่่างยั่่�งยืืน” ผู้้ว่่าการกยท. กล่่าว


7 ร้้อยเอกธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวีง เกษตรและสหกรณ์์ เปิิดเผยว่่า กระทรวงเกษตรฯมุ่่งเน้้น ที่่จะสร้้างเสถีียรภาพให้้กัับยางพาราด้้วยการเพิ่่มปริิมาณ การใช้้ยางภายในประเทศโดยเฉพาะอย่่างยิ่่งการใช้้ยาง ของหน่่วยงานภาครััฐจะต้้องกำำหนดเป็็นนโยบายไม่่ว่่าจะ เป็็นการใช้้ยางพาราในการทำำถนนยางพาราซอยซีีเมนต์์ของ หน่่วยภาครััฐที่่จะต้้องทำำถนน นอกจากจะเพิ่่มปริิมาณการ ใช้้ยางได้้ในปริิมาณที่่มากแล้้ว ถนนยัังมีีความทนทานมีีอายุุ การใช้้งานยาวนานขึ้้น สามารถป้้องกัันการซึึมผ่่านของน้ำำ ได้้ดีี ลดการเกิิดฝุ่่�นอีีกด้้วย และยัังได้้หารืือเบื้้องต้้นกัับนาย เศรษฐาทวีสิีิน นายกรััฐมนตรีี เกี่่ยวกัับให้้รถยนต์์ของหน่่วย ราชการใช้ล้้ ้อยางที่่การยางแห่่งประเทศไทย(กยท.)ผลิิต โดย ออกเป็็นมติิคณะรััฐมนตรีีเพื่่อให้้มีีผลบัังคัับใช้้ สำำหรัับการผลิิตล้้อยางของกยท.นั้้นล่่าสุุดได้้เจรจา กัับโรงงานผลิิตล้้อยางของจีีนรายใหญ่่ในประเทศไทยที่่ มีีโรงงานอยู่่ที่่จัังหวััดระยอง ถึึงแนวทางการร่่วมลงนาม MOU ในการผลิิตล้้อยางให้กั้ับ กยท.โดยไม่ต้่ ้องลงทุุนสร้้าง โรงงานใหม่่ เพื่่อมีีความพร้้อมที่่จะผลิิตล้้อยางให้้กัับ กยท. ได้้ทัันทีีรองรัับการใช้้ล้้อยางรถยนต์์ของหน่่วยงานราชการ ทั้้งในส่่วนกลาง ส่่วนท้้องถิ่่น และทหาร ซึ่่งรถยนต์์แต่่ละ คัันมีีอายุุใช้้ล้้อยางประมาณ 2-3 ปีีก็็จะต้้องเปลี่่ยนใหม่่ หากดำำเนิินการได้้เป็็นรููปธรรมจะทำำ ให้้การใช้้ยางใน ประเทศเพิ่่มขึ้้นอย่่างแน่่นอนรวมถึึงได้้สั่่งการให้้ กยท. ดำำเนิินการปรัับสมดุุลปริิมาณยางในประเทศ โดยเร่่งตรวจ สอบสต๊๊อกยาง ตรวจสอบข้้อมููลเกษตรกรที่่ขึ้้นทะเบีียน พื้้นที่่สวนยาง และปริิมาณผลผลิิตยาง เพื่่อจััดทำำฐานข้้อมููล ยางที่่ครอบคลุุมทั้้งประเทศ (Big Data) ซึ่่งจะช่่วยให้้การ บริิหารจััดการยาง กำำ หนดนโยบาย มาตรการต่่างๆ ด้้าน ยางได้้อย่่างสอดคล้้อง เหมาะสมกัับสถานการณ์์ สามารถ รองรัับการตรวจสอบย้้อนกลัับแหล่่งที่่มาของผลิิตภััณฑ์์ยาง เพิ่่มศัักยภาพในการแข่่งขัันของยางพาราไทยอีีกด้้วย นายณกรณ์์ ตรรกวิิรพััท ผู้้ว่่าการ กยท. กล่่าวว่่า กยท. มุ่่งเน้้นการดำำเนิินงานตามนโยบายของรััฐบาลและ กระทรวงเกษตรฯ โดยจะผลัักดัันให้้เห็็นผลเป็็นรููปธรรม โดยเฉพาะการยกระดัับสิินค้้าเกษตร “1 ท้้องถิ่่�น 1 สิินค้้า เกษตรมููล ค่่าสููง” โดยกำำหนดเป้้าหมายนำำร่่อง จำำนวน 120 แห่่งทั่่วประเทศ ผ่่านโครงการส่่งเสริิมการทำำสวน ยางในรููปแบบแปลงใหญ่่ (Smart Farm) ภายใต้้แผนสร้้าง ความเข้้มแข็็งให้้สอดคล้้องกัับการพััฒนายางพาราทั้้งระบบ ประกอบด้้วย การอบรมพััฒนาความรู้้ด้้านยางพาราครบ วงจร ได้้แก่่ การลดต้้นทุุนการผลิิตและเพิ่่มผลผลิิต การ พััฒนาคุุณภาพให้้ได้้มาตรฐาน การบริิหารจััดการ และการ จััดการด้้านการตลาด ส่่งเสริิมการใช้้นวััตกรรมเทคโนโลยีี เพื่่อก้้าวไปสู่่ Smart Farm “สถานการณ์์ราคายางขณะนี้้�มีีแนวโน้้มที่ี ี�ดีีขึ้้�น นอกจากปััจจััยการเปลี่่�ยนแปลงของสภาพอากาศ ส่่งผล ให้้ผลผลิิตทั่่�วโลกลดลงขณะที่่�ความต้้องการมีีแนวโน้้ม ขยายตััวเพิ่่�มขึ้้�น ประกอบกัับค่่าเงิินบาทอ่่อนค่่าแล้้ว นโยบายด้้านยางพาราของรััฐบาลที่่�ชััดเจน และที่่�สำำคััญ การประกาศสงครามกัับยางพาราเถื่่�อน โดยสั่่�งปราบ ปรามอย่่างจริิงจััง ล้้วนแต่่เป็็นปัจจััยบวกสนัับสนุุนให้ร้าคา ยางพาราปรัับตััวสููงขึ้้�น โดยล่่าสุุด ราคายางแผ่่นรมควััน ชั้้�น3 ปรัับตััวเพิ่่�มขึ้้�นมาอยู่่ในระดัับราคา 55.23 บาทต่่อ กิิโลกรััม ยางแผ่่นดิิบ 52.60 บาทต่่อกิิโลกรััม และน้ำ ำ� ยางสดราคา 52.30 บาทต่่อกิิโลกรััมซึ่่�งราคาปรัับตััวสููง ขึ้้�นต่่อเนื่่�องและสููงสุุดในรอบ 15 เดืือน” นายณกรณ์์กล่่าว เสนอครม.ไฟเขีียวหน่่วยงานราชการ ใช้ ้ ล้้อยาง กยท.


8 “รมว.ธรรมนััส” เปิิดงาน “เทศกาลข้้าวหอมมะลิิโลก 2566” มุ่่งเชื่่�อมตลาดในและต่่างประเทศ รุุกขัับเคลื่่�อน นวััตกรรมสร้้างมููลค่่าข้้าวหอมมะลิิ เพิ่่�มรายได้้ให้้เกษตรกร ร้้อยเอก ธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์์ กล่่าวในโอกาสเป็็นประธานพิธีิีเปิิดงาน เทศกาลข้้าวหอมมะลิิโลก ครั้้งที่่ 23 จััดขึ้้นระหว่่างวัันที่่ 11-13 ธัันวาคม 2566 ณ ลานสาเกตนคร สวนสมเด็็จ พระศรีีนคริินทร์์ร้้อยเอ็็ด อ.เมืืองร้้อยเอ็็ด จ.ร้้อยเอ็็ด โดย มีี นายทรงพล ใจกริ่่ม ผู้้ว่่าราชการจัังหวััดร้้อยเอ็็ด พร้้อม ด้้วย ผู้้บริิหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ หััวหน้้าส่่วน ราชการ หน่่วยงานที่่เกี่่ยวข้้อง เข้้าร่่วม ว่่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ได้้เดิินหน้้าขัับเคลื่่อน นโยบายของรััฐบาลด้้านการเกษตรเพื่่อให้้เกิิดผลสำำเร็็จ อย่่างเป็็นรููปธรรม โดยเน้้นการยกระดัับสิินค้้าเกษตร เสริิม ศัักยภาพเกษตรกรด้้วยการผลัักดัันส่่งเสริิมการเพิ่่มมููลค่่า สิินค้้าเกษตร ตามนโยบาย 1 ท้้องถิ่่น 1 สิินค้้าเกษตร มููลค่่าสููง ในส่่วนของการส่่งเสริิมศัักยภาพข้้าวไทยนั้้น ได้้ให้้ ความสำำคััญในด้้านการพััฒนาผลิิตภััณฑ์์แปรรููปข้้าว เป็็น แนวทางหนึ่่งในการเพิ่่มมููลค่่าข้้าวให้้กัับเกษตรกรไทย เกิิด การสร้้างงานเป็็นการเพิ่่มโอกาสและขีีดความสามารถด้้าน การแข่่งขัันทางการค้้า โดยใช้้องค์์ความรู้้จากการวิิจััยด้้าน นวััตกรรมการแปรรููป เพื่่อนำำ ไปสู่่การผลิิตผลิิตภััณฑ์์ที่่มีี ความปลอดภััยและได้้คุุณภาพตามมาตรฐาน ข้้าวหอมมะลิิ เป็็นพืืชเศรษฐกิิจหลัักของจัังหวััด ร้้อยเอ็็ด โดยจัังหวััดร้้อยเอ็็ดมีีพื้้นที่่ในทุ่่งกุุลาร้้องไห้้ถึึงร้้อย ละ 46 ของพื้้นที่่ทุ่่งกุุลาทั้้งหมด 2.1 ล้้านไร่่ ประกอบด้้วย 5 จัังหวััด ได้้แก่่ ร้้อยเอ็็ด 986,807 ไร่่ สุุริินทร์์ 575,993 ไร่่ ศรีีสะเกษ 287,000 ไร่่ มหาสารคาม 193,890 ไร่่ และ ยโสธร 64,000 ไร่่ เป็็นแหล่่งเพาะปลููกข้้าวหอมมะลิิ 105 ซึ่่�งมีีการปรัับปรุุงและรัับรองพัันธุ์์ในปีี 2502 ในชื่่�อ “ขาวดอกมะลิิ 105” ถืือเป็็นสายพัันธุ์์ข้้าวที่่�เป็็นความ ภาคภููมิิใจของคนไทยทั้้�งชาติิ คนทั่่�วไปจะรู้้จัักจากคำำนิิยาม ว่่า “หอม-เรีียวยาว-ขาวนุ่่ม” ด้้วยคุุณสมบััติิพิิเศษ คืือ ความนุ่่มของข้้าว และกลิ่่�นหอมอัันเป็็นเอกลัักษณ์์ของ ข้้าวหอมมะลิิทุ่่งกุุลาร้้องไห้้จนทั่่�วโลกยอมรัับว่่าเป็็นข้้าว ที่่�มีีคุุณภาพดีีที่่�สุุดในโลก จนได้้รัับการรัับรองสิ่่�งบ่่งชี้้�ทาง ภููมิิศาสตร์์หรืือ GI สำำหรัับงานเทศกาลข้้าวหอมมะลิิโลก ครั้้งที่่ 23 จัังหวััดร้้อยเอ็็ด เป็็นการนำำเสนอนวััตกรรมและเทคโนโลยีี สมััยใหม่่ในกระบวนการผลิิตที่่เหมาะสมกัับพื้้นที่่ สู่่การทำำ เกษตรสร้้างมููลค่่า เพื่่อเป็็นเวทีีเชื่่อมโยงตลาด ระหว่่าง กลุ่่มกษตรกรและผู้้รัับซื้้อข้้าวทั้้งในและต่่างประเทศ ให้้มีี ช่่องทางการขายที่่หลากหลาย โดยอาศััยความร่่วมมืือภาค รััฐและเอกชนด้้านการเกษตรเป็็นกำำลัังสำำคััญ เป็็นอีีกพลัังที่่เข้้มแข็็งในการพััฒนาความร่่วมมืือด้้าน การเกษตร ตลอดจนสนัับสนุุนนโยบายรััฐบาล ให้้บรรลุุ วััตถุุประสงค์์ตามที่่กำำ หนดไว้้โดยใช้้ “ตลาดนำำ นวััตกรรม เทศกาลข้้าวหอมมะลิิโลก 2566


9 เสริิม เพิ่่มรายได้้” เพื่่อยกระดัับภาคเกษตร และช่่วยเหลืือ เกษตรกรไทย ให้้กิินดีีอยู่่ดีี โดยได้้รัับความร่่วมมืือจากส่่วน ราชการต่่าง ๆ องค์์กรภาคเอกชน สภาอุุตสาหกรรมจัังหวััด ร้้อยเอ็็ด สมาคมธุุรกิิจการท่่องเที่่ยวจัังหวััดร้้อยเอ็็ด ชมรม โรงสีีข้้าวจัังหวััดร้้อยเอ็็ด ผู้้แทนกลุ่่มองค์์กรเกษตรกร และ ผู้้ประกอบการร้้านค้้าต่่าง ๆ ภายในงานมีีกิิจกรรมและนิิทรรศการต่่าง ๆ ที่่น่่า สนใจ อาทิิ 1) นิิทรรศการ “ตลาดนำำ นวััตกรรมเสริิม เพิ่่�มราย ได้้” โดย กรมส่่งเสริิมการเกษตร 2) นิิทรรศการ การส่่งเสริิมการผลิิตข้้าวหอมมะลิิใน พื้้นที่่ทุ่่งกุุลาทั้้ง 5 จัังหวััด โดยสำำนัักงานเกษตรจัังหวััด 5 จัังหวััดในเขตทุ่่งกุุลาร้้องไห้้ (ร้้อยเอ็็ด สุุริินทร์์ ศรีีสะเกษ ยโสธร มหาสารคาม) 3) นิิทรรศการ การผลิิตพัันธุ์์ข้้าวคุุณภาพดีี โดย ศููนย์์ เมล็็ดพัันธุ์์ข้้าวร้้อยเอ็็ด 4) นิิทรรศการ ประกวดค้้นหาสุุดยอดความหอม ของข้้าวหอมมะลิิโลกของจัังหวััดร้้อยเอ็็ด โดย สำำนัักงาน สหกรณ์์จัังหวััดร้้อยเอ็็ด 5) การเจรจาการค้้าข้้าวหอมมะลิิและจััดทำำบัันทึึกข้้อ ตกลง ระหว่่างผู้้ขายข้้าวในจัังหวััดร้้อยเอ็็ดและผู้้รัับซื้้อจาก ในและต่่างประเทศดำำเนิินการ โดย สำำนัักงานพาณิิชย์์ จัังหวััดร้้อยเอ็็ด 6) นิิทรรศการผลงานด้้านนวััตกรรมทางด้้านการ ผลิิต การแปรรููป สิินค้้าทางการเกษตร โดย สำำนัักงาน อุุตสาหกรรมจัังหวััดร้้อยเอ็็ด และ 7) นิทรรศการเรื่อง การพัฒนาข้าวหอมมะลิทุ่งกุลา ด้วยการวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดย หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เป็นต้น.


10 นาเปีปีียกสลัลัับแห้ห้้ง ขัขัับเคลื่ลื่่�อนยุยุุทธศาสตร์ตร์์ BCG กรมชลลฯ หนุนุุนนโยบาย ุนนโยบายรัรััฐยกระดัับ ัฐยกระดัับคุคุุณภภาพชีชีวิวิ ีตต ิชาวนา กระทรวงเกษตรฯ ขัับเคลื่่�อนเศรษฐกิจสู่่ ิการพััฒนาที่่� ยั่่�งยืืน กรมชลฯ รัับลููกศึึกษาการให้น้ำ้ำ�นาข้้าวแบบประหยััด พบช่่วยลดต้้นทุุนค่่าปุ๋๋�ย ค่่าน้ำ ำ� เพิ่่�มผลผลิิตต่่อไร่่ และลด การปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนฯ ชี้้�เป็็นวิิธีีที่่�เหมาะกัับสภาพภููมิิ อากาศผัันผวน เตรีียมขยายผลหวัังช่่วยเสริิมความมั่่�นคง ให้้อาชีีพชาวนา ร้้อยเอกธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์์ เปิิดเผยว่่า กระทรวงเกษตรฯ สนัับสนุุน นโยบายของรััฐบาลในการขัับเคลื่่อนเศรษฐกิิจสู่่การพััฒนา ที่่ยั่่งยืืน (BCG) ทั้้ง 3 ด้้าน ได้้แก่่ เศรษฐกิิจชีีวภาพ (Bio Economy) คืือ ใช้้ทรััพยากรชีีวภาพเพื่่อสร้้างมููลค่่าเพิ่่ม เชื่่อมโยงกัับเศรษฐกิิจหมุุนวีียน (Circular Economy) ซึ่่งจะคำำนึึงถึึงการนำำวััสดุุต่่างๆ กลัับมาใช้้ประโยชน์์ให้้ เต็็มประสิิทธิิภาพ ควบคู่่ไปกัับเศรษฐกิิจสีีเขีียว (Green Economy) คืือ การใช้้เทคโนโลยีีการผลิิตที่่เป็็นมิิตรต่่อ สิ่่งแวดล้้อมได้้อย่่างสมดุุล มั่่นคงและยั่่งยืืน โดยให้้หน่่วย ราชการในสัังกััดศึึกษาวิิจััยสร้้างนวััตกรรมให้้สอดคล้้อง กัับ BCG โดยในส่่วนของกรมชลประทานได้้สนัับสนุุน นโยบายของรััฐบาลและกระทรวงเกษตรฯในขัับเคลื่่อน ยุุทธศาสตร์์ BCG โดยทำำการศึึกษาและวิิจััยเปรีียบเทีียบ การให้้น้ำำ แบบประหยััดสำำหรัับนาข้้าว เป้้าหมายเพื่่อขยาย ผลองค์์ความรู้้สู่่เกษตรกร หน่่วยงานราชการ ภาคเอกชน นัักวิิจััย และผู้้สนใจทั่่วไปได้้ใช้้ประโยชน์์ เฉพาะอย่่างยิ่่ง การหาแนวทางประหยััดน้ำำ ให้้เกษตรกรผู้้ปลููกข้้าวในสภาวะ อากาศที่่ผัันผวนสููงเช่่นปััจจุุบััน ขณะเดีียวกัันต้้องไม่่กระทบผลผลิิต และเป็็นวิธีิที่่นำี ำ ไป ปฏิิบััติิได้้จริิง โดยในการศึึกษา ฯ ได้้คำำนึึงถึึงการประเมิิน ประสิิทธิิภาพด้้านการใช้้น้ำำ ในนาข้้าวเป็็นสำำคััญ ร่่วมด้้วย ปััจจััยในการเพาะปลููก เช่่น ดิิน เมล็็ดพัันธุ์์ ฯ การดููแลนา ข้้าว ปััจจััยทางด้้านสภาพแวดล้้อมให้้สอดคล้้องกัับสภาพ การปลููกจริิงของเกษตรกร ซึ่่งทางคณะผู้้วิิจััยจึึงเลืือกวิิธีี การทำำนาแบบนาเปีียกสลัับแห้้ง และทำำการเลืือกเมล็็ด พัันธุ์์ที่่เหมาะสมกัับพื้้นที่่ ได้้แก่่ กข.85 และออกแบบการ ใช้้อุุปกรณ์์ตรวจวััดร่่วมกัับเทคโนโลยีีด้้านสารสนเทศ IOT เข้้ามาเฝ้้าติิดตามสมดุุลน้ำำ ในพื้้นที่่ชลประทานของโครงการ ส่่งน้ำำและบำำรุุงรัักษามููลบน สำำนัักงานชลประทานที่่ 8 จัังหวััดนครราชสีีมา นายวิิทยา แก้้วมี รองอีธิิบดีีกรมชลประทานกล่่าวเพิ่่ม เติิมว่่า กรมชลประทานได้้ทำำต้้นแบบและคู่่มืือการบริิหาร จััดการการทำำนาที่่มีีประสิิทธิิภาพใช้น้ำ้ ำน้้อย หรืือทำำนาแบบ เปีียกสลัับแห้้งที่่ช่่วยประหยััดน้ำำกว่่าการปลููกแบบเดิิมถึึง ร้้อยละ 30-50 หรืือประหยััดจากเดิิมที่่ใช้้น้ำำ ไร่่ละ 1,200


11 ลููกบาศก์์เมตร(ลบ.ม.) เหลืือประมาณไม่่เกิิน 860 ลบ.ม. และยัังช่่วยจััดการการให้ปุ๋๋ ้ �ยแก่ต้่ ้นข้้าวในช่่วงเวลาที่่ถููกต้้อง ทำำ ให้้ลดการใช้้ปุ๋๋�ยได้้ร้้อยละ 30-40 ต่่อไร่่ และเพิ่่มผลผลิิต ข้้าวในพื้้นที่่เพาะปลููกได้้ร้้อยละ 20-30 ต่่อไร่่ จากผลงานวิิจััยยัังพบว่่าพัันธุ์์ข้้าว ชนิิดดิิน วิิธีีปลููก วิิธีีการจััดการน้ำำ ชนิิดกัับอััตราการใช้้ปุ๋๋�ย และปริิมาณสาร อิินทรีีย์์ในนาข้้าว มีีอิิทธิิพลต่่อการสร้้างและปล่่อยก๊๊าซ มีีเทน ซึ่่งการจััดสรรน้ำำ ในแปลงนา การใส่่ปุ๋๋�ย และการ ไถพรวนแบบนาแบบเปีียกสลัับแห้้งสามารถลดการปล่่อย ก๊๊าซมีีเทน และช่่วยลดก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ในอากาศ ซึ่่งเป็็นสาเหตุุหลัักของปรากฎการณ์์เรืือนกระจกได้้ถึึงร้้อย ละ 75 ช่่วยสนัับสนุุนเป้้าหมายสำำคััญของประเทศไทยที่่จะ เป็็นกลางทางคาร์์บอน (Carbon Neutrality) ในปีี 2050 และปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกเป็็นศููนย์์ ( Net Zero ) ภายใน ปีี 2065 ด้้วย รองอธิิบดีีกรมชลประทาน กล่่าวต่่อว่่า ต้้นแบบ แนวทางดัังกล่่าว นอกจากจะช่่วยเกษตรกรลดต้้นทุุน ในการทำำนา อาทิิ ค่่าปุ๋๋�ย สารเคมีีสำำหรัับควบคุุมกำำจััด ศััตรููพืืช ค่่าน้ำำมัันเชื้้อเพลิิงเพื่่อสููบน้ำำเข้้าแปลงนา อัันจะ เป็็นการสร้้างความมั่่นคงในอาชีีพ และลดการปลดปล่่อย ก๊๊าซเรืือนกระจกแล้้ว ยัังเป็็นการสนัับสนุุนรััฐบาลขัับเคลื่่อน ยุุทธศาสตร์์ BCG ในการส่่งเสริิมให้้เกิิดการขยายผลการ ทำำ นาแบบใช้้น้ำำน้้อยไปทั่่วทุุกภููมิิภาคของประเทศ อัันจะ เป็็นประโยชน์ต่์ ่อเศรษฐกิิจ-สัังคมทั้้งระยะสั้้นและระยะยาว ตามความเป็็นไปได้้ต่่อไป “กรมชลประทานจะทำำการขยายผลการศึึกษาเปรีียบ เทีียบการให้้น้ำ ำ� แบบประหยััดสำำ หรัับนาข้้าวและสร้้าง แนวทางลดการปลดปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกนี้้�ไปยัังพื้้�นที่่� ใกล้้เคีียงใน จ.นครราชสีีมา รวมถึึงการเผยแพร่่ผลการ วิจัิัยในเวทีวิีิชาการ เพื่่�อเพิ่่�มพื้้�นที่่�ชลประทานด้้วยส่่งเสริิม การใช้้ทรััพยากรน้ำ ำ�ที่่มี�ีอยู่่อย่่างจำำกััดภายใต้้สภาวะอากาศ เปลี่่�ยนแปลงให้้เกิิดประโยชน์์อย่่างเต็็มที่่� ขณะเดีียวกัับลด การทำำลายรสิ่่�งแวดล้้อมที่่�ทั่่�วโลกกำำลัังให้้ความสนใจอยู่่ ในขณะนี้้�ด้้วย” รองอธิิบดีีกรมชลประทานกล่่าวตอนท้้าย.


12 จากผลการติิดตามโครงการเกษตรอิินทรีีย์์ ซึ่่�งเป็็น โครงการสำำคััญภายใต้้โครงการพััฒนาเกษตรกรรมยั่่�งยืืน ด้้วยการยกระดัับการผลิิตจากวิิถีีพื้้�นบ้้านให้้ได้้รัับรอง มาตรฐานเกษตรอิินทรีีย์์ เพื่่�อสร้้างมููลค่่าเพิ่่�มให้้แก่่สิินค้้า เกษตร และรายได้้ที่่�มั่่�นคงของเกษตรกร รวมทั้้�งยัังคง ไว้้ซึ่่�งความปลอดภััย ต่่อสุุขภาพของเกษตรกรและผู้้ บริิโภค โดยกิิจกรรมการส่่งเสริิมและพััฒนาการผลิิตข้้าว อิินทรีีย์์ ในการเพิ่่�มศัักยภาพด้้านมาตรฐานการผลิิตข้้าว อิินทรีย์ี์ มีีกรมการข้้าว เป็็นหน่่วยงานรัับผิิดชอบหลััก โดย ปีีงบประมาณ พ.ศ.2566 ได้กำ้ำหนดเป้้าหมายเพิ่่�มศัักยภาพ ให้้แก่่กลุ่่มเกษตรกร 701 กลุ่่ม นางธััญธิิตา บุุญญมณีีกุุล รองเลขาธิิการสำำนัักงาน เศรษฐกิิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ เปิิดเผยว่่า จากการติิดตามผลการดำำเนิินงานภาพรวม กิิจกรรมการส่่งเสริิมและพััฒนาการผลิิตข้้าวอิินทรีีย์์ พบ ว่่า สามารถเพิ่่มศัักยภาพด้้านมาตรฐานการผลิิตข้้าวอิินทรีย์ี์ ด้้วยการจััดอบรมเชิิงปฏิิบััติิการทำำระบบควบคุุมภายใน แบบกลุ่่ม Internal Control System (ICS) เพื่่อให้้กลุ่่ม เกษตรกรมีีความรู้้เกี่่ยวกัับระบบควบคุุมภายใน หลัักเกณฑ์์ และเงื่่อนไขของหน่่วยรัับรองในการรัับรองแบบกลุ่่มตาม ระบบการผลิิตข้้าวอิินทรีีย์์ ให้้แก่่เกษตรกรทั้้งกลุ่่มต่่อเนื่่อง และกลุ่่มใหม่่ รวม 701 กลุ่่ม ครบตามเป้้าหมาย สำำหรัับตััวอย่่างผลสำำเร็็จของการส่่งเสริิมและ พััฒนาการผลิิตข้้าวอิินทรีีย์์ สศก. โดยศููนย์์ประเมิินผล ได้้ ลงพื้้นที่่ติิดตามตััวอย่่างการดำำเนิินงานการพััฒนาเกษตร อิินทรีีย์์ ณ วิิสาหกิิจชุุมชนกลุ่่มข้้าวหอมมะลิิอิินทรีีย์์ บ้้านตะครอง หมู่่ 15 ตำำบลหนองเต็็ง อำำเภอกระสััง จัังหวััดบุุรีีรััมย์์ถืือเป็็นกลุ่่มวิิสาหกิิจชุุมชนที่่มีีศัักยภาพ การผลิิต และมีีการบริิหารกลุ่่มที่่เข้้มแข็็ง โดยกลุ่่มได้้จด ทะเบีียนวิิสาหกิิจชุุมชนและเข้้าร่่วมโครงการระบบส่่งเสริิม วิิสาหกิิจชุุมชนกลุ่่มข้้าวหอมมะลิิอิินทรีย์ ี์ บ้้านตะครอง อ.กระสััง จ.บุ ุ รี ี รััมย์ ์


13 เกษตรแบบแปลงใหญ่่ ตั้้งแต่่ ปีี 2560 มีีนางศราทรณ์์ คง ทวีี เป็็นประธานกลุ่่ม มีีสมาชิิกเกษตรกรในแปลงใหญ่่ ข้้าว 104 ราย พื้้นที่่รวมประมาณ 1,525 ไร่่ ทำำการผลิิตข้้าวปีีละ 1 ครั้้ง เริ่่มเพาะปลููกในเดืือนพฤษภาคมและเริ่่มเก็็บเกี่่ยวตั้้งแต่่เดืือนพฤศจิิกายนเป็็นต้้นไป ซึ่่งเป็็นข้้าวพัันธุ์์ ขาวดอกมะลิิ 105 เป็็นหลััก มีีผลผลิิตของสมาชิิก รวม ประมาณ 530 ตัันต่่อปีี ซึ่่ งที่่ผ่่านมา ปริิมาณผลผลิิตส่่วน ใหญ่่กว่่า ร้้อยละ 60 เกษตรกรยัังคงนำำมาบริิโภคในครััวเรืือนเป็็นหลััก ส่่วนที่่เหลืือร้้อยละ 40 จะเก็็บไว้้และทยอยนำำ ไปจำำหน่่าย ให้้กลุ่่มหรืือโรงสีีในราคาทั่่วไป ต่่อมา นางศราทรณ์์ คงทวีี ในฐานะผู้้นำำกลุ่่มได้้ร่่วมผลัักดัันให้้กลุ่่มมีีการยกระดัับจากการผลิิตข้้าวอิินทรีีย์์ วิิถีี พื้้นบ้้าน สู่่การผลิิตข้้าวอิินทรีี ย์์ที่่มีีการรัับรองมาตรฐาน อย่่างเป็็นรููปธรรม ให้้สามารถดำำ เนิินการยกระดัับการผลิิต แปรรููป และจำำ หน่่ายผลิิตภััณฑ์์ข้้าวอิินทรีี ย์์ได้้อย่่างครบ วงจร เพื่่อสร้้างรายได้้ที่่มั่่นคงให้้สมาชิิกของกลุ่่ม โดยได้้ รวบรวมสมาชิิก 15 ราย ในพื้้นที่่ตำำบลหนองเต็็ง ที่่มีีความพร้้อมเข้้าสู่่กระบวนการพััฒนาให้้ได้้รัับการรัับรองแหล่่งผลิิตข้้าวอิินทรีีย์์จากกรมการข้้าว และได้้รัับรองมาตรฐาน การผลิิตข้้าวอิินทรีี ย์์ (มกษ. 9000) ในปีี 2565 โดยมีีพื้้นที่่เพาะปลููกรวม 164.25 ไร่่ คิิดเป็็นร้้อยละ 10 ของพื้้นที่่แปลงใหญ่ข้่ ้าวทั้้งหมด สามารถผลิิตข้้าวเปลืือก ที่่ได้้ รัับรองมาตรฐานการผลิิตข้้าวอิินทรีี ย์์รวม 65 ตัันต่่อปีี หรืือมีีผลผลิิตเฉลี่่ย 395 กิิโลกรััมต่่อไร่่ ผลจากการรัับรองมาตรฐานการผลิิตข้้าวอิินทรีย์ี์ ทำำ ให้้ สมาชิิกกลุ่่มสามารถจำำ หน่่ายข้้าวเปลืือกหอมมะลิิ อิินทรีี ย์์ ให้้แก่่กลุ่่มในราคาที่่สููงกว่่าราคาทั่่วไป 1,000 บาทต่่อตััน ซึ่่งทางกลุ่่มจะได้้นำำ ไปแปรรููปเป็็นข้้าวสาร จำำหน่่ายให้้แก่่ โรงพยาบาลกระสััง และเทศบาลตำำบลกระสััง เป็็นประจำำทุุกเดืือนๆ ละกว่่า 1 ตััน ช่่วยสร้้างรายได้้ให้้แก่่กลุ่่ม โดยทางกลุ่่มมีีรายได้้ในส่่วนของข้้าวอิินทรีย์ีที่่ ์ ได้รั้ับรอง มาตรฐานประมาณ 40,000 บาทต่่อเดืือน หรืือ 480,000 บาทต่่อปีี และยัังมีีการจำำ หน่่าย ให้้แก่่ ลููกค้้าทั่่วไป ทั้้งใน พื้้นที่่และนอกพื้้นที่่อย่่างต่่อเนื่่อง พร้้อมทั้้งยัังได้้วางแผนร่่วมกัับสถาบัันการศึึกษาในการแปรรููป ข้้าวเป็็นสิินค้้าอื่่น ๆ เพื่่อให้้เกิิดผลิิตภััณฑ์์ที่่หลากหลาย อีีกทั้้�งยัังเป็็นแรงจููงใจในการขยายผลความสำำ เร็็ จไป สู่่สมาชิิกรายอื่่�น ๆ ให้้สนใจเข้้าสู่่การขอรัับรองมาตรฐาน การผลิิตข้้าวอิินทรีี ย์์เพิ่่�มขึ้้�นต่่อไป สำำ หรัับท่่านที่่�สนใจการ ส่่งเสริิมและพััฒนาการผลิิตข้้าวอิินทรีี ย์์ ของวิิสาหกิิ จ ชุุมชนกลุ่่มข้้าวหอมมะลิิ อิินทรีี ย์์ บ้้านตะครอง จัังหวััด บุุ รีีรััมย์์ สามารถติิดต่่อสแบถามได้้ที่่� นางศราทรณ์์ คง ทวีี ประธานกลุ่่ม โทร. 092 158 1194. นางธัธััญธิธิิตา บุบุุญญมณีณีีกุกุุล


14 ร้้อยเอกธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวีง เกษตรและสหกรณ์์ เป็็นประธานพิิธีีเปิิด งาน Thailand Rice Fest 2023 และ Thailand Coffee Fest ‘Year End’ 2023 ณ ศููนย์์การประชุุมแห่่งชาติิสิิริิกิิติ์์� เมื่่�อวัันที่่� 14 ธัันวาคม 2566 การจััดงานนี้้เป็็นการนำำสิินค้้าเกษตร ทั้้งกาแฟและข้้าว มานำำเสนอผ่่านรููปแบบการจััดกิิจกรรมและงานแสดงสิินค้้า เพื่่อแสดงให้้เห็็นถึึงศัักยภาพของสิินค้้าเกษตรทั้้ง 2 ชนิิดนี้้ ผ่่านการมีีประสบการณ์ร่์่วม และช่่วยขัับเคลื่่อนเศรษฐกิิจใน ภาคการเกษตรผ่่านการเพิ่่มมููลค่่าด้้วยความคิิดสร้้างสรรค์์ ในโลกยุุคนี้้ การแข่่งขัันด้้านการค้้าเป็็นเรื่่องสำำคััญ และ การวางกลยุุทธ์์ในการแข่่งขัันสำำหรัับภาคสิินค้้าเกษตรของ ไทย โดยมีี 3 แนวทางหลัักในการขัับเคลื่่อน ได้้แก่่ 1) Premiumization คืือการนำำผลผลิิตทางการเกษตร มาทำำ ให้มี้คุีุณภาพและเพิ่่มมููลค่่ามากขึ้้น เพราะประเทศไทย ไม่่ได้้อยู่่ในสถานะที่่ได้้เปรีียบด้้านปริิมาณ จึึงต้้องมุ่่งเน้้นการ เพิ่่มมููลค่่า ผ่่านความคิิดสร้้างสรรค์์เทคโนโลยีี และงานวิจัิัย ซึ่่งประเทศไทยทั้้งภาครััฐและเอกชนที่่ทำำการค้้นคว้้า วิิจััยเกี่่ยวกัับสิินค้้าการเกษตรมีีอยู่่มากและในอนาคตข้้าง หน้้าจะมีีการผลัักดัันให้้นำำงานวิิชาการที่่วิิจััยมาแล้้วนำำมา ใช้้จริิงให้้มากขึ้้น อย่่างไรก็็ตาม กระทรวงเกษตรฯ พร้้อม จะร่่วมพััฒนาสายพัันธุ์์ข้้าวและกาแฟ ให้้เป็็นสิินค้้าเกษตร คุุณภาพสููงเพื่่อแข่่งขัันในตลาดส่่งออกต่่อไป 2) Product Derivative คืือการนำำสิินค้้าเกษตร ทั้้ง ผลผลิิตและผลพลอยได้้มาต่่อยอดเป็็นสิินค้้าใหม่่ เหมืือน ที่่ในต่่างประเทศทำำ เช่่น ไวน์์หรืือเบีียร์์เป็็นต้้น โดยใน Thailand Rice Fest 2023 และ Thailand Coffee Fest “Year End” 2023 ประเทศไทยมีีการนำำผลผลิิตทางการเกษตรโดยเฉพาะข้้าว มาทำำเป็็นสิินค้้า เพื่่อการอุุปโภคบริิโภค เช่่น เครื่่องสำำอาง เครื่่องดื่่ม หรืืออาหารแปรรููปต่่าง ๆ เพื่่อให้้สิินค้้าเกษตร ได้้ถููกนำำ มาใช้้อย่่างเต็็มศัักยภาพ ใช้้งานง่่ายขึ้้น หรืือเก็็บ ได้้นานขึ้้น ในส่่วนนี้้ก็็มีีงานวิิชาการที่่ทำำวิิจััยอยู่่แล้้วมากมายเช่่น เดีียวกััน กระทรวงเกษตรฯ จึึงพร้้อมผลัักดัันให้้ภาคธุุรกิิจ ได้้นำำความรู้้เหล่่านั้้นมาผสานกัับความคิิดสร้้างสรรค์์และ ความเชี่่ยวชาญด้้านธุุรกิิจ มาพััฒนาให้้เป็็นสิินค้้าใหม่่ ๆ ที่่ตอบโจทย์์ผู้้บริิโภคได้้มากขึ้้น 3) การทำำเกษตรแบบคิิดถึึงคนรุ่่นหลััง โดยสิินค้้า เกษตรเป็็นสิินค้้าที่่ขึ้้นกัับสภาวะแวดล้้อมมาก กระทรวง เกษตรและสหกรณ์์มีีความตั้้งใจจะสนัับสนุุนผลผลิิต ทางการเกษตรที่่ทั้้งมีคุีุณภาพดีีและคำำนึึงถึึงผลกระทบต่่อสิ่่ง แวดล้้อม ซึ่งไ่ด้้เห็็นความพยายามของหลายภาคส่่วนในการ คิิดค้้นวิธีิที่่ ีจะลดคาร์์บอนในการปลููกข้้าว การทำำการเกษตร แบบคำำนึึงถึึงสภาพแวดล้้อมต่่าง ๆ ซึ่่งล้้วนเป็็นจุุดตั้้งต้้นที่่ ดีีในการจะทำำ ให้้ประเทศไทยคงความเป็็นครััวของโลกต่่อไป “สิินค้้าทั้้�ง 2 ชนิิดนี้้� จะเป็็นจุุดเริ่่�มต้้นที่่�ช่่วยผลัักดััน การเพิ่่�มมููลค่่าและคุุณค่่าของผลิิตภััณฑ์์ทางการเกษตร ไม่่ ว่่าจะด้้วยการใช้้ความคิิดสร้้างสรรค์์เทคโนโลยีีหรืือการนำำ งานวิิจััยมาทำำ ให้้เกิิดเป็็นสิินค้้าเพื่่�ออุุปโภคบริิโภค และ หวัังว่่าประโยชน์์จากสิ่่�งนี้้�จะกลัับคืืนสู่่พี่่�น้้องเกษตรกร ทั้้�ง ในรููปแบบของรายได้้และกำำลัังใจ เพื่่�อจะได้้ผลิิตสิินค้้าที่่� มีีคุุณภาพเป็็นที่่�ยอมรัับในระดัับโลกต่่อไป” ร้้อยเอกธรรม นััสกล่่าว.


15 ร้้อยเอกธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวีง เกษตรและสหกรณ์์ พร้้อมด้้วย นายอนุุชา นาคาศััย รััฐมนตรีีช่่วยว่่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ นาย ประยููร อิินสกุุล ปลััดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ นาย วิิศิิษฐ์์ ศรีีสุุวรรณ์์ อธิิบดีีกรมส่่งเสริิมสหกรณ์์ และนาย ณััฏฐกิิตติ์์� ของทิิพย์์ อธิิบดีีกรมการข้้าว นำำทีีมผู้้บริิหาร กระทรวงเกษตรฯ ร่่วม Kick Off มาตรการช่่วยเหลืือ เกษตรกรผู้้ปลููกข้้าว ปีีการผลิิต 2566/67 จ่่ายเงิินแก่่ ชาวนาไร่่ละ 1,000 บาท โดยมีีนายภููมิิธรรม เวชยชััย รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงพาณิิชย์์ เป็็นประธาน พร้้อมด้้วยหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง ณ บริิเวณ หน้้าตึึกบััญชาการ 1 ทำำเนีียบรััฐบาล ว่่า ในวัันนี้้ก่่อนการประชุุมคณะรััฐมนตรีีได้้เริ่่ม Kick Off จ่่ายเงิินโครงการสนัับสนุุนค่่าบริิหารจััดการและพััฒนา คุุณภาพผลผลิิตเกษตรกรผู้้ปลููกข้้าว ปีีการผลิิต 2566/67 เพื่่อช่่วยเหลืือเกษตรกรผู้้ปลููกข้้าวตามมติิคณะรััฐมนตรีี เมื่่อ 14 พฤศจิิกายน 2566 ในอััตราไร่่ละ 1,000 บาท สููงสุุด ไม่่เกิิน 20 ไร่่ หรืือ 20,000 บาท วงเงิินทั้้งสิ้้น 54,336 ล้้านบาท เป้้าหมายเป็็นเกษตรกรที่่�ขึ้้�นทะเบีียนผู้้ปลููกข้้าวกัับ กรมส่่งเสริิมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ปีีการผลิิต 66/67 ได้้รัับประโยชน์์กว่่า 4.68 ล้้านครััว เรืือน โดยธนาคารเพื่่�อการเกษตรและสหกรณ์์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ดำำเนิินการทยอยโอนเงิินเข้้าบััญชีีเกษตรกร โดยตรงตั้้�งแต่่วัันที่่� 28 พฤศจิิกายน - 2 ธัันวาคม 2566 จำำ นวน 5 รอบ แบ่่งเป็็นรายภููมิิภาค เกษตรกรสามารถตรวจสอบ ผลการโอนเงิินได้้ที่่� แอปพลิิเคชััน BAAC Mobile ตลอด 24 ชั่่�วโมง และ สอบถามรายละเอีียดเพิ่่�มเติิมได้้ที่่� ธ.ก.ส. ทุุกสาขาทั่่�ว ประเทศหรืือ Call Center 02 555 0555 นอกจากนี้้ ได้้ดำำเนิินมาตรการคู่่ขนานในการรัักษา เสถีียรภาพราคาข้้าวเปลืือกและเสริิมสภาพคล่่องชาวนา ผ่่านสิินเชื่่อชะลอการขายข้้าวเปลืือกนาปีี ปีีการผลิิต 2566/67 และสิินเชื่่อเพื่่อรวบรวมข้้าวและสร้้างมููลค่่าเพิ่่ม โดยสถาบัันเกษตรกร ปีีการผลิิต 2566/67 อีีกด้้วย. Kick Off มาตรการช่่วยเหลืือชาวนา เริ่่�มทยอยจ่่ายเงิินไร่ ่ ละ 1,000


16 นายไชยา พรหมา รััฐมนตรีีช่่วยว่่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์์ ลงพื้้นที่่ตรวจราชการโครงการเพิ่่ม ประสิิทธิิภาพการส่่งเสริิมการปลููกหม่่อนเลี้้ยงไหมเชิิงบููรณ าการในพื้้นที่่จัังหวััดบุรีุรัีัมย์์โดยมีหัีัวหน้้าส่่วนราชการสัังกััด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์และหััวหน้้าส่่วนราชการ จัังหวััดบุรีุรัีัมย์์เข้้าร่่วม ณ หมู่่บ้้านท่่องเที่่ยวบ้้านสนวนนอก จัังหวััดบุุรีีรััมย์์ ซึ่่งโครงการเพิ่่มประสิิทธิิภาพการส่่งเสริิม การปลููกหม่่อนเลี้้ยงไหมเชิิงบููรณาการ โดยศููนย์์หม่่อนไหม เฉลิิมพระเกีียรติิฯ บุุรีีรััมย์์ กรมหม่่อนไหม เป็็นโครงการ ส่่งเสริิมอาชีีพการปลููกหม่่อนเลี้้ยงไหม และการทอผ้้าให้้ แก่่เกษตรกรและผู้้สููงอายุุในชุุมชน รวมถึึงเป็็นการเผยแพร่่ เอกลัักษณ์์ท้้องถิ่่นสู่่คนรุ่่นใหม่่ ผ่่านศููนย์์เรีียนรู้้กลุ่่มทอผ้้า ไหมบ้้านสนวนนอกประกอบด้้วย 1) ฐานการเรีียนรู้้การปลููกหม่่อนเลี้้ยงไหม 2) ฐานการเรีียนรู้้การฟอกย้้อมสีีเส้้นไหมและ 3) ฐานการเรีียนรู้้การทอผ้้าไหมสำำหรัับผลิิตภััณฑ์์ผ้้า ไหมของศููนย์์เรีียนรู้้กลุ่่มทอผ้้าไหมบ้้านสนวนนอกมีีการ พััฒนาลวดลายเอกลัักษณ์์จากภููมิิปััญญาท้้องถิ่่น อาทิิ ผ้้า ไหมมััดหมี่่ ผ้้าไหมหางกระรอก ผ้้าซิ่่นตีีนแดง เป็็นต้้น อีีกทั้้ง ได้รั้ับการรัับรองมาตรฐานผลิิตภััณฑ์์ผ้้าไหมไทย “ตรานกยููงพระราชทาน” ซึ่่งเป็็นเครื่่องหมายการัันตีีคุุณภาพสิินค้้าในการสร้้าง ความเชื่่อมั่่นให้้แก่่ผู้้บริิโภคและยกระดัับรายได้้เกษตรกร ในพื้้นที่่ให้้ดีียิ่่งขึ้้นทั้้งนี้้รมช.ไชยาได้้มอบหมายกรมหม่่อน ไหมในการศึึกษาและพััฒนาสายพัันธุ์์หนอนไหมต้้นหม่่อน เพื่่อให้้ได้้วััตถุุดิิบที่่มีีคุุณภาพในการต่่อยอดผลิิตภััณฑ์์ต่่อไป รมช.ไชยากล่่าวว่่า อาชีีพการปลููกหม่่อนเลี้้ยงไหม เป็็นการต่่อยอดอาชีีพเสริิมไปสู่่อาชีีพหลัักที่่มั่่นคง ตามเป้้า หมายสำำคััญ ในการยกระดัับรายได้้เกษตรกรภายใต้้การ บริิหารจััดการของรััฐบาลนายกรััฐมนตรีี (นายเศรษฐา ทวีี สิิน) ซึ่่งผลิิตภััณฑ์์ผ้้าไหมของไทยเป็็นที่่นิิยมในกลุ่่มลููกค้้า ชาวต่่างชาติิ จากลวดลายที่่เป็็นเอกลัักษณ์์เฉพาะถิ่่นและ สีีสัันจากการฟอกย้้อมที่่สวยงามกระทรวงเกษตรฯ พร้้อมสนัับสนุุนเยาวชนคนรุ่่นใหม่่ ในการพััฒนารููป แบบผลิิตภััณฑ์์ ให้้มีีความทัันสมััยมากขึ้้�นดููแลรัักษาง่่าย เพื่่�อเป็็นการต่่อยอดผลิิตภััณฑ์์ สำำ หรัับการเปิิดตลาดสิินค้้า ในคนรุ่่นใหม่่มากขึ้้�นและเพิ่่�มศัักยภาพการแข่่งขัันผ้้าไหม ไทยในเวทีีโลก. ส่่งเสริิมอาชีีพปลููกหม่่อนเลี้้�ยงไหม ต่่อยอดผลิิตภััณฑ์์ผ้้าไหมไทย เปิิดตลาดคนรุ่่นใหม่ ่


17 ร้้อยเอกธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์์ เปิิดเผยถึึง ความก้้าวหน้้าการดำำเนิิน การเปลี่่ยนพื้้นที่่ ส.ป.ก. 4-01 เป็็นโฉนดเพื่่อการเกษตร ภายหลัังเป็็นประธานการประชุุมคณะกรรมการปฏิรูิูปที่่ดิิน เพื่่อเกษตรกรรม (คปก.) ครั้้งที่่ 7/2566 โดยมีี นายประยููร อิินสกุุล ปลััดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์์ นายวิิณะโรจน์์ ทรััพย์ส่์่งสุขุ เลขาธิิการสำำนัักงาน การปฏิิรููปที่่ดิินเพื่่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) และผู้้เกี่่ยวข้้อง เข้้าร่่วมประชุุม ณ ห้้องประชุุมไชยยงค์์ ชููชาติิ สำำนัักงาน การปฏิิรููปที่่ดิินเพื่่อเกษตรกรรม ว่่า ในที่่ประชุุมได้้ร่่วมพิิจารณา (ร่่าง) ระเบีียบคณะ กรรมการปฏิิรููปที่่ดิินเพื่่อเกษตรกรรม เพื่่อดำำเนิินการ ปรัับปรุุงสิิทธิิ ส.ป.ก. 4-01 เป็็นโฉนดเพื่่อการเกษตร จำำ นวน 3 ฉบัับ ประกอบด้้วย 1) ร่่างระเบีียบ คปก. ว่่าด้้วยหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการและ เงื่่อนไขในการคััดเลืือกและจััดที่่ดิินให้้แก่่เกษตรกร การ โอนหรืือตกทอดทางมรดก สิิทธิิการเช่่าหรืือเช่่าซื้้อ และ การจััดการทรััพย์์สิินและหนี้้สิินของเกษตรกรที่่ได้้รัับที่่ดิิน (ฉบัับที่่...) พ.ศ. ... (ร่่างระเบีียบคััดเลืือก) 2) ร่่างระเบีียบ คปก. ว่่าด้้วยการให้้เกษตรกรและ สถาบัันเกษตรกรผู้้ได้้รัับที่่ดิินจากการปฏิิรููปที่่ดิินเพื่่อ เกษตรกรรมปฏิิบััติิเกี่่ยวกัับการเข้้าทำำ ประโยชน์์ในที่่ดิิน (ฉบัับที่่ ...) พ.ศ. ... (ร่่างระเบีียบเข้้าทำำ ประโยชน์์ฯ) และ 3) ร่่างระเบีียบ คปก. ว่่าด้้วยหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่่อนไขการให้้กู้้ยืืมเงิินกองทุุนการปฏิิรููปที่่ดิินเพื่่อ เกษตรกรรมและแก่่เกษตรกรและสถาบัันเกษตรกรในเขต ปฏิรูิูปที่่ดิิน (ฉบัับที่่...) พ.ศ....(ร่่างระเบีียบกู้้ยืืมเงิินกองทุุนฯ) “ที่่�ประชุุมมีีมติิเห็็นชอบการแก้้ไขปรัับปรุุงเกี่่�ยวกัับ ระเบีียบฯ และเอกสารต่่าง ๆ โดยก่่อนหน้้านี้้� ส.ป.ก. ได้้ ดำำเนิินการจััดรัับฟัังความคิิดเห็็น (ร่่าง) ระเบีียบ คปก. ทั้้�ง 3 ฉบัับ เป็็นที่่�เรีียบร้้อยแล้้ว มีีผู้้เข้้าร่่วมทั้้�งสิ้้�น 8,232 ราย และมีีผู้้ร่่วมแสดงความคิิดเห็็นทั้้�งสิ้้�น 996 ราย ถืือว่่าเป็็นไปตามกรอบระยะเวลาการดำำเนิินงานตาม ที่่�ได้้วางแผนไว้้ ซึ่่�งจากนี้้�ฝ่่ายเลขานุุการฯ จะเร่่งดำำเนิิน การในส่่วนที่่�เกี่่�ยวข้้อง และจะลงนาม ประกาศในราชกิิจ จานุุเบกษาต่่อไป ทั้้�งนี้้� จะเริ่่�ม Kick Off แจก “โฉนดเพื่่�อ การเกษตร” ฉบัับแรกพร้้อมกัันทั่่�วประเทศ ภายในวัันที่่� 15 มกราคม 2567 อย่่างแน่่นอน” รััฐมนตรีีเกษตรฯ กล่่าว อย่่างไรก็็ตาม การกำำหนดพื้้นที่่เป้้าหมายทั่่วประเทศ ที่่ จะเปลี่่ยนเป็็น “โฉนดเพื่่�อการเกษตร” ได้้นั้้น จะต้้องเป็็น แปลงที่่ดิินที่่ได้รั้ับอนุุญาตให้้เข้้าทำำ ประโยชน์์มาแล้้วไม่น้่ ้อย กว่่า 5 ปีี และไม่่มีีการใช้้ที่่ดิินผิิดวััตถุุประสงค์์ โดยเกษตรกรที่่�สนใจสามารถใช้้สิิทธิ์์�ยื่่�นลงทะเบีียน แจ้้งความประสงค์์ขอออกโฉนดเพื่่�อการเกษตรได้้ 2 ช่่อง ทาง คืือ 1) ยื่่�นด้้วยตนเอง ที่่� ส.ป.ก. จัังหวััด ผ่่านช่่องทาง ศููนย์์บริิการประชาชน และ 2) ผ่่านระบบบริิการออนไลน์์ของ ส.ป.ก. โฉนดเพื่่�อการเกษตร พร้้อมแจกฉบัับแรก 15 ม.ค. 67


18 กรมส่่งเสริิมการเกษตร หนุุนเกษตรกรปลููกพืืช ตามมาตรฐาน GAP ได้้ผลผลิิตคุุณภาพดีี ปลอดภััย มีี มาตรฐาน เป็็นที่่ต้�้องการของตลาดสร้้างรายได้้อย่่างยั่่�งยืืน นายรพีีทััศน์์ อุ่่นจิิตตพัันธ์์ รองอธิิบดีีกรมส่่งเสริิม การเกษตร กล่่าวว่่า กรมส่่งเสริิมการเกษตร ได้้ดำำเนิิน นโยบายส่่งเสริิมให้้เกษตรกรผลิิตสิินค้้าเกษตรปลอดภััยได้้ มาตรฐานตามระบบการรัับรองมาตรฐาน GAP พืืช โดยทำำ หน้้าที่่ในการประชาสััมพัันธ์์รัับสมััครขึ้้นทะเบีียน ถ่่ายทอด เทคโนโลยีีการผลิิตตามระบบมาตรฐาน GAP ให้คำ้ ำ ปรึึกษา แนะนำำ และประเมิินแปลงเบื้้องต้้น รวมทั้้งรวบรวม รายชื่่อเกษตรกรที่่ผ่่านการประเมิินแปลงเบื้้องต้้น และ ประสานงานจััดส่่งใบสมััครให้้หน่่วยตรวจรัับรองในสัังกััด กรมวิิชาการเกษตร ตลอดจนร่่วมเป็็นคณะทำำงานความ ร่่วมมืือด้้านการรัับรองแหล่่งผลิิตพืืชตามระบบการจััดการ คุุณภาพการปฏิบัิติัิทางการเกษตรที่่ดีสำีำหรัับพืืช (GAP พืืช) ปััจจุุบัันกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ได้้มีีการปรัับปรุุง แก้้ไขการกำำหนดมาตรฐานสิินค้้าเกษตร เรื่่อง การปฏิิบััติิ ทางการเกษตรที่่ดีีสำำหรัับพืืชอาหาร จาก มกษ. 9001- 2556 เป็็น มกษ. 9001–2564 โดยในรายละเอีียดสำำคััญคืือ มีีการปรัับข้้อกำำ หนดในการผลิิตสิินค้้าพืืชอาหารให้้มีีความ ชััดเจน ลดความซ้ำำซ้้อน เหมาะสมกัับสภาวการณ์์ในสัังคม ปััจจุุบััน และสอดคล้้องกัับมาตรฐาน ASEAN GAP มาก ขึ้้น เพื่่อทำำ ให้ผู้้ ้บริิโภคมั่่นใจในความปลอดภััยของอาหาร มีี กระบวนการผลิิตที่่เป็็นมิิตรกัับสิ่่งแวดล้้อม และเกษตรกรผู้้ ปฏิิบััติิงานมีีสวััสดิิภาพที่่ดีี สำำ หรัับ GAP พืืช คืือ “การปฏิิบััติิทางการเกษตร ที่่�ดีีสำำ หรัับพืืชอาหาร (Good Agricultural Practices for Food Crop)” เป็็นมาตรฐานที่่�ครอบคลุุมการปฏิิบััติิ ทางการเกษตรที่่�ดีีสำำ หรัับพืืชอาหาร ได้้แก่่ พืืชผััก ไม้้ ผล พืืชไร่่ พืืชสมุุนไพรและเครื่่�องเทศ ในทุุกขั้้�นตอนการ ผลิิตตั้้�งแต่่ในระดัับสวน/แปลงเพื่่�อให้้ได้้ผลผลิิตที่่�มีีความ ปลอดภััยจากสารเคมีี จุุลิินทรีีย์์และศััตรููพืืช มีีคุุณภาพ เหมาะสมต่่อการบริิโภคหรืือความต้้องการของผู้้บริิโภค โดยคำำนึึงถึึงการใช้้ปััจจััยการผลิิตอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ เพื่่�อลดต้้นทุุนการผลิิต คำำนึึงถึึงสุุขภาพ ความปลอดภััย สวััสดิิภาพของผู้้ปฏิิบััติิงาน และเป็็นมิิตรกัับสิ่่�งแวดล้้อม อย่่างความยั่่�งยืืน ในส่่วนของข้้อกำำ หนด 8 ประการ เพื่่อขอรัับรองแหล่่ง ผลิิต GAP พืืช สำำหรัับเกษตรกร มีีดัังนี้้ 1) น้ำำที่่ใช้้ ต้้องมาจากแหล่่งน้ำำที่่ไม่่เสี่่ยงต่่อการปน เปื้้�อนสิ่่งที่่เป็็นอัันตรายต่่อผลผลิิต 2) พื้้นที่่ปลููก ต้้องอยู่่ในสภาพแวดล้้อมที่่ไม่่ก่่อให้้เกิิด การปนเปื้้�อน สิ่่งที่่เป็็นอัันตรายต่่อผลผลิิต 3) วััตถุอัุันตรายทางการเกษตร มีีการจััดเก็็บเป็็นหมวด หมู่่ในสถานที่่เก็็บที่่มิิดชิิด ผู้้ปฏิบัิติัิงานต้้องมีีความรู้้ในการใช้้ วััตถุอัุันตรายทางการเกษตรที่่ถููกต้้อง และใช้้ตามคำำแนะนำำ กรมส่่งเสริิมการเกษตร หนุุนเกษตรกร ปลููกพืืชตามมาตรฐาน GAP


19 หรืือตามฉลากที่่ขึ้้นทะเบีียนกัับกรมวิิชาการเกษตร 4) การจััดการกระบวนการผลิิตก่่อนการเก็็บเกี่่ยว มีี แผนควบคุุมการผลิิต มีีการจััดการที่่ดีีในการใช้้ปุ๋๋�ยและสาร ปรัับปรุุงดิิน 5) การเก็็บเกี่่ยวและการปฏิิบััติิหลัังการเก็็บเกี่่ยว เก็็บ เกี่่ยวผลิิตผลที่่มีีอายุุเหมาะสมและถููกสุุขลัักษณะ ตามความ ต้้องการของตลาดหรืือข้้อกำำหนดของลููกค้้า 6) การพัักผลิิตผล การขนย้้าย และการเก็็บรัักษา มีี การจััดการอย่่างถููกสุุขลัักษณะของสถานที่่ วิิธีีการขนย้้าย การพัักผลิิตผล และ/หรืือเก็็บรัักษาผลิิตผล 7) บุุคลากร ผู้้ปฏิิบััติิงานต้้องมีีความรู้้ ความเข้้าใจ หรืือได้้รัับการฝึึกอบรมสุุขลัักษณะส่่วนบุุคคล เพื่่อให้้ สามารถปฏิิบััติิงานได้้อย่่างถููกสุุขลัักษณะ และ 8) เอกสาร บัันทึึกข้้อมููล และการตามสอบ มีีบัันทึึก ข้้อมููลการใช้้สารเคมีี ประวััติิการฝึึกอบรม ข้้อมููลผู้้รัับซื้้อ ผลิิตผลการปฏิิบััติิงานก่่อนและหลัังการเก็็บเกี่่ยว และเก็็บ รัักษาข้้อมููลการปฏิิบััติิงานและเอกสารสำำคััญอย่่างน้้อย 2 ปีี ของการผลิิตติิดต่่อกัันหรืือตามที่่ลููกค้้าต้้องการ “สิ่่�งที่่�เกษตรกรจะได้้รัับจากการปลููกพืืชตามระบบ มาตรฐาน GAP คืือ ทำำ ให้้เกษตรกรมีีความรู้้ในการ ผลิิตพืืชอย่่างมีีระบบ ป้้องกัันกำำจััดศััตรููพืืชอย่่างถููกต้้อง สามารถลดต้้นทุุนการผลิิตได้้ ผลผลิิตมีคุีุณภาพ ปลอดภััย จากการปนเปื้้�อนสารเคมีี เชื้้�อโรคและศััตรููพืืช ได้้ผลผลิิต ที่่�มีีมาตรฐาน เป็็นที่่�ต้้องการของตลาด ทั้้�งในและต่่าง ประเทศ ได้้รัับการรัับรองระบบการผลิิตและผลผลิิตเป็็น ที่่�ยอมรัับ เป็็นการยกระดัับในการสร้้างมููลค่่าของผลผลิิต สร้้างความเชื่่�อมั่่�นให้้ผู้้บริิโภคได้้บริิโภคพืืชผััก ผลไม้้ที่่� ปลอดภััย ทำำให้มี้ สุีขุภาพแข็็งแรง อีีกทั้้�งยัังทำำให้้เกิิดรายได้้ จากการขายผลผลิิตที่่�ปลอดภััยอย่่างสม่ำ ำ� เสมอ เกิิดความ มั่่�นคง มั่่�งคั่่�ง และยั่่�งยืืน เกษตรกรสามารถสอบถามเพิ่่�ม เติิมได้ที่่้ สำ�ำนัักงานเกษตรอำำเภอทุุกแห่่ง” นายรพีทัีัศน์์กล่่าว นายรพีรพีีทัทััศน์น์์ อุ่่ อุ่่นจิจิิตตพัพัันธ์ธ์์


20 นายรพีีทััศน์์ อุ่่นจิิตตพัันธ์์ รองอธิิบดีีกรมส่่งเสริิม การเกษตร กล่่าวว่่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์มีีนโย บาย ติิดตามขัับเคลื่่อนการบริิหารนโยบายสิินค้้าเกษตร และบริิการมููลค่่าสููง 1 ท้้องถิ่่น 1 สิินค้้าเกษตรมููลค่่าสููง (500 ตำำบล นำำร่่อง) ซึ่่งมีีคณะทำำงานแยกตามกลุ่่มสิินค้้า จำำ นวน 3 คณะทำำงานย่่อย ประกอบไปด้้วย กลุ่่มสิินค้้า ด้้านพืืชและบริิการมููลค่่าสููง กลุ่่มสิินค้้าด้้านประมง และ กลุ่่มสิินค้้าด้้านปศุุสััตว์์ โดยกรมส่่งเสริิมการเกษตรเป็็นหน่่วยงานหลัักในการ ขัับเคลื่่อนกลุ่่มสิินค้้าด้้านพืืชและบริิการมููลค่่าสููง โดยใช้้ กลไกการสร้้างความร่่วมมืือระหว่่างภาครััฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ผลัักดัันให้้เกิิดตำำบลเกษตรมููลค่่าสููง นำำร่่อง 500 ตำำบล และเกษตรกรมีีรายได้้เพิ่่มขึ้้น 3 เท่่า ในปีี 2570 สำำ หรัับกรอบการพิิจารณาคััดเลืือกพื้้�นที่่�และสิินค้้า เกษตรมููลค่่าสููง (นำำร่่อง 500 ตำำ บล) แบ่่งเป็็น 3 กลุ่่ม ได้้แก่่ กลุ่่มที่่ 1 กลุ่่มสิินค้้าเกษตรมููลค่่าสููงเพื่่อการส่่งออก 100 ตำำบล ซึ่่งเป็็นสิินค้้าเกษตรที่่มีีการส่่งออก มีีการรวม กลุ่่มการผลิิตในรููปแบบกลุ่่มเกษตรกร สหกรณ์์ วิิสาหกิิจ ชุุมชน กลุ่่มแปลงใหญ่่ หรืือ กลุ่่มเครืือข่่าย Smart Farmer, Young Smart Farmer และเป็็นสิินค้้าที่่มีีมาตรฐานส่่ง ออก โดยกลุ่่มนี้้จะมีีแนวทางการขัับเคลื่่อน คืือ การขยาย ตลาดและขยายฐานการผลิิตในการส่่งออก กลุ่่มที่่ 2 กลุ่่มสิินค้้าเกษตรมููลค่่าสููง 100 ตำำบล ซึ่่ง เป็็นสิินค้้าเกษตรที่่มีีการรวมกลุ่่มการผลิิตในรููปแบบกลุ่่ม เกษตรกร สหกรณ์์ วิิสาหกิิจชุุมชน กลุ่่มแปลงใหญ่่ หรืือ กลุ่่มเครืือข่่าย Smart Farmer, Young Smart Farmer ที่่มีีศัักยภาพในการพััฒนาเพื่่อการส่่งออกหรืือแปรรููป เช่่น มัันสำำ ปะหลััง ข้้าวโพด สัับปะรด ข้้าว กาแฟ เป็็นต้้น โดย กลุ่่มนี้้จะมีีแนวทางการขัับเคลื่่อน คืือ พััฒนากระบวนการ ผลิิตและแปรรููป (ยกระดัับห่่วงโซ่่มููลค่่าให้้สููงขึ้้น) และ กลุ่่มที่่ 3 กลุ่่มสิินค้้าเกษตรและบริิการเชิิงสร้้างสรรค์์ 300 ตำำบล ซึ่่งมีีการผลิิตและบริิหารจััดการโดยกลุ่่ม เกษตรกร สหกรณ์์ วิิสาหกิิจชุุมชน กลุ่่มแปลงใหญ่่ หรืือ กลุ่่มเครืือข่่าย Smart Farmer, Young Smart Farmer มีีเอกลัักษณ์์โดดเด่่น เช่่น เป็็นสิินค้้า GI สมุุนไพร เกษตร อิินทรีีย์์ Functional food, Plant based เป็็นต้้น นอกจากนี้้จะต้้องเป็็นสิินค้้าสะท้้อนเอกลัักษณ์์และ เสน่่ห์์ของชุุมชน มีีแหล่่งท่่องเที่่ยวหรืืออื่่น ๆ ที่่เกี่่ยวข้้อง สามารถยกระดัับและสร้้างมููลค่่าเพิ่่มทางเศรษฐกิิจชุุมชน ได้้ โดยกลุ่่มนี้้จะมีีแนวทางการขัับเคลื่่อน คืือ สนัับสนุุน การสร้้างมููลค่่าเพิ่่มสิินค้้าเกษตร และสร้้างรายได้้ให้้กัับ เกษตรกรในท้้องถิ่่น “สำำ หรัับกลุ่่มสิินค้้าเกษตรมููลค่่าสููงเพื่่�อการส่่งออก กรมส่่งเสริิมการเกษตรได้้ประสานงานภายในกัับหน่่วย งาน ด้้านพืืช คืือ กรมการข้้าว และกรมหม่่อนไหม ให้้ คััดกรองกลุ่่มเกษตรกรแปลงใหญ่่ยกระดัับ (ปีีดำำเนิินการ กรมส่่งเสริิมการเกษตร ขัับเคลื่่�อนกลุ่่มสิินค้้าด้้านพืืช นำร่่อง 1 ท้้องถิ่่�น 1 สิินค้้าเกษตรมููลค่่าสููง


21 2559 – 2563) ที่่มีีศัักยภาพตรงตามกรอบกลยุุทธ์์การขัับ เคลื่่อน 4 แนวทาง ได้้แก่่ 1) เพิ่่มประสิิทธิิภาพการผลิิตทั้้งปริิมาณและคุุณภาพ 2) พััฒนาสิินค้้าให้้ มีีมาตรฐานรองรัับ 3) สร้้างมููลค่่าเพิ่่มให้้สิินค้้า 4) เชื่่อมโยงการตลาดและการตลาด เพื่่อนำำมาเข้้า ร่่วมดำำ เนิินการในกลุ่่มสิินค้้าเกษตรมููลค่่าสููงเพื่่อการส่่ง ออก เป้้าหมาย 100 ตำำ บล โดยในส่่วนของกรมส่่งเสริิม การเกษตรได้้ คััดเลืือก 46 ตำำบล ที่่มีีศัักยภาพเข้้าร่่วม แบ่่ง ออกเป็็น 5 ประเภท ได้้แก่่ ไม้้ผล ไม้้ ยืืนต้้น พืืชผััก ไม้้ ดอกไม้้ประดัับ และแมลงเศรษฐกิิจ” รองอธิิบดีีกรมส่่งเสริิม การเกษตร กล่่าว กรมส่่งเสริิมการเกษตรพร้้อมด้้วยหน่่วยงานในสัังกััด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ที่่ได้้ รัับมอบหมายจะร่่วมกััน บููรณาการการทำำ งานในระดัับพื้้นที่่ (ตำำ บล) โดยการส่่งเสริิมให้้เกษตรกรในพื้้นที่่สามารถวิิเคราะห์์ศัักยภาพและโอกาส วางแผนการผลิิตตลอดห่่วงโซ่่ อุุปทาน เข้้าถึึงนวััตกรรม และเทคโนโลยีีเพื่่อยกระดัับการผลิิตของกลุ่่มเกษตรกร เพิ่่มมููลค่่าของสิินค้้าเกษตรและบริิการเชิิงสร้้างสรรค์์ การบริิหารงาน และการมีส่ี่วนร่่วมในการพััฒนาเกษตรกรและ สถาบัันเกษตรกรให้มี้ ีความเข้้มแข็็ง สามารถพึ่งพาตนเองไ ่ ด้้ นำำ ไปสู่่การพััฒนาเศรษฐกิิจฐานรากของประเทศในเข้้มแข็็ง ตามหลัักเจตนารมณ์์ “ตลาดนำำ นวััตกรรมเสริิม เพิ่่�มรายได้้” อย่่างยั่่งยืืนต่่อไป. นายรพีรพีีทัทััศน์น์์ อุ่่ อุ่่นจิจิิตตพัพัันธ์ธ์์


22 ศููนย์์พัันธุุวิิศวกรรมและเทคโนโลยีีชีีวภาพแห่่งชาติิ (ไบโอเทค) สำำนัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี แห่่งชาติิ (สวทช.) ร่่วมกัับ องค์์การวิินร็็อค อิินเตอร์์ เนชั่่�นแนล และสภาเกษตรกรจัังหวััดชััยภููมิิ รวมพลััง แก้้ปััญหาโรคมัันสำำ ปะหลัังที่่�มีีการระบาดครั้้�งใหญ่่ที่่�สุุด ในปััจจุุบััน ด้้วยเหตุุนี้้ จึึงร่่วมกัันจััดการฝึึกอบรมเชิิงปฏิิบััติิการ “การตรวจโรคใบด่่างมัันสำำ ปะหลัังด้้วยชุุดตรวจ แบบ ง่่าย ทำำ ได้้ด้้วยตััวเอง” เพื่่อเสริิมสร้้างความรู้้และทัักษะ ในการใช้้เทคโนโลยีีชุุดตรวจสอบแบบรวดเร็็วในการตรวจ โรคใบด่่างมัันสำำ ปะหลััง โดยจััดขึ้้นตามการร้้องขอจากสภา เกษตรกรจัังหวััดชััยภูมิูิ และมีีเกษตรกรผู้้ปลููกมัันสำำ ปะหลััง ในจัังหวััดชััยภููมิิเข้้าร่่วมทั้้งสิ้้น 50 คน นายถาวร คััดวงษ์์ ประธานสภาเกษตรกรจัังหวััด ชััยภูมิูิ ระบุวุ่่า “สภาเกษตรกรจัังหวััดชััยภููมิิ ได้้รัับประเด็็น ปััญหาร้้องเรีียนจากเกษตรกรผู้้ปลููกมัันสำำ ปะหลัังในหลาย อำำเภอว่่ากำำลัังประสบปััญหาการระบาดของโรคใบด่่าง มัันสำำ ปะหลััง เกษตรกรบางส่่วนได้้มีีการเก็็บผลผลิิตออก จากแปลงและพบการระบาดในช่่วงอายุุไม่่เกิินสามเดืือน ซึ่่�งเกษตรกรได้้มีีการทำำลายมัันสำำ ปะหลัังที่่�เกิิดโรคแล้้ว ทั้้�งแปลง” จัังหวััดชััยภููมิิจััดเป็็นจัังหวััดที่่มีีการผลิิตมัันสำำ ปะหลััง มากเป็็นอัันดัับที่่ 4 ของประเทศไทย จากการสำำรวจข้้อมููล เบื้้องต้้นในพื้้นที่่จัังหวััดชััยภูมิูิเมื่่อเดืือนสิิงหาคม พ.ศ. 2566 ที่่ผ่่านมา พบพื้้นที่่ที่่มีีการระบาดจำำ นวน 6,714 ไร่่ ใน จัังหวััดชััยภููมิิ ซึ่่งอาจประเมิินเป็็นมููลค่่าความเสีียหายได้้ กว่่า 134 ล้้านบาท รายงานสถานการณ์์ศััตรููพืืชไร่่ โดย กองส่่งเสริิมการอารัักขาพืืชและจััดการดิินปุ๋๋�ย กรมส่่งเสริิม การเกษตร ฉบัับวัันที่่ 8 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 ระบุุ พบการระบาดในพื้้นที่่ 34 จัังหวััด รวมจำำ นวน 173,301 ไร่่ ทั้้งนี้้ ปััจจุุบัันยัังไม่่มีีวิิธีีรัักษาโรคใบด่่างมัันสำำ ปะหลััง เกษตรกรได้้รัับคำำแนะนำำ ให้้เผาทำำลายมัันสำำ ปะหลัังที่่ติิด เชื้้อเพื่่อยัับยั้้งการระบาด ไบโอเทค สวทช. ได้้พััฒนานวััตกรรมชุุดตรวจแบบ รวดเร็็วในรููปแบบ strip test ที่่มีีหลัักการทำำงานคล้้ายชุุด ตรวจโควิิด-19 ซึ่่งมีีคุุณสมบััติิที่่ใช้้งานง่่าย รู้้ผลภายใน 15 นาทีี เพื่่อคััดกรองโรคใบด่่างมัันสำำ ปะหลััง และท่่อนพัันธุ์์มััน สำำ ปะหลัังปลอดโรค โดย ดร.เกื้้�อกููล ปิิยะจอมขวััญ รอง ชุชุุดตดตรวจโรคใบ รวจโรคใบด่ด่่างมัมัันสำปะห ันสำปะหลัลััง แบบง่ง่่าย ทำไ ่าย ทำได้ด้ ้ด้ ้ ด้้วยตัตััวเอง ผลขึ้้ขึ้้น 2 ขีขีีด ติติิดโรคใบ ิดโรคใบด่ด่่างมัมัันสำสำำ ปะหลัลััง


23 ผู้้อำำนวยการศููนย์พั์ ันธุวิุิศวกรรมและเทคโนโลยีชีีีวภาพแห่่ง ชาติิ (ไบโอเทค) กล่่าวว่่า “เราคาดหวัังให้้เกษตรกรและ ผู้้เกี่่�ยวข้้อง สามารถใช้้ชุุดตรวจคััดกรองโรคใบด่่างมััน สำำ ปะหลัังได้้ด้้วยตััวเอง เพราะนัับเป็็นสิ่่�งสำำคััญที่่�ช่่วยลด ความเสี่่�ยงในการนำำท่่อนพัันธุ์์ติิดเชื้้�อไปเพาะปลููกต่่อ ช่่วย ลดความเสีียหายรุุนแรงของโรคใบด่่างต่่อห่่วงโซ่่อุุปทาน ของอุุตสาหกรรมมัันสำำ ปะหลัังของประเทศ” ดร.อรประไพ คชนัันทน์์หััวหน้้าทีีมวิิจััยการผลิิต โมโนโคลนอลแอนติิบอดีีและการประยุุกต์์ใช้้ กล่่าวเสริิม ว่่า สาเหตุุสำำคััญของการแพร่่ระบาดอย่่างรวดเร็็ว เกิิด จากการนำำท่่อนพัันธุ์์ที่่เป็็นโรคใบด่่างมัันสำำ ปะหลัังมาปลููก ในกรณีีที่่ระบาดรุุนแรงสร้้างความเสีียหายต่่อผลผลิิตได้้ถึึง 30-80 เปอร์์เซ็็นต์์ ทีีมนัักวิิจััยฯ จึึงได้้พััฒนาชุุดตรวจแบบรวดเร็็วในรููป แบบ strip test สามารถพกพาไปใช้้ในภาคสนาม โดยไม่่ ต้้องเก็็บตััวอย่่างส่่งมาตรวจยัังห้้องปฏิิบััติิการ ซึ่่งจะเป็็น ประโยชน์์อย่่างมากในการตรวจคััดกรองและเฝ้้าระวัังการ แพร่่ระบาดของโรคใบด่่างมัันสำำ ปะหลัังในประเทศไทย รวม ถึึงการตรวจหาเชื้้อในขั้้นตอนต่่าง ๆ ของกระบวนการผลิิต ต้้นพัันธุ์์มัันสำำ ปะหลัังปลอดเชื้้อ ชุุดตรวจโรคใบด่่างมัันสำำ ปะหลัังแบบภาคสนาม เป็็น หนึ่่งใน 30 เทคโนโลยีีที่่ได้้รัับการสนัับสนุุนในการขยายผล ภายใต้้โครงการเครืือข่่ายนวััตกรรมด้้านการเกษตรระดัับ ภููมิิภาค โดยกระทรวงเกษตร ประเทศสหรััฐอเมริิกา โดย นายวิิลเลี่่ยม สปาร์์คส์์ ผู้้อำำ นวยการโครงการเรน ยืืนยัันว่่า “ชุุดตรวจโรคใบด่่างมัันสำำ ปะหลััง เป็็นนวััตกรรม ที่่�ช่่วยรัักษาความสม่ำ ำ� เสมอของปริิมาณอุุปทานมััน สำำ ปะหลััง และมีีความสำำคััญต่่อทั้้�งโรงงานผลิิตแป้้ง มัันและหน่่วยงานภายรััฐ ในการที่่�จะร่่วมมืือกัันให้้ ประเทศไทยดำำรงสถานะประเทศผู้้ส่่งออกมัันสำำ ปะหลััง อัันดัับหนึ่่�งของโลกไว้้ต่่อไป”. ชุชุุดตรวจใบ ุดตรวจใบด่ด่่างมัมัันสำสำำ ปะหลัลััง รูรููปแบบ strip test ูปแบบ strip test การใช้ช้้เหรีรีียญขูขููดใบด่ด่่างที่่นำที่่นำำ มาทดสอบใ มาทดสอบให้ห้้ละเอีอีียดที่่สุที่่สุุด นันัักวิวิิชาการ สวทช. สอนการใ ิชาการ สวทช. สอนการใช้ช้้ชุชุุดตรวจ ทีทีีมวิวิิจัจััยไบโอเทค workshop การใ ัยไบโอเทค workshop การใช้ช้้งานชุชุุดตรวจ


24 สนค.วิิเคราะห์์ตลาด “สมุุนไพรว่่านหางจระเข้้” พบ ผลิิตภััณฑ์์เปิิดตััวใหม่ทั่่่ �วโลก มีสิีินค้้าที่่มี�ส่ี่วนผสมของว่่าน หางจระเข้้เพิ่่�มขึ้้�นมาก ทั้้�งน้ำ ำ� ผลไม้้ ผลิิตภััณฑ์์ดููแลสุขุภาพ และผลิิตภััณฑ์์นม หากดููเฉพาะไทย ส่่วนใหญ่ผลิ่ ิตน้ำ ำ� ผลไม้้ อาหารสััตว์์ ขนมขบเคี้้�ยว ผลิิตภััณฑ์์ดููแลผิิว ผลิิตภััณฑ์์ อาบน้ำ ำ� และสบู่่ และเครื่่�องสำำอาง แนะรััฐบาลช่่วยส่่ง เสริิมการแปรรููปเป็็นสารสกััด เพิ่่�มโอกาสในการทำำตลาด และส่่งออก นายพููนพงษ์์ นััยนาภากรณ์์ ผู้้อำำนวยการสำำนัักงาน นโยบายและยุุทธศาสตร์์การค้้า (สนค.) กระทรวงพาณิิชย์์ เปิิดเผยว่่า สนค. ได้ศึึ้กษาข้้อมููลสมุุนไพรว่่านหางจระเข้้ ซึ่ง่ เป็็นสมุุนไพรที่่มีีสรรพคุุณมากมาย พบว่่า ไทยมีจุีุดแข็็งและ มีีโอกาสในการพััฒนาได้้อีีกมาก เพราะเป็็นที่่ยอมรัับและมีี การใช้้อย่่างแพร่่หลายทั่่วโลก และคณะกรรมการนโยบาย สมุุนไพรแห่่งชาติิ ก็็ยัังได้้กำำ หนดให้้ว่่านหางจระเข้้อยู่่ใน กลุ่่มสมุุนไพรที่่มีีศัักยภาพในการผลัักดัันให้้เป็็น Herbal Champion หรืือ สมุุนไพรที่่มีีศัักยภาพทางเศรษฐกิิจสููง ของไทยในปีี 2565 โดย สนค. ได้้ศึึกษาฐานข้้อมููลผลิิตภััณฑ์์เปิิดตััวใหม่่ ทั่่วโลก GNPD (Global New Products Database) รวบรวมโดยบริิษััทวิิจััยตลาด Mintel พบว่่า ในช่่วงปีี 2561–2566 มีีการรายงานผลิิตภััณฑ์์ที่่มีีส่่วนผสมของว่่าน หางจระเข้้ เฉพาะที่่รัับประทานได้้ จำำ นวน 2,581 รายการ กลุ่่มผลิิตภััณฑ์์ที่่มีีว่่านหางจระเข้้เป็็นส่่วนผสมมากที่่สุุด 3 อัันดัับแรก คืือ 1. น้ำำผลไม้้ (Juice Drinks) 1,193 รายการ ร้้อยละ 46.2 ของจำำนวนผลิิตภััณฑ์์ทั้้งหมด 2. ผลิิตภััณฑ์์ดููแลสุุขภาพ (Healthcare) 456 รายการ ร้้อยละ 17.7 และ 3. ผลิิตภััณฑ์์นม (Dairy) 231 รายการ ร้้อยละ 9.0 โดยมีีแหล่่งผลิิตสำำคััญ 3 อัันดัับแรก ได้้แก่่ 1.เกาหลีีใต้้ 308 รายการ ร้้อยละ 11.9 ของจำำนวน ผลิิตภััณฑ์์ทั้้งหมด 2. ไทย 119 รายการ ร้้อยละ 4.6 และ 3. จีีน 116 รายการ ร้้อยละ 4.5 และหากพิิจารณาเฉพาะผลิิตภััณฑ์์ที่่ผลิิตจากไทย ส่่วน ใหญ่่อยู่่ในกลุ่่มน้ำำผลไม้้ 94 รายการ ร้้อยละ 79.0 ของ จำำนวนผลิิตภััณฑ์์ที่่ผลิิตจากไทย รองลงมา ได้้แก่่ อาหาร สััตว์์ 9 รายการ และขนมขบเคี้้ยว 5 รายการ ตามลำำดัับ ส่่วนตลาดที่่มีีการวางจำำหน่่ายผลิิตภััณฑ์์ที่่มีีส่่วนผสม สมุุนไพรว่่านหางจระเข้้ ทั่่ ทั่่�วโลลกเปิปิิ ดตัิดตััวสิสิินค้ค้้าใหม่ม่่ ไทยมีมีีโอกาสส่ส่่งออก


25 ของว่่านหางจระเข้้มากที่่สุุด 3 อัันดัับแรก คืือ 1. เกาหลีีใต้้ 218 รายการ ร้้อยละ 8.4 ของจำำนวนผลิิตภััณฑ์์ทั้้งหมด 2. อิินเดีีย 195 รายการ ร้้อยละ 7.6 และ 3.ญี่่ปุ่่�น 135 รายการ ร้้อยละ 5.2 สำำหรัับกลุ่่มเครื่่องสำำอางและผลิิตภััณฑ์์ดููแลร่่างกาย (Beauty & Personal Care) ซึ่่งเป็็นกลุ่่มสิินค้้าที่่นิิยมใช้้ ว่่านหางจระเข้้เป็็นส่่วนผสม พบว่่า ในช่่วงปีี 2561–2566 มีีการรายงานผลิิตภััณฑ์์ที่่มีีส่่วนผสมของว่่านหางจระเข้้ รวมจำำ นวน 127,866 รายการ โดยผลิิตภััณฑ์์กลุ่่มเครื่่องสำำอาง ที่่มีว่ี่านหางจระเข้้เป็็น ส่่วนผสมมากที่่สุุด 3 อัันดัับแรก คืือ 1. ผลิิตภััณฑ์์ดููแลผิิว (Skincare) 62,281 รายการ ร้้อยละ 48.7 ของจำำนวน ผลิิตภััณฑ์์กลุ่่มเครื่่องสำำอาง 2. ผลิิตภััณฑ์์สำำหรัับอาบน้ำำและสบู่่ (Soap & Bath) 19,394 รายการ ร้้อยละ 15.2 และ 3. ผลิิตภััณฑ์์สำำหรัับเส้้นผม (Hair Products) 18,562 รายการ ร้้อยละ 14.5 โดยมีีแหล่่งผลิิตสำำคััญ 3 อัันดัับแรก ได้้แก่่ 1. จีีน 13,261 รายการ ร้้อยละ 10.4 ของจำำนวน ผลิิตภััณฑ์์กลุ่่มเครื่่องสำำอาง 2. สหรััฐฯ 13,024 รายการ ร้้อยละ 10.2 และ 3.เกาหลีีใต้้ 7,497 รายการ ร้้อยละ 5.9 ไทยเป็็นแหล่่งผลิิตสำำคััญอัันดัับที่่ 10 โดยมีีจำำนวน ผลิิตภััณฑ์์กลุ่่มเครื่่องสำำอาง 3,669 รายการ ร้้อยละ 2.9 ส่่วนใหญ่่อยู่่ในกลุ่่มผลิิตภััณฑ์์ดููแลผิิว 2,038 รายการ ร้้อย ละ 55.5 ของจำำนวนผลิิตภััณฑ์์กลุ่่มเครื่่องสำำอาง ที่่ผลิิต จากไทย รองลงมา คืือ ผลิิตภััณฑ์์สำำหรัับอาบน้ำำและสบู่่ 615 รายการ และเครื่่องสำำอาง (Colour Cosmetics) 416 รายการ ตามลำำดัับ ส่่วนตลาดที่่มีีการวางจำำหน่่ายผลิิตภััณฑ์์กลุ่่มเครื่่อง สำำอาง ที่่มีีว่่านหางจระเข้้เป็็นส่่วนผสมมากที่่สุุด 3 อัันดัับ แรก คืือ 1.สหรััฐฯ 11,244 รายการ ร้้อยละ 8.8 ของ จำำนวนผลิิตภััณฑ์์กลุ่่มเครื่่องสำำอาง 2.จีีน 6,751 รายการ ร้้อยละ 5.3 และ 3.บราซิิล 6,438 รายการ ร้้อยละ 5.0 “ผลิิตภััณฑ์์จากสมุุนไพรไทยมีีศัักยภาพมีีโอกาสที่่จะ พััฒนาไปได้้อีีกไกล แต่่การยกระดัับการพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ สมุุนไพรไทยยัังเผชิิญความท้้าทายอยู่่มาก ทั้้งกฎหมายกฎ ระเบีียบภายในประเทศ โดยเฉพาะการแปรรููปเป็็นสาร สกััดสมุุนไพรที่่ยัังมีีต้้นทุุนสููง ทำำ ให้้สารสกััดสมุุนไพรไทย ไม่่สามารถแข่่งขัันด้้านราคากัับสารสกััดที่่นำำเข้้าจากต่่าง ประเทศซึ่่งสารสกััดสมุุนไพรเป็็นวััตถุุดิิบสำำคััญนำำ ไปใช้้ต่่อ เนื่่องในหลากหลายอุุตสาหกรรม หากรััฐบาลมีีมาตรการ ส่่งเสริิมการผลิิตสารสกััดสมุุนไพรในประเทศ จะทำำ ให้้ ผลิิตภััณฑ์์สมุุนไพรไทยเติิบโตและแข่่งขัันได้้ในตลาดโลก อย่่างแข็็งแกร่่งยิ่่งขึ้้นอีีกทั้้งยัังช่่วยสร้้างรายได้้ให้้เกษตรกร ผู้้ปลููกสมุุนไพรโดยตรง”นายพููนพงษ์์กล่่าว ปััจจุุบัันไทยมีีพื้้�นที่่�ปลููกว่่านหางจระเข้้ทั่่�วประเทศ ประมาณ 10,000 ไร่่ และมากกว่่าร้้อยละ 95 ของ พื้้�นที่่�ปลููกอยู่่ในจัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์ รองลงมา คืือ กาญจนบุุรีี และเพชรบุุรีี มีีผลผลิิตรวมทั่่�วประเทศกว่่า 1.1 แสนตััน ผลผลิิตส่่วนใหญ่่ใช้้ภายในประเทศ สำำ หรัับ การนำำ เข้้าส่่งออกมีีไม่่มาก โดยข้้อมููลจากใบขนสิินค้้าของ กรมศุุลกากร พบว่่า ไทยนำำ เข้้าในรููปแบบผงเกืือบทั้้�งหมด โดยปีี 2565 ไทยนำำ เข้้าผงว่่านหางจระเข้้ 2,161 กิิโลกรััม นำำ เข้้าจากสหรััฐฯ และส่่งออกในรููปแบบอบแห้้ง โดยปีี 2565 ไทยส่่งออกว่่านหางจระเข้้อบแห้้ง 420 กิิโลกรััม โดยส่่งออกไปคููเวต และโอมาน อย่่างไรก็็ตาม ว่่านหางจระเข้้มีีการนำำ ไปแปรรููปเป็็น สารสกััด และใช้้เป็็นส่่วนผสมในผลิิตภััณฑ์์ต่่าง ๆ ได้้หลาย อุุตสาหกรรม เช่่น อาหารและเครื่่องดื่่ม เครื่่องสำำอาง ผลิิตภััณฑ์์เสริิมอาหาร และยา แต่่การเก็็บข้้อมููลการส่่งออก ผลิิตภััณฑ์์ที่่มีส่ี่วนผสมของสมุุนไพรมีข้ี้อจำำกััด เนื่่องจากไม่มี่ ี พิกัิัดศุุลกากรที่่จะจำำ แนกออกมาได้้ ดัังนั้้น การดูขู้้อมููลสถิติิ การค้้าระหว่่างประเทศของพืืชสมุุนไพร จึึงไม่่ครอบคลุุม มููลค่่าการส่่งออกของผลิิตภััณฑ์์สมุุนไพร ส่่วนสรรพคุุณของว่่านหางจระเข้้ จากบทความ วิิชาการ เรื่่อง “Aloe vera: Ancient knowledge with new frontiers” ตีีพิิมพ์์ในวารสาร Trends in Food Science & Technology เมื่่อปีี 2560 กล่่าวถึึง สรรพคุุณ หลัักของว่่านหางจระเข้้หลายประการ ได้้แก่่ 1. การรัักษา บาดแผลและอาการบาดเจ็็บที่่ผิิวหนััง 2. การต่่อต้้านการ อัักเสบ 3. เป็็นยาระบาย และ 4. มีีสารต้้านอนุุมููลอิิสระ จากสรรพคุุณที่่กล่่าวมา ว่่านหางจระเข้้ จึึงถููกนำำ ไปใช้้ เป็็นส่่วนผสมในหลากหลายผลิิตภััณฑ์์ เช่่น อาหารฟัังก์์ชััน ผลิิตภััณฑ์์เสริิมอาหาร เครื่่องสำำอาง และครีีมเจลบำำรุุงผิิว บริิษััทวิิจััยตลาด Euromonitor International รายงานข้้อมููลการค้้าปลีีกผลิิตภััณฑ์์สมุุนไพรในตลาด โลก พบว่่าในปีี 2565 มีีมููลค่่า 56,104.1 ล้้านเหรีียญ สหรััฐ ขยายตััวร้้อยละ 9.2 ประเทศที่่�มีีมููลค่่าการค้้าปลีีก ผลิิตภััณฑ์์สมุุนไพรสููงสุุด 3 อัันดัับแรก ได้้แก่่ 1.จีีน มููลค่่า 18,633.2 ล้้านเหรีียญสหรััฐ ขยายตััวร้้อยละ 13.0 คิิด เป็็นสััดส่่วนร้้อยละ 33.2 ของมููลค่่าการค้้าปลีีกผลิิตภััณฑ์์ สมุุนไพรในตลาดโลก 2.สหรััฐฯ มููลค่่า 8,545.0 ล้้าน เหรีียญสหรััฐ ขยายตััวร้้อยละ 8.3 คิิดเป็็นสััดส่่วนร้้อย ละ 15.2 และ 3.ญี่่�ปุ่่น มููลค่่า 3,420.9 ล้้านเหรีียญสหรััฐ ขยายตััวร้้อยละ 1.5 คิิดเป็็นสััดส่่วนร้้อยละ 6.1 สำำ หรัับไทย ตลาดการค้้าปลีีกผลิิตภััณฑ์์สมุุนไพรมีี มููลค่่า 1,534.6 ล้้านเหรีียญสหรััฐ ขยายตััวร้้อยละ 8.3 คิิดเป็็นสััดส่่วนร้้อยละ 2.7 โดยไทยมีีมููลค่่าการค้้าปลีีก ผลิิตภััณฑ์์สมุุนไพรอยู่่ในอัันดัับที่่� 8 ของโลก.


26 กลุ่่มมิิตรผล คว้้ารางวััลผู้้ประกอบธุุรกิิจส่่งออกดีี เด่่น Prime Minister’s Export Award 2023 ประเภท รางวััลธุุรกิิจ BCG ส่่งออกยอดเยี่่�ยม จากกรมส่่งเสริิม การค้้าระหว่่างประเทศ กระทรวงพาณิิชย์์ มุ่่งเน้้นสร้้าง การพััฒนาเพื่่�อความยั่่�งยืืน พร้้อมขัับเคลื่่�อนสู่่องค์์กร Net Zero กลุ่่มมิิตรผล ผู้้นำำด้้านความยั่่งยืืนในอุุตสาหกรรม อาหารอัันดัับ 2 ของโลก โดย นายบรรเทิิง ว่่องกุุศล กิิจ ประธานกรรมการบริิษััทและประธานคณะกรรมการ บริิหาร กลุ่่มมิิตรผล รัับรางวััล ผู้้ประกอบธุุรกิิจส่่งออกดีี เด่่น Prime Minister’s Export Award 2023 ประเภท รางวััลธุรกิุจิ BCG ส่่งออกยอดเยี่่�ยม ประจำำปีี 2566 จาก กรมส่่งเสริิมการค้้าระหว่่างประเทศ กระทรวงพาณิิชย์์ ซึ่่ง เป็็นรางวััลที่่แสดงถึึงคุุณภาพและมาตรฐานของสิินค้้าไทย ในตลาดโลก ภายใต้้หลัักแนวคิิด BCG Economy โดยมีี นายเศรษฐา ทวีีสิิน นายกรััฐมนตรีี เป็็นผู้้มอบรางวััล ณ ตึึกสัันติิไมตรีี ทำำเนีียบรััฐบาล เมื่่อเร็็วๆ นี้้ กลุ่่มมิิตรผล ได้้รัับรางวััลดัังกล่่าวจากการดำำเนิินงาน ของอุุทยานมิิตรผลด่่านช้้าง จัังหวััดสุุพรรณบุุรีี ซึ่่งเป็็น คอมเพล็็กซ์์แห่่งแรกของประเทศไทยที่่มีีความเป็็นกลาง ทางคาร์์บอน (Carbon Neutrality Complex) รวมทั้้ง เป็็นแหล่่งผลิิตและพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ภายใต้้หลััก BCG จาก ผลผลิิตทางการเกษตร ด้้วยแนวคิิด “เปลี่่�ยนแปลงสิ่่�งที่่�ไร้้ค่่าให้้เป็็นสิ่่�งที่่� มีีคุุณค่่า หรืือ From Waste to Value Creation” ตั้้งแต่่โรงงานน้ำำตาล ซึ่่งหมุุนเวีียนใช้้ทรััพยากรที่่เหลืือจาก กระบวนการผลิิต สู่่การผลิิตพลัังงานทดแทน (Renewable Energy) ประเภทไฟฟ้้าชีีวมวลและเอทานอล การผลิิตปุ๋๋�ย คุุณภาพสููง รวมถึึงผลิิตภััณฑ์์ชีีวภาพ (Bio-based) เช่่น พลาสติิกสลายตััวได้้ทางชีีวภาพ และกลุ่่มผลิิตภััณฑ์์เสริิม อาหาร เป็็นต้้น ซึ่่งเป็็นผลิิตภััณฑ์์ทางเลืือกใหม่่ที่่กำำลัังเป็็นที่่ต้้องการ ของตลาดในปััจจุบัุัน ทั้้งนี้้ การดำำเนิินงานภายใต้้หลััก BCG ของกลุ่่มมิิตรผล ถืือเป็็นองค์์ประกอบสำำคััญในการมุ่่งสู่่การ เป็็นองค์์กร Net Zero ในปีี 2050 พร้้อมร่่วมสร้้างคุุณค่่า ที่่สมดุุลให้้กัับเศรษฐกิิจ สัังคม และสิ่่งแวดล้้อมอย่่างยั่่งยืืน บุุคคลในภาพ (ซ้้าย – ขวา) 1. นายเศรษฐา ทวีีสิิน นายกรััฐมนตรีี 2. นายบรรเทิิง ว่่องกุุศลกิจิ ประธานกรรมการบริษัิัท และประธานคณะกรรมการบริิหาร กลุ่่มมิิตรผล กลุ่่มมิติรผล คว้้ารางวัลผู้ั ประกอบ ้ ธุุรกิิจส่่งออกดีีเด่่น Prime Minister’s Export Award 2023 ประเภทรางวััลธุุรกิิจ BCG ส่่งออกยอดเยี่่�ยม


27 “ปลาสวยงาม” เป็็นสััตว์์เลี้้ยงที่่ได้้รัับความนิิยมเป็็น อย่่างมาก เนื่่องจากปััจจุุบัันเทรนด์์ของกลุ่่มลููกค้้าผู้้นิิยม เลี้้ยงสััตว์์เลี้้ยงทั่่วโลกหัันมาเลืือกสััตว์น้ำ์ ำสวยงาม เนื่่องจาก เลี้้ยงง่่าย ใช้้พื้้นที่่จำำกััด และราคาไม่่แพง ปลาสวยงามจึึง เป็็นตััวเลืือกอัันดัับต้้นๆ ที่่ได้้รัับความนิิยมจากกลุ่่มผู้้เลี้้ยง ทั้้งในและต่่างประเทศ ซึ่งนอกจาก่จุุดเด่่นจะอยู่่ที่่เลี้้ยงดููแล ง่่าย ผู้้เลี้้ยงยัังสามารถเพลิิดเพลิินไปกัับการตกแต่่งตู้้ด้้วย การจำำลองระบบนิิเวศใต้้น้ำำ ให้้ใกล้้เคีียงกัับธรรมชาติิได้้ใน แบบที่่เราต้้องการ ทำำ ให้้ผู้้เลี้้ยงได้้ใกล้้ชิิดกัับธรรมชาติิมาก ยิ่่งขึ้้น เหมาะกัับวิิถีีชีีวิิตผู้้คนในยุุคมิิลเลนเนีียม นายประพัันธ์์ ลีีปายะคุณ รองอุธิิบดีีกรมประมง กล่่าว ว่่า ปััจจุุบัันปลาสวยงามของประเทศไทยได้้รัับการยอมรัับ ในตลาดโลกเป็็นอย่่างมาก ทั้้งในด้้านความหลากหลายของ สายพัันธุ์์ ความสวยงาม แปลกใหม่่ ราคาไม่่แพงเมื่่อเปรีียบ เทีียบกัับคู่่แข่่ง อีีกทั้้งประเทศไทยยัังมีีการผลัักดัันให้ผู้้ ้เพาะ เลี้้ยงปลาสวยงามเข้้าสู่่มาตรฐานฟาร์์มเพื่่อควบคุุมคุุณภาพ และการกัักกัันโรคของปลาสวยงามในการส่่งออกให้้เป็็น ที่่ยอมรัับและได้้รัับความเชื่่อมั่่นจากผู้้ค้้าทั่่วโลกมากยิ่่งขึ้้น อัันจะเห็็นได้้จากมููลค่่าการส่่งออกในแต่่ละปีที่่มากกว่่า 700 ล้้านบาท โดยประเทศไทยเป็็นประเทศผู้้ส่่งออกอัันดัับ 5 ของโลกมีีส่่วนแบ่่งในตลาดโลกร้้อยละ 7.38 นอกจากนี้้ด้้านการอนุรัุักษ์์ กรมประมงสามารถพััฒนา เทคนิิคการเพาะขยายพัันธุ์์ปลาสวยงามพื้้นเมืืองของไทย ได้้เป็็นผลสำำเร็็จหลากหลายสายพัันธุ์์ อาทิิ ปลาปล้้องอ้้อย ปลาซิิวข้้างขวาน ปลาก้้างพระร่่วง ปลารากกล้้วย เป็็นต้้น และมีีนโยบายในการถ่่ายทอดเทคโนโลยีีด้้านการ เพาะเลี้้ยงให้้เกษตรกรได้้มีีการเพาะเลี้้ยงเพื่่อการส่่งออก ไปจำำหน่่ายยัังต่่างประเทศ เพื่่อผลัักดัันธุุรกิิจปลาสวยงาม ควบคู่่ไปกัับการใช้้ประโยชน์์อย่่างยั่่งยืืน โดยการปลููกสร้้าง จิิตสำำนึึกในการอนุุรัักษ์์สััตว์์น้ำำพื้้นเมืืองของไทยไม่่ให้้สููญ พัันธุ์์ไปจากแหล่่งน้ำำธรรมชาติิ นางอรุุณีี รอดลอย ผู้้เชี่่ยวชาญด้้านสััตว์์น้ำำและ พรรณไม้้น้ำำสวยงาม กล่่าวเพิ่่มเติิมว่่า ปลาสวยงามไทย เป็็นปลาที่่ตลาดยัังคงต้้องการอย่่างต่่อเนื่่อง โดยจากการ สำำรวจความต้้องการของตลาดพบว่่าปลาสวยงามที่่ได้้รัับ ความนิิยม ได้้แก่่ 1. ปลากััด : ปลาสวยงามที่่มีีปริิมาณการส่่งออกสููง เป็็นอัันดัับ 1 ของประเทศ ได้้รัับความนิิยมในตลาดต่่าง ชาติิ จนกลายเป็็นอีีกหนึ่่งทููตวััฒนธรรมที่่สร้้างชื่่อเสีียงให้้ กัับประเทศไทยซึ่่งเป็็นแหล่่งผลิิตปลากััดใหญ่่ที่่สุุดในโลก โดยผลิิตและส่่งออกปลากััดไปกว่่า 80 ประเทศทั่่วโลก อาทิิ สหรััฐอเมริิกา ฝรั่่งเศส สิิงคโปร์์ จีีน อิิหร่่าน ฯลฯ ปริิมาณ การส่่งออกปลากััดเฉลี่่ยมากกว่่า 20 ล้้านตััวต่่อปีี สร้้างราย ได้้ให้้ประเทศปีีละกว่่า 200 ล้้านบาท จุุดเด่่นของปลากััดไทยที่่ได้้รัับความนิิยมจากทั่่วโลก คืือ มีีลัักษณะของครีีบหางที่่มีีความหลากหลายทั้้งครีีบสั้้น เปิดิ กระแส 5 ลิิสต์์ปลาสวยงามไทย ดัังไกลทั่่�วโลก


28 และครีีบยาวหางแบบพระจัันทร์์ครึ่งดวง (Halfmoon) หาง ่ มงกุุฎ (Crowtail) 2 หาง (Doubletail) หรืือที่่มีีครีีบหููใหญ่่ เช่่น หููช้้าง (Bigears/Dumbo) รวมไปถึึงสีีสัันที่่มีีความ สวยงามฉููดฉาดสะดุุดตา อีีกทั้้งยัังใช้พื้้ ้นที่่น้้อย เลี้้ยงง่่าย จึึง เหมาะสำำหรัับคนที่่ไม่ค่่อยมีีเวลาดููแล ปััจจุบัุันเกษตรกรไทย ได้้มีีการพััฒนาสายพัันธุ์์ให้้แปลกใหม่่ สวยงาม โดยเฉพาะ สีีสัันที่่สามารถเลืือกเพาะปลาให้้มีีสีีตามที่่ต้้องการได้้ ยก ตััวอย่่าง ปลากััดสีีธงชาติิ ซึ่่งนอกจากจะมีีสีีขาว น้ำำเงิิน แดง อยู่่ในตััวเดีียวกััน ยัังสามารถทำำ ให้้สีีเรีียงต่่อกัันคล้้าย ธงชาติิไทยได้้อีีกด้้วย 2. ปลาหางนกยููง : ปลาสวยงามที่่ได้้รัับความนิิยม เลี้้ยงกัันแพร่่หลายทั้้งตลาดทั้้งภายในประเทศและต่่าง ประเทศ เป็็นปลาที่่มีีสีีสัันสวยงาม ราคาไม่่แพง เลี้้ยงง่่าย โตไว แพร่่พัันธุ์์ได้้ง่่าย ออกลููกเป็็นตััว ผู้้เลี้้ยงนิิยมนำำมา เลี้้ยงในตู้้พรรณไม้น้ำ้ ำมีีปริิมาณการส่่งออกอัันดัับต้้นๆ และ มีีมููลค่่าการส่่งออกเพิ่่มขึ้้นอย่่างต่่อเนื่่องในทุุกๆ ปีี โดยสายพัันธุ์์ที่่ได้้รัับความนิิยมในปััจจุุบัันมีีประมาณ 5 สายพัันธุ์์ ได้้แก่่ สายพัันธุ์์ Cobra (คอบร้้า) Tuxedo (ทัักซิิโด้้) Mosaic (โมเสค) Grass (กร๊๊าซ) และ Albino Solid (เช่่น Full Red) ปััจจุบัุันเกษตรกรไทยได้มี้ ีการพััฒนา สายพัันธุ์์ปลาเหล่่านี้้ให้มี้ลัีักษณะสวยงาม แข็็งแรง สมส่่วน ครีีบหางใหญ่่ และที่่สำำคััญมีสีี สัีันลวดลายตรงตามสายพัันธุ์์ รวมทั้้งมีีการพััฒนาให้้มีีสายพัันธุ์์ใหม่่ อาทิิ ปลาหางนกยููง หููช้้าง (Bigears Goppy) 3. ปลาซิิวข้้างขวาน : ปลาสวยงามทางเศรษฐกิิจอีีก ชนิิดที่่ได้้รัับความนิิยมอัันดัับต้้นๆ จากผู้้เลี้้ยง ปลาสวยงาม โดยส่่วนใหญ่่นิิยมนำำมาเลี้้ยงในตู้้พรรณ ไม้้น้ำำ เนื่่องจากปลาชนิิดนี้้มีีลัักษณะสวยงามและสะดุุดตา ตรงลำำตััวที่่มีีแถบสีีดำำคล้้ายรููปขวาน เหนืือครีีบท้้องยาว จรดโคนหาง อีีกทั้้งยัังเป็็นปลาที่่มีีขนาดเล็็ก ชอบว่่ายน้ำำ รวมกัันเป็็นฝููง มีสีี สัีันสวยงาม เมื่่อนำำ ไปเลี้้ยงในตู้้พรรณไม้้ น้ำำจะทำำ ให้ตู้้ ้ ไม้น้ำ้ ำ โดดเด่่นมากยิ่่งขึ้้น จึึงทำำ ให้้เป็็นที่่ต้้องการ ของตลาด มีีมููลค่่าการส่่งออกปีีละเกืือบ 1 ล้้านตััว รวม มููลค่่าประมาณ 3.5 ล้้านบาท/ปีี และยัังคงมีีแนวโน้้มสููง ขึ้้นอย่่างต่่อเนื่่อง โดยสายพัันธุ์์ที่่ได้้รัับความนิิยมมีี 2 ชนิิด ได้้แก่่ 1.ซิิวี ข้้างขวานเล็็ก 2.ซิิวข้้างขวานใหญ่่ เป็็นปลาที่่พบได้้มาก ทางภาคใต้้ ในแถบจัังหวััดตรััง พััทลุุง และถููกจัับจาก ธรรมชาติิขึ้้นมาเพื่่อส่่งออกจำำหน่่ายทั่่วโลก ส่่งผลให้้ปลา ซิิวข้้างขวานในธรรมชาติิมีีจำำนวนลดน้้อยลง ปััจจุุบัันกรม ประมงสามารถเพาะพัันธุ์์ปลาซิิวข้้างขวานเพื่่อปล่่อยคืืนสู่่ ธรรมชาติสำิำเร็็จพร้้อมพร้้อมถ่่ายทอดองค์์ความรู้้สู่่เกษตรกร เพื่่อผลัักดัันให้้เป็็นปลาเศรษฐกิิจเพื่่อทดแทนการจัับจาก ธรรมชาติิ


29 4. ปลาก้้างพระร่่วีง : ปลาสวยงามพื้้นเมืืองไทยที่่ ได้้รัับความนิิยมในตลาดโลกเป็็นอย่่างมาก จััดเป็็นปลา สวยงามที่่ถููกจัับขึ้้นมาใช้้ประโยชน์์จากธรรมชาติิและส่่ง ออกปีีละมากกว่่า 1 ล้้านตััว สร้้างรายได้้เข้้าประเทศปีีละ ไม่่ต่ำำกว่่า 8.7 ล้้านบาท ด้้วย ลัักษณะที่่เด่่นแตกต่่างจาก ปลาทั่่วไปโดยจุุดเด่่นจะอยู่่ที่่ลำำตััวใสเหมืือนกระจกสามารถ มองทะลุุเห็็นก้้างกลางลำำตััว ปลาก้้างพระร่่วงจึึงมีชื่่ ีอสามััญ ว่่า Glass catfish ปััจจุุบัันผลผลิิตปลาก้้างพระร่่วงได้้มา จากการรวบรวมจากธรรมชาติิเพีียงอย่่างเดีียวโดยพบได้้ใน ภาคตะวัันออก และภาคใต้้ของประเทศไทย โดยกรมประมง สามารถเพาะพัันธุ์์ได้้แต่ยั่ ังมีอัีัตราการอดไม่สูู่งมาก ปััจจุบัุัน กรมประมงได้้ถ่่ายทอดองค์์ความรู้้ให้้กัับเกษตรกรให้้มีี การเพาะเลี้้ยงเพื่่อการส่่งออก และกรมประมงมีีการอนุรัุักษ์์ โดยกำำ หนดแผนการใช้้ประโยชน์์ทรััพยากรปลาก้้างพระร่่วง ได้้อย่่างยั่่งยืืนโดยภาคประชาชนมีีส่่วนร่่วม 5. ปลาทอง : เป็็นปลาสวยงามได้้รัับความนิิยมเป็็น อย่่างมากทั้้งในประเทศและต่่างประเทศ โดยเฉพาะในบ้้าน เราที่่นิิยมเลี้้ยงเป็็นปลาสวยงามสวยงามทั้้งประดัับตกแต่่ง สถานที่่ บางรายยัังเลี้้ยงเพื่่อเสริิมฮวงจุ้้ยตามความเชื่่อที่่ ว่่าจะช่่วยเรีียกเงิินเรีียกทองให้้กัับผู้้เลี้้ยง และด้้วยลัักษณะ ลำำตััวและสีีสัันที่่ต่่างกัันเมื่่อว่่ายอยู่่ในตู้้ มองแล้้วดููแล้้ว สวยงามสบายตา มีีชีีวิิตชีีวา ทำำ ให้้ผู้้เลี้้ยงผ่่อนคลาย จึึง ทำำ ให้้ตลาดมีีความต้้องการเป็็นอย่่างมาก ปััจจุุบัันปลาทอง เป็็นปลาสวยงามอีีกหนึ่่งชนิิดที่่มีีมููลค่่าการส่่งออกสููงอยู่่ใน อัันดัับต้้นๆ ประเทศไทย เป็็นแหล่่งผลิิตปลาทองส่่งออกที่่ สำำคััญ มีีพื้้นที่่เลี้้ยงส่่วนใหญ่่อยู่่ในจัังหวััดราชบุุรีี เกษตรกรผู้้เพาะเลี้้ยงปลาทองไทยสามารถพััฒนา สีีสัันปลาทองให้้มีีความสวยงามแปลกใหม่่ได้้อยู่่เสมอ เช่่น ปลาทองคาริิโคะ (Calico goldfish) ปลาทองลายเสืือ (Tiger goldfish) ปลาทอง Oranda ShortTail เป็็นต้้น ประเทศไทย นัับเป็็นแหล่่งผลิิตปลาสวยงามที่่มีีการ ผลิิตเพื่่อการส่่งออกเป็็นอัันดัับต้้นๆ ของโลก ซึ่่งนอกจาก การพััฒนาสายพัันธุ์์ปลาให้้สวยงาม แปลกใหม่่เพื่่อกระตุ้้น ความต้้องการของตลาดอย่่างต่่อเนื่่อง กรมประมงยัังให้้ ความสำำคััญกัับการผลัักดัันให้้เกษตรกรสร้้างมาตรฐานใน การผลิิตสิินค้้าด้้วย อาทิิ มาตรฐาน GAP และสถาน ประกอบการเพาะเลี้้ยงสััตว์์น้ำำเพื่่อการส่่งออก (สอ.3) ซึ่่ง จะเฝ้้าระวัังเรื่่องโรงปลาสวยงามที่่เป็็นข้้อกำำ หนดในการนำำ เข้้าจากประเทศคู่่ค้้า เพื่่อเป็็นการสร้้างโอกาสทางการขาย ให้กั้ับปลาสวยงามให้ลูู้กค้้าเชื่่อมั่่นว่่า ปลาสวยงามไทยสวย การัันตีีด้้วยมาตรฐานที่่ได้้รัับการยอมรัับในตลาดโลก สำำ หรัับผู้้สนใจสอบถามการขอขึ้้�นทะเบีียนหรืือ มาตรฐานหรืือปรึึกษาเกี่่�ยวกัับการเลี้้�ยงปลาสวยงาม สามารถสอบถามเพิ่่�มเติิมได้้ที่่� กลุ่่มวิิจััยและพััฒนาการ เพาะเลี้้�ยงสััตว์์น้ำ ำ� สวยงามและพรรณไม้้น้ำ ำ� กรมประมง เบอร์์โทรศััพท์์ 02–579-1862 และสามารถติิดตาม ข่่าวสารด้้านการเพาะพัันธุ์์สััตว์น้ำ์ ำ� สวยงามและกิจิกรรมที่่� เกี่่�ยวข้้องได้ที่่้� Facebook page: กลุ่่มวิจัิัยและพััฒนาการ เพาะเลี้้�ยงสััตว์์น้ำ ำ� สวยงามและพรรณไม้้น้ำ ำ�.


30 กรมประมง ชวนใช้้งานระบบจำำหน่่ายพัันธุ์์สััตว์น้ำ์ ำ�ออนไลน์์ “FisheriesFry Shop” Pre–order สั่่�งจองลููกพัันธุ์์สััตว์น้ำ์ ำ� ล่่วงหน้้าผ่่านแพลตฟอร์์มออนไลน์์ได้้ ด้้วยตนเอง หนุุนกระจายลููกพัันธุ์์สััตว์์น้ำ ำ� คุุณภาพดีี มีีมาตรฐานจากหน่่วยผลิิต กรมประมง 88 แห่่งทั่่�วประเทศ นายประพัันธ์์ ลีีปายะคุุณ รองอธิิบดีีกรมประมง เปิิดเผยว่่า “ลููกพัันธุ์์ สััตว์์น้ำ ำ�” เป็็นปััจจััยที่่มีีความสำำคััญอย่่างยิ่่ง ในกระบวนการเพาะเลี้้ยงสััตว์์น้ำำ เกษตรกรผู้้เพาะเลี้้ยงส่่วนใหญ่่จึึงนิิยมใช้้ลููกพัันธุ์์สััตว์์น้ำำที่่มาจากโรงเพาะฟััก เนื่่องจากเป็็นลููกพัันธุ์์สััตว์์น้ำำที่่มีีการเจริิญเติิบโตเร็็ว อััตราการรอดสููง ปลอดโรค และให้้ผลตอบแทนที่่ดีี ที่่ผ่่านมา กรมประมง ได้้มีีการกระจายลููกพัันธุ์์สััตว์์น้ำำพัันธุ์์ดีีออกสู่่ภาคการ ผลิิตผ่่านการบริิหารงานของเงิินทุุนหมุุนเวีียนในการผลิิตพัันธุ์์ปลา พัันธุ์์กุ้้ง และ พัันธุ์์สััตว์์น้ำำอื่่น ๆ ตั้้งแต่่ปีี 2523 จนถึึงปััจจุุบััน เพิ่่มโอกาสการเข้้าถึึงลููกพัันธุ์์ สััตว์์น้ำำของเกษตรกรด้้วยการเพาะเลี้้ยงพ่่อแม่่พัันธุ์์สััตว์์น้ำำ เพาะขยายพัันธุ์์และ จำำหน่่ายลููกพัันธุ์์ให้้แก่่เกษตรกรในราคาที่่เหมาะสม ควบคู่่ไปกัับการติิดตามและ ประเมิินผลความพึึงพอใจด้้านประสิิทธิิภาพผลผลิิตจากเกษตรกรผู้้ใช้ลูู้กพัันธุ์์ของ กรมประมงอย่่างต่่อเนื่่องเพื่่อนำำข้้อมููลมาปรัับปรุุงและเพิ่่มศัักยภาพ การผลิิต รวมถึึงการนำำงานวิจัิัยที่่ประสบผลสำำเร็็จมาต่่อยอดในการผลิิตพัันธุ์์ สััตว์์น้ำำชนิิดใหม่่เป็็นการเพิ่่มทางเลืือกในการสร้้างรายได้้ให้้เกษตรกรให้้สามารถ ผลิิตสััตว์น้ำ์ ำที่่มีคุีุณภาพดีีและมีลัีักษณะตรงตามความต้้องการของผู้้บริิโภคอีีกด้้วย สำำหรัับ “FisheriesFry Shop” เป็็นระบบจำำหน่่ายลููกพัันธุ์์สััตว์น้ำ์ ำออนไลน์์ ที่่กรมประมงพััฒนาขึ้้นโดยมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่อเพิ่่มช่่องทางการจำำหน่่ายพัันธุ์์สััตว์์ น้ำำ ให้้กัับเกษตรกรหรืือผู้้ที่่สนใจสามารถเข้้ามาเลืือกซื้้อพัันธุ์์สััตว์์น้ำำ จากหน่่วย งานในสัังกััดกรมประมงทั้้ง 88 แห่่งทั่่วประเทศ ได้้แก่่ ศููนย์วิ์จัิัยและพััฒนาการเพาะเลี้้ยงสััตว์น้ำ์ ำจืืด 37 แห่่ง ศููนย์วิ์จัิัยและพััฒนา ประมงน้ำำจืืด 22 แห่่ง ศููนย์วิ์จัิัยและพััฒนาการเพาะเลี้้ยงสััตว์น้ำ์ ำชายฝั่่�ง 21 แห่่ง ศููนย์์วิิจััยและพััฒนาประมงทะเล 2 แห่่ง และศููนย์์วิิจััยและพััฒนาพัันธุุกรรม สััตว์์น้ำำ 6 แห่่ง ทั้้งพัันธุ์์สััตว์์น้ำำชายฝั่่�ง สััตว์์น้ำำ จืืด และสััตว์์น้ำำที่่มีีการปรัับปรุุงพัันธุ์์ อาทิิ ปลาตะเพีียนขาวนีีโอเมล ปลา นิิลแปลงเพศ ปลานวลจัันทร์์เทศ กุ้้ง ขาวสิิชล 1 ฯลฯ รวมถึึงสััตว์์น้ำำและ พัันธุ์์ไม้้น้ำำสวยงามชนิิดที่่เป็็นที่่นิิยม ของเกษตรกร โดยตั้้งเ ป้้าหมายการผลิิ ต ครอบคลุุมสััตว์์น้ำำ 206 ชนิิด จำำนวน 280 ล้้านตััวต่่อปีี โดยระบบมีีการ แสดงข้้อมููล ขนาด ราคา จำำนวนสััตว์์ น้ำำที่่ผลิิต สถานที่่ผลิิตและเบอร์ติ์ิดต่่อ เพื่่อเข้้ารัับสิินค้้า ซึ่่งลููกค้้าสามารถ เลืือกชนิิดพัันธุ์์สััตว์์น้ำำที่่ต้้องการสั่่ง ซื้้อหรืือสั่่งจองล่่วงหน้้า (Pre-Order) เลืือกวัันรัับสิินค้้า และชำำระเงิินผ่่าน ช่่องทางระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์ได้้ด้้วย ตนเอง เกษตรกรผู้้ที่่สนใจสามารถลง ทะเบีียนเข้้าใช้้งานเพื่่อสั่่งจองพัันธุ์์ สััตว์์น้ำำกัับหน่่วยงานของกรมประมง ได้้โดยตรงผ่่านเว็็บไซต์์ https:// workingcapital.fisheries.go.th/ workshop หรืือแสกน QR code ด้้านล่่าง หากท่่านใดมีีข้้อสงสััยสามารถ ติิดต่่อสอบถามข้้อมููลเพิ่่�มเติิมได้้ที่่� สำำนัักงานเลขานุุการคณะกรรมการ บริิหารเงิินทุุนหมุุนเวีียนในการผลิิต พัันธุ์์ปลา พัันธุ์์กุ้้ง และพัันธุ์์สััตว์์ น้ำ ำ�อื่่�นๆ เบอร์์โทรศััพท์์ 0-2562 0600-15 ต่่อ 14412 ในวัันและ เวลาราชการ หรืือติิดต่่อผ่่านทาง เฟสบุ๊๊�คแฟนเพจ:จำำหน่่ายพัันธุ์์สััตว์์ น้ำ ำ� กรมประมง. FisheriesFry Shop ระบบสั่่�งจองลููกพัันธุ์์สัั ตว์ ์น้้ำออนไลน์ ์


31 กรมทรััพย์์สิินทางปััญญา ประกาศขึ้้�นทะเบีียนสิินค้้า GI รายการใหม่่ “ปลานิิลกระชัังแม่่น้ำ ำ�โขงหนองคาย” ถืือเป็็นสิินค้้ารายการที่่� 3 ตามหลัังกล้้วยตากสัังคม และ สัับปะรดศรีีเชีียงใหม่่ มั่่�นใจช่่วยทำำให้สิ้ินค้้าเป็็นที่่รู้�้จััก และ เพิ่่�มรายได้้ให้้กัับเกษตรกรมากขึ้้�น นายวุุฒิิไกร ลีีวีีระพัันธุ์์ อธิิบดีีกรมทรััพย์์สิินทาง ปััญญา เปิิดเผยว่่า กรมได้้ประกาศขึ้้นทะเบีียนสิ่่งบ่่งชี้้ทาง ภููมิิศาสตร์์ (GI) รายการใหม่่ คืือ ปลานิิลกระชัังแม่่น้ำำ โขง หนองคาย ซึ่่งเป็็นสิินค้้า GI ลำำดัับที่่ 3 ของ จ.หนองคาย ต่่อจากกล้้วยตากสัังคม และสัับปะรดศรีีเชีียงใหม่่ โดยมั่่นใจว่่าการขึ้้นทะเบีียน จะทำำ ให้้สิินค้้าเป็็นที่่ รู้้จัักเพิ่่มมากขึ้้น และช่่วยให้้เกษตรกรที่่เลี้้ยงปลานิิล มีี รายได้้เพิ่่มขึ้้นจากปััจจุุบััน ที่่สามารถสร้้างรายได้้ให้้กัับ จ.หนองคาย และเกษตรกรในชุุมชนกว่่า 540 ล้้านบาทต่่อปีี สำำหรัับปลานิิลกระชัังแม่น้ำ่ ำ โขงหนองคาย คืือ ปลานิิล สายพัันธุ์์จิิตรลดา มีีลัักษณะส่่วนหััวเล็็ก ริิมฝีีปากบนและ ล่่างเสมอกััน มีีลายพาดตามขวาง เมื่่อปรุุงสุุกเนื้้อมีีสีีขาว แน่่นเป็็นลิ่่ม และนุ่่ม จำำหน่่ายในรููปแบบปลานิิลสดและ ปลานิิลแดดเดีียว ผลิิตและแปรรููปตามภูมิูปัิัญญาของชุุมชน โดยการเลี้้ยงครอบคลุุมเขตพื้้นที่่ 6 อำำเภอ ของ ประกาศขึ้้�นทะเบีียน GI ปลานิลิกระชัังแม่น้้ ่ ำโขงหนองคาย จัังหวััดหนองคาย ที่่แม่่น้ำำ โขงไหลผ่่าน ได้้แก่่ อำำเภอสัังคม ศรีีเชีียงใหม่่ ท่่าบ่่อ เมืืองหนองคาย โพนพิิสััย และรััตน วาปีี ที่่มีีเอกลัักษณ์์เฉพาะ คืือ มีคุ้้ีงน้ำำกว้้าง พื้้นท้้องน้ำำเป็็น ทราย มีีโขดหิิน ทำำ ให้้การไหลผ่่านของน้ำำ ในแม่น้ำ่ ำ โขงในช่่วง จัังหวััดหนองคายเป็็นการไหลแบบเอื่่อย ๆ ตลอดเวลา ช่่วย เพิ่่มออกซิิเจนในน้ำำ ให้้เหมาะสมกัับการเลี้้ยงปลานิิล ทำำ ให้้ ปลานิิลมีีสุุขภาพดีี จากการว่่ายน้ำำตลอดเวลา ตลอดจนความอุุดมสมบููรณ์์ของแม่่น้ำำ โขงซึ่่งมีีแร่่ธาตุุ ในดิิน และเป็็นน้ำำที่่มีีความสะอาด ส่่งผลให้้ปลานิิลกระชััง แม่่น้ำำ โขงหนองคาย ที่่เลี้้ยงในกระชััง จึึงไม่่มีีกลิ่่นเหม็็น คาว และไม่่มีีกลิ่่นโคลน เนื้้อแน่่น นุ่่ม เนื่่องจากมีีไขมััน แทรก เป็็นที่่นิิยมของผู้้บริิโภคในจัังหวััดหนองคายรวมถึึง จัังหวััดใกล้้เคีียง กรมมีีนโยบายขัับเคลื่่�อนเศรษฐกิจจิากฐานรากบนพื้้�น ฐานแห่่งอััตลัักษณ์์และภููมิปัิัญญาไทย โดยการขึ้้�นทะเบีียน GI เพื่่�อยกระดัับสิินค้้าท้้องถิ่่�นให้้เป็็นที่่�รู้้จััก เพิ่่�มมููลค่่าให้้ กัับสิินค้้า และพร้้อมส่่งเสริิมการควบคุุมคุุณภาพสิินค้้า เพื่่�อสร้้างความั่่�นใจให้้แก่่ผู้้บริิโภค และขยายช่่องทางการ ตลาดอย่่างต่่อเนื่่�อง เพื่่�อสร้้างมููลค่่าเพิ่่�มให้้กัับสิินค้้า และ สร้้างรายได้้ให้้เกษตรกรในชุุมชนอย่่างยั่่�งยืืน.


32 กลุ่่มแปลงใหญ่่เกษตรกรผู้้เลี้้�ยงปลากดคััง ต.หนอง กิินเพล แปลงใหญ่่หนึ่่�งเดีียวใน จ.อุุบลราชธานีี ผลผลิิต เนื้้�อปลาคุุณภาพ รสชาติิดีี นางประเทืือง วาจรััต ผู้้อำำนวยการสำำนัักงาน เศรษฐกิิจการเกษตรที่่ 11 อุุบลราชธานีี (สศท.11) สำำนัักงานเศรษฐกิิจการเกษตร (สศก.) เปิิดเผยว่่า “ปลา กดคััง” เป็็นสิินค้้าประมงที่่มีศัีักยภาพและเป็็นหนึ่งใน่ สิินค้้า เกษตรทางเลืือก ของจัังหวััดอุุบลราชธานีี ที่่ได้รั้ับความนิิยม ของผู้้บริิโภค ตลาดมีีความต้้องการต่่อเนื่่อง เนื้้�อปลากดคัังเป็็นปลาเนื้้�ออ่่อน รสชาติิ เป็็น เอกลัักษณ์์เฉพาะตััว เกษตรกรในพื้้�นที่่�มีีการเลี้้�ยงเป็็น อาชีีพหลัักควบคู่่ไปกัับการทำำการเกษตร เนื่่�องจากปลา ชนิิดนี้้� ต้้องอาศััยระยะเวลาในการเลี้้�ยง แต่่ก็็สามารถ สร้้างรายได้้ให้้เกษตรกรเป็็นอย่่างดีี สศท.11 ลงพื้้นที่่ติิดตามสถานการณ์์การผลิิตปลา กดคัังของจัังหวััดอุุบลราชธานีี พบว่่า เกษตรกรมีีการรวม กลุ่่ม แปลงใหญ่่เพื่่อผลิิตและจำำหน่่ายปลากดคััง ซึ่่งกลุ่่ม แปลงใหญ่่เกษตรกรผู้้เลี้้ยงปลากดคััง ตำำบลหนองกิินเพล อำำเภอวาริินชำำราบ จัังหวััดอุุบลราชธานีี เป็็นกลุ่่มแปลง ใหญ่่เพีียง 1 เดีียวในจัังหวััดอุุบลราชธานีี เป็็นกลุ่่มที่่ประสบ ความสำำเร็็จ และมีีการวางแผนการผลิิตให้้ตรงตามความ ต้้องการของตลาด นายสัันติิ สุุพล ประธานกลุ่่มแปลงใหญ่่ บอกเล่่าว่่า กลุ่่มเริ่่มจััดตั้้งขึ้้นเมื่่อปีี 2546 เดิิมนั้้นเกษตรกรประกอบ อาชีีพทำำนาเป็็นหลััก แต่่ประสบปััญหาราคาผลผลิิตตกต่ำำ จึึงเริ่่มการเลี้้ยงปลาในกระชััง เนื่่องจากอยู่่ใกล้้แม่่น้ำำมููล เกษตรกรเริ่่มทดลองเลี้้ยงปลานิิล ตามการส่่งเสริิมของ หน่่วยงานเอกชน ซึ่่งถืือว่่าเป็็นอาชีีพเสริิมจากการทำำ นาได้้ แต่่มีีข้้อจำำกััดที่่ราคาซื้้อขายผู้้ซื้้อเป็็นผู้้กำำหนด ทางกลุ่่มจึึงเริ่่มศึึกษาการเลี้้ยงปลาที่่เป็็นที่่ต้้องการของ ตลาดและได้้รัับผลตอบแทนที่่ดีีกว่่า จึึงเริ่่มปรัับเปลี่่ยนมา เลี้้ยง “ปลากดคััง เพื่่�อลดความเสี่่�ยงเรื่่�องราคา” ปััจจุุบัันกลุ่่มแปลงใหญ่่เกษตรกรผู้้เลี้้ยงปลากดคััง มีี เกษตรกรสมาชิิก 34 ราย พื้้นที่่เลี้้ยงประมาณ 10 ไร่่ จำำ นวน 315 กระชััง (เลี้้ยงเฉลี่่ย 10 กระชััง/ครััวเรืือน) สถานการณ์์การผลิิตของกลุ่่มแปลงใหญ่่เกษตรกรผู้้ เลี้้ยงปลากดคััง พบว่่า เกษตรกรจะนำำพัันธุ์์ลููกปลากดคััง มาปล่่อยเลี้้ยงในกระชัังประมาณ 500 ตััว/กระชััง (ขนาด เลี้้�ยงปลากดคััง อาชีีพเสริิมสร้้างรายได้ ้ ราคาดีี ตลาดท้้องถิ่่�นต้้องการ


33 กระชััง 5 เมตร x 6 เมตร x 2.5 เมตร) โดยจะใช้้ ระยะเวลาในการเลี้้ยงประมาณ 3 ปีี เพื่่อให้้ได้้ขนาดตาม ที่่กำำหนดเฉลี่่ย 3–6 กิิโลกรััม/ตััว กลุ่่มแปลงใหญ่่จะมีีการวางแผนการเลี้้�ยงเพื่่�อให้้มีี ผลผลิิตออกสู่่ตลาดทุุกเดืือนเฉลี่่�ย 7–10 ตััน/เดืือน โดยปลากดคัังจะให้ผ้ลผลิิตรวมอยู่่ที่่� 89.3 ตััน/ปีี หรืือ 89,300 กิิโลกรััม/ปีี ราคาที่่�เกษตรกรขายได้้ เกษตรกรจะ จำำหน่่ายปลากดคัังเฉลี่่�ยกระชัังละ 1,567 กิิโลกรััม โดยจะขายปลีีกให้้กัับร้้านอาหารรายย่่อยในพื้้�นที่่� ราคา 150–165 บาท/กิิโลกรััม และขายยกระชัังปลา ราคา 120 –140 บาท/กิิโลกรััม ด้้านสถานการณ์์ตลาด ผลผลิิตส่่วนใหญ่่ ร้้อยละ 80 ส่่งจำำหน่่ายให้้พ่่อค้้าคนกลางในพื้้�นที่่�และจัังหวััดใกล้้เคีียง และผลผลิิต อีีกร้้อยละ 20 ส่่งจำำหน่่ายให้้ร้้านอาหาร รายย่่อย จากผลสำำเร็็จของกลุ่่มแปลงใหญ่่ที่่�มุ่่งเน้้นการพััฒนา คุุณภาพของเนื้้�อปลาให้้ได้้มาตรฐาน ตรงกัับความต้้องการ ของตลาด และมีีการวางแผนการผลิิตอย่่างเป็็นระบบ กลุ่่มแปลงใหญ่่ยัังได้้มีีการพััฒนาการเลี้้�ยงที่่�สามารถลด ต้้นทุุน ด้้วยการผลิิตอาหารปลาคุุณภาพไว้้ใช้้เอง ในอนาคตกลุ่่มแปลงใหญ่่วางแผนจะเพิ่่มปริิมาณการ ผลิิตให้้ได้้เฉลี่่ย 12 ตััน/เดืือน เพื่่อรองรัับความต้้องการของ ตลาด และพััฒนาเป็็นแหล่่งผลิิตปลากดคัังแบบครบวงจรที่่ สำำคััญของจัังหวััด คืือ สามารถผลิิตและจำำหน่่ายทั้้งลููกปลา และเนื้้อปลา ตลอดจนการสร้้างเครืือข่่ายเพื่่อพััฒนาเป็็น แหล่่งผลิิตปลาคุุณภาพที่่มีีความหลากหลาย หากท่่านใดสนใจข้้อมููลสถานการณ์์การผลิิตและตลาด ของกลุ่่มแปลงใหญ่่เกษตรกรผู้้เลี้้�ยงปลากดคััง ตำำบลหนอง กิินเพล สอบถามเพิ่่�มเติิมได้้ที่่� คุุณสัันติิ สุุพล ประธาน กลุ่่มแปลงใหญ่่เกษตรกรผู้้เลี้้�ยงปลากดคััง ตำำบลหนอง กิินเพล อำำเภอวาริินชำำราบ จัังหวััดอุุบลราชธานีี โทร. 08 3248 2268.


34 เรื่่รื่่�องโดย: �องโดย: สุสุุวรรรรณา สายรรวมญาติติิ และศุศุุภธัธััช ศรีรีีวิวิิพัพััฒน์น์ ์ ภาควิวิิชาเศรษฐศาสต ิชาเศรษฐศาสตร์ร์์เกษตรและท ์เกษตรและทรัรััพยากร คณะเศรษฐศาสต ัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ร์์ ม.เกษตรศาสต ์ ม.เกษตรศาสตร์ร์์ (บทความเ (บทความเรื่่ รื่่อง: ข้ข้้อเสนอเ ้อเสนอเชิชิิงนโยบายเ ิงนโยบายเพื่่ พื่่อสนันัับสนุนุุนการผลิลิิตและการ ิตและการค้ค้้าโคเนื้้ นื้้อคุคุุณภาพของไทย ุณภาพของไทย หมููเถื่่�อน...กว่่าถั่่�วจะสุุก งาก็็ไหม้ ้ นัับตั้้งแต่่กรมปศุสัุัตว์์ประกาศว่่าประเทศไทยพบเชื้้อไว รััสแอฟริิกัันอหิิวาต์์ในสุุกรเมื่่อวัันที่่ 11 มกราคม 2565 สิิริิ รวมเวลาเกืือบ 2 ปีี จนเกิิดงานแถลงข่่าว ผลการตรวจสอบ ขบวนการหมููเถื่่อนของอธิิบดีีกรมสอบสวนคดีีพิิเศษ หรืือ DSI เมื่่อวัันที่่ 24 พฤจิิกายน 2566 ความตอนหนึ่่งระบุุว่่า “ขบวนการหมููเถื่่�อนเป็็นองค์์กรอาชญากรรมที่่ส่�่งผลก ระทบรุุนแรงต่่อความมั่่�นคงทางอาหารและทางอาชีีพของ เกษตรกร ประกอบด้้วย กลุ่่มนายทุุน กลุ่่มข้้าราชการ และ กลุ่่มข้้าราชการฝ่่ายการเมืือง” “ขบวนการนี้้�ได้มี้ีการนำำ เข้้าในห้้วงที่่มี�ีการห้้ามนำำ เข้้า เศษซากหมููปีี 2564-2566 จำำ นวน 2,385 ตู้้ขบวนการ นี้้จ�ะเกิิดไม่่ได้้เลย ถ้้าไม่มี่ ีความต้้องการจากผู้้ประกอบการ ซื้้�อรายใหญ่่และรายย่่อยที่่�สั่่�งซื้้�อ” คนในวงการหมูู อดทน ดิ้้นรน ต่่อสู้้กัับขบวนการหมูู เถื่่อนมาอย่่างยาวนาน ตั้้งแต่ปี่ ี 2565 แต่่ผลกระทบรุุนแรง เพิ่่มมากขึ้้นเมื่่อปริิมาณอุุปทานหมููในตลาดเพิ่่มมากขึ้้นในปีี 2566 ทำำ ให้้ราคาขายหมููมีีชีีวิิตหน้้าฟาร์์มตกลงต่่อเนื่่องนัับ แต่่ต้้นปีี 2566 และผู้้เลี้้ยงขาดทุุนเรีียกได้้ว่่า อาการเข้้าขั้้น โคม่่ากัันถ้้วนหน้้า กว่่าถั่่วจะสุุก งาก็็ไหม้้ กว่่าปััญหาเนื้้อ เถื่่อนจะได้้รัับความสนใจจากรััฐ จััดการหาผู้้กระทำำผิิด ผู้้ เลี้้ยงก็็เลิิกเลี้้ยงไปแล้้ว ขบวนการค้้าหมููเถื่่อนได้้ทำำลายโครงสร้้างราคาระบบ การค้้าหมููของไทยจนทำำ ให้้ สมาคมผู้้เลี้้ยงสุุกรแห่่งชาติิ นายอััจฉริิยะ เรืืองรััตนพงศ์์ ประธานชมรมช่่วยเหลืือเหยื่่อ อาชญากรรม พร้้อม นายวิิวััฒน์์ พงษ์์วิิวััฒนชััย ประธาน กลุ่่มพัันธมิิตรผู้้เลี้้ยงสุุกรรายย่่อยแห่่งประเทศไทย และผู้้ เลี้้ยงสุุกรทั่่วประเทศ เข้้ายื่่นเรื่่องต่่อ DSI เมื่่อเดืือนพฤษา คม 2566 และเข้้ายื่่นเรื่่องเพิ่่มเติิมเมื่่อเดืือนสิิงหาคม 2566 รวมเวลานาน 6 เดืือน นัับตั้้งแต่่มีีการยื่่นเรื่่องครั้้งแรก ผลของการแถลงของท่่านอธิิบดีี DSI ไม่่ได้้เกิินความ คาดหมายใดๆ ของคนในวงการหมูู เพราะรู้้กัันอยู่่ว่่าอะไร เป็็นอะไร สมาคมผู้้เลี้้ยงสุุกรแห่่งชาติิประเมิินความเสีียหาย ที่่เกิิดขึ้้นขบวนการหมููเถื่่อนนี้้ไว้้ไม่่น้้อยกว่่า 30,000 ล้้าน บาท หากประเมิินผลกระทบในทางวิิชาการน่่าจะมากกว่่า นี้้ เรีียกได้ว่้่าความเสีียหายที่่เกิิดขึ้้น การขาดทุุนที่่เกิิดขึ้้นได้้ ตอกประตููตีีโลงผู้้เลี้้ยงหมููของไทย ขาดทุุนกัันถ้้วนหน้้าทั้้งผู้้ เลี้้ยงรายย่่อย รายเล็็ก รายกลาง รายใหญ่่ หรืือแม้้แต่่ยัักษ์์ ใหญ่่ในตลาดหลัักทรััพย์์ไม่่เว้้น การจััดการปััญหาขบวนการหมููเถื่่อนของภาครััฐ เชื่่องช้้า ด้้วยขบวนการนี้้มีีส่่วนร่่วมทั้้งกลุ่่มนายทุุน กลุ่่ม ข้้าราชการ และกลุ่่มข้้าราชการฝ่่ายการเมืือง สืืบไปเจอตอ ก็็เงีียบ กว่่าจะได้้ตััวผู้้กระทำำผิิด ผู้้เลี้้ยงหลายรายตััดสิินใจ เลิิกเลี้้ยง แถมด้้วยก้้อนหนี้้ที่่ต้้องชดใช้้กัันต่่อไป ผลร้้ายที่่ตามมาคืือ ปริิมาณความต้้องการใช้้อาหาร สััตว์์จะลดลงทั้้ง ข้้าว ข้้าวโพด และมัันสำำ ปะหลััง ซึ่่ง จะกระทบไปต่่อเกษตรกรชาวไร่่ชาวนา เนื่่องจากอาหาร


35 ดร.สุุวรรณา สายรวมญาติิ หมููที่่ผลิิตจะมีีส่่วนประกอบของผลิิตผลิิตและผลพลอยได้้ทางการเกษตรและ อุุตสาหกรรมเกษตร เช่่น ปลายข้้าว กากถั่่วเหลืืองจากการสกััดน้ำำมััน กากเบีียร์์ ซึ่่งผลก็็เกิิดแล้้วในข้้าวและข้้าวโพด ก่อนหน้านี้รัฐก็ได้ออกมาตรการช่วยไปแล้วไร่ละ 1,000 บาท ไม่เกิน 20 ไร่ ตอนนี้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เริ่มมีม็อบข้าวโพดเรียกร้องให้รัฐแก้ปัญหาราคา เรียก ร้องการชดเชยช่วยเหลือ แม้ว่าจะมีการขอความร่วมมือประกันรับซื้อไม่ต่่ำำกว่า 10 บาท/กก. แต่ด้วยผลผลิตที่กำำลังเก็บเกี่ยวกันตอนนี้ ราคาซื้อขายจริงไม่น่าจะทำำได้ หากไม่มีผู้เลี้ยงหมูแล้ว คิดดูว่าผลผลิตและผลผล็อยได้เหล่านั้นจะไปทางไหน ต่อ แม้ว่าจะมีหลายคนบอกว่า การเอาผลพลอยได้เหล่านี้ไปเป็นอาหารสัตว์จะได้ มูลค่าต่่ำำ แต่ต้องไม่ลืมว่า หมูกินทุกวัน กินเก่ง เฉลี่ย 2.4 กก./วัน ถ้าไม่สามารถ ระบายผลพลอยได้ไปเป็นอาหารหมูแล้ว ราคาผลผลิตหลักจะต้องปรับตัวเพิ่มสูง ขึ้นเพื่อชดเชยส่วนต่างกำำไรจะได้จากผลพลอยได้เหล่านี้ ทางฝงผู้บริโภคใช่ว่าจะได้ประโยชน์จากขบวนการหมูเถื่อนนี้ แม้ว่าราคาหมู ่ั เขียงจะตกลงมา ทำำให้อัตราเงินเฟ้อในภาพรวมของปี 2566 ไม่สูงเท่าปี 2565 แต่เมนูอาหารที่ใช้หมูเป็นส่วนประกอบยังคงขายราคาเดิม ปริมาณหมูในจานยัง คงเท่าเดิม เรียกได้ว่า ขึ้นแล้วลงยาก หลัังจากนี้้คงต้้องจัับตาดููกัันต่่อว่่าจะสามารถนำำผู้้กระทำำผิิดที่่ร่่วมขบวนการ ค้้าหมููเถื่่อนมารัับผิิดได้้ดัังหวัังหรืือไม่่ เหตุุการณ์์นี้้จะเกิิดขึ้้นไม่่ได้้ถ้้าเจ้้าหน้้าที่่รััฐ ไม่่ปล่่อยปละละเลยหรืือรัับส่่วยจากผู้้ประกอบการที่่เห็็นแก่่ประโยชน์์ส่่วนตััวฆ่่า อาชีีพเลี้้ยงหมููของเกษตรกรไทยตาดำำ ๆ อย่่างเลืือดเย็็น ผู้้เขีียนหวัังเป็็นอย่่างยิ่่งว่่า หลัังจากนี้้เรื่่องหมููเถื่่อนจะไม่่เงีียบหาย และภาค รััฐจะมีีมาตรการออกมาฟื้้�นฟููเกษตรกรผู้้เลี้้ยงหมููอย่่างจริิงจััง และต้้องดัังผู้้เลี้้ยง รายเล็็กและรายกลางกลัับมาให้้ได้้หาไม่่เช่่นนั้้น ในอนาคตเราจะต้้องซื้้�อหมููจาก ผู้้ผลิิตยัักษ์์ใหญ่่ไม่่เกิิน 10 แห่่ง ดีีดีี ไม่่ดีีจะเราจะถููกบีีบจากทางอเมริิกา และยุุโรปให้้ต้้องนำำ เข้้าเนื้้�อหมูู เมื่่�อ นั้้�นอุุตสาหกรรมหมููไทยคงเป็็นแค่่ เรื่่�องเล่่า ความมั่่�นคงทางอาหารของ ไทยคงไม่่มั่่�นคงดัังที่่�เราเคยมีี. ที่่�มา: สมาคมผู้้�เลี้้�ยงสุุกรแห่่งชาติิ (2566)


36 รายงานข่่าวจากสมาคมผู้้เลี้้�ยงสุุกรแห่่งชาติิ ในการ ประชุุมใหญ่่สามััญประจำำปีี 2566 และการเลืือกตั้้�งนายก สมาคมฯ คนใหม่่ โดยสมาชิิกสมาคมฯ จากทั่่�วประเทศ จำำ นวน 438 คน มีีมติิเป็็นเอกฉัันท์์ลงคะแนนเสีียง ให้้ นายสิิทธิิพัันธ์์ ธนาเกีียรติิภิิญโญ (นายกสมาคมผู้้ เลี้้�ยงสุุกรภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ) ดำำรงตำำแหน่่งนายก สมาคมผู้้เลี้้�ยงสุุกรแห่่งชาติิ วาระปีี 2566-2568 เมื่่�อวััน ที่่� 23 พฤศจิิกายนที่่�ผ่่านมา ณ โรงแรมมิิราเคิิลแกรนด์์ หลัักสี่่� กรุุงเทพฯ สำำหรัับประวัติัิ นายสิิทธิพัิันธ์์ ธนาเกีียรติภิิญโญ เป็็น ผู้้มีีความรู้้ความสามารถในด้้านการบริิหารจััดการ และ มีีคุุณููปการต่่ออุุตสาหกรรมการเลี้้ยงสุุกรไทย จากความ ทุ่่มเทเพื่่อพััฒนาและยกระดัับภาคอุุตสาหกรรมฯนี้้ ให้้มีีมาตรฐาน ความปลอดภััย โดยเฉพาะอย่่างยิ่่งในช่่วงที่่เกิิด ปััญหาโรคอหิิวาต์์แอฟริิกาในสุุกร (ASF) ในประเทศไทย นายสิิทธิิพัันธ์์ เป็็นกำำลัังสำำคััญในการผลัักดัันการแก้้ ปััญหาและดำำเนิินการจััดเวทีสัีัมมนาให้้ความรู้้ ความเข้้าใจ เกี่่ยวกัับปััญหารวมถึึงวิิธีีการป้้องกัันโรค และการบริิหาร จััดการฟาร์์มให้้แก่่เกษตรกรผู้้เลี้้ยงสุุกรรายย่่อย ทั้้งในเขต ภาคอีีสานและในภููมิิภาคต่่างๆ มาอย่่างต่่อเนื่่อง ทั้้งยัังเป็็นแกนนำำ ในการต่่อต้้านการนำำเข้้าหมููจาก อเมริิกา เป็็นแกนหลัักในการติิดตามการปราบปรามการ ลัักลอบนำำเข้้าหมู่่เถื่่อน รวมถึึงเป็็นส่่วนสำำคััญในการ ประสานความร่่วมมืือระหว่่างภาครััฐ ภาคเอกชน ภาค เกษตรกร เพื่่อผลัักดัันให้้สุุกรเป็็นสิินค้้าปศุุสััตว์์เรืือธงที่่จะ สร้้างความมั่่นคงทางอาหารให้กั้ับคนไทย และพััฒนาอาชีีพ เกษตรกรเลี้้ยงหมููอย่่างยั่่งยืืน ทางด้้านอดีีตนายกสมาคมผู้้เลี้้ยงสุุกรแห่่งชาติิ นายสุุร ชััย สุุทธิิธรรม ที่่รั้้งตำำแหน่่งนี้้มานานกว่่า 23 ปีี ถืือว่่าเป็็น บุุคคลสำำคััญของวงการหมููของไทย ที่่มุ่่งมั่่นทำำหน้้าที่่เป็็น ตััวแทนของผู้้เลี้้ยงหมููทั่่วประเทศ ในการผลัักดัันอาชีีพการ เลี้้ยงหมููให้้ก้้าวหน้้า มีีคุุณภาพ มาตรฐานเป็็นอัันดัับต้้นๆ ของภููมิิภาค สร้้างอาหารปลอดภััยให้้กัับคนไทยมาตลอด ที่่สำำคััญยัังสร้้างผลงานอัันโดดเด่่น ทั้้งการพััฒนาการ สิิทธิิพัันธ์์ ธนาเกีียรติิภิิญโญ นายกสมาคมผู้้เลี้้�ยงสุุกรคนใหม่ ่


37 เลี้้ยงหมููด้้วยเทคโนโลยีี การขัับเคลื่่อนนโยบายการยกเลิิก การใช้้สารเร่่งเนื้้อแดงในการเลี้้ยงหมูู จนกระทั่่งกลายเป็็น กฎหมายมานานกว่่า 20 ปีี รวมถึึงการแก้ปั้ ัญหา ASF ร่่วม กัับภาครััฐ ภาคเอกชน และพี่่น้้องเกษตรกรอย่่างเข้้มแข็็ง นอกจากนี้้ ยัังเป็็นผู้้นำำ ในการต่่อสู้้กัับกระบวนการลัักลอบ นำำเข้้าหมููเถื่่อนจากต่่างประเทศ เพื่่อปกป้้องผู้้เลี้้ยงหมููให้้มีีความมั่่นคงในอาชีีพ ที่่สำำคััญ การทำำงานเพื่่อเกษตรกรไทยทั้้งหมด ยััง เป็็นการทำำงานเคีียงข้้างกัับนายกสมาคมฯคนใหม่่มาโดย ตลอด หลัังจากนี้้อุุตสาหกรรมการเลี้้ยงหมููภายใต้้การนำำของ นายสิิทธิิพัันธ์์ จากการส่่งไม้้ต่่อของอดีีตนายกฯ จึึง เป็็น “การทำำงานอย่่างไร้้รอยต่่อ” ในงานนี้้�ได้้รัับเกีียรติิจาก น.สพ.สมชวน รััตนมัังคลา นนท์์ อธิิบดีีกรมปศุุสััตว์์ เป็็นประธานเปิิดการประชุุมฯ โดยเกษตรกรทั่่�วประเทศใช้้โอกาสนี้้� ขอบคุุณอธิิบดีีสม ชวน ที่่�สนัับสนุุนและผลัักดัันเกษตรกรผู้้เลี้้�ยงหมููมาโดย ตลอด โดยเฉพาะการเดิินหน้้าปราบปรามหมููเถื่่�อนมา อย่่างต่่อเนื่่�อง จนสถานการณ์์เริ่่�มคลี่่�คลาย พร้้อมให้กำ้ำลััง ใจในการทำำงานเพื่่�อเกษตรกรไทยต่่อไป.


38 Egg Board เห็็นชอบ (ร่่าง) ประกาศคณะกรรมการ นโยบายพััฒนาไก่่ไข่่และผลิิตภััณฑ์์ เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์ มาตรการและแนวทางปฏิิบััติิเกี่่�ยวกัับการปลดไก่่ไข่่ตาม อายุุที่่�เหมาะสม และแผนการนำำ เข้้าเลี้้�ยงไก่่ไข่่พัันธุ์์ (GP และ PS) ปีี 2567 เพื่่�อให้้สอดคล้้องกัับความต้้องการ บริิโภคไข่่ไก่่ภายในประเทศ ร้้อยเอก ธรรมนััส พรหมเผ่่า รััฐมนตรีว่ี่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์์ เป็็นประธานการประชุุมคณะกรรมการ นโยบายพััฒนาไก่่ไข่่และผลิิตภััณฑ์์ (Egg Board) ครั้้งที่่ 3/2566 โดยมีี นายประยููร อิินสกุุล ปลััดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์์ ผู้้บริิหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ และ ผู้้บริิหารหน่่วยงานที่่เกี่่ยวข้้อง เข้้าร่่วม ณ ห้้องประชุุม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ซึ่่งที่่ประชุุมมีีมติิเห็็นชอบ (ร่่าง) ประกาศคณะกรรมการนโยบายพััฒนาไก่่ไข่่และ ผลิิตภััณฑ์์ เรื่่อง หลัักเกณฑ์์มาตรการและแนวทางปฏิิบััติิ เกี่่ยวกัับการปลดไก่่ไข่่ตามอายุุที่่เหมาะสม โดย (ร่่าง) ประกาศดัังกล่่าวเป็็นการขอความร่่วมมืือผู้้ประกอบการไก่่ ไข่่ให้มี้ ีการปลดไก่่ไข่ยื่ ืนกรงที่่อายุุไม่่เกิิน 80 สััปดาห์์ ยกเว้้น รายย่่อยที่่เลี้้ยงต่ำำกว่่า 30,000 ตััว และเงื่่อนไขอื่่น ๆ ตาม ที่่กรมปศุสัุัตว์กำ์ ำหนด ซึ่ง่ที่่ประชุุมได้้มอบหมายกรมปศุสัุัตว์์ ในการศึึกษาและพิิจารณาข้้อกฎหมายที่่เกี่่ยวข้้องสำำหรัับ การจััดทำำ มาตรการและแนวทางการปฏิบัิติัที่่มีิ ีความชััดเจน มากยิ่่งขึ้้น เพื่่อสร้้างแนวทางการปฏิิบััติิที่่มีีความเท่่าเทีียม และเป็็นธรรมสำำหรัับผู้้ประกอบการไก่่ไข่่ทุุกระดัับ ทั้้งนี้้ ที่่ ประชุุมมีีมติิเห็็นชอบแผนการนำำเข้้าเลี้้ยงไก่่ไข่่พัันธุ์์ (GP และ PS) ปีี 2567 แบ่่งเป็็น ไก่่ไข่่ปู่่�ย่่าพัันธุ์์(GP) จำำนวน 3,800 ตััว และไก่่ไข่่พ่่อแม่่พัันธุ์์(PS) จำำ นวน 440,000 ตััว เพื่่อให้้สอดคล้้องกัับความต้้องการบริิโภคไข่่ไก่่ภายใน ประเทศ อีีกด้้วย สำำหรัับสถานการณ์์ไก่่ไข่่ปััจจุุบััน ประเทศไทยมีีการ ส่่งออกไข่่ไก่่สด (ข้้อมููล ณ วัันที่่ 31 ต.ค. 2566) จำำนวน 381.65 ล้้านฟอง มููลค่่า 1,703.78 ล้้านบาท โดยส่่งออก ไปยัังสิิงคโปร์์ 72% ฮ่่องกง 16% และไต้้หวััน 7% ใน ด้้านการดำำเนิินมาตรการรัักษาเสถีียรภาพราคาไข่่ไก่่ กระ ทรวงเกษตรฯ โดยกรมปศุสัุัตว์์ ได้มี้ ีการหารืือร่่วมกัับผู้้แทน สมาคมไก่่ไข่่ สหกรณ์์ไก่่ไข่่ และผู้้ประกอบการไก่่ไข่่พัันธุ์์ เพื่่อกำำหนดมาตรการรัักษาเสถีียรภาพราคาไข่่ไก่่ร่่วมกััน ซึ่่�งผลการดำำเนิินงานเดืือน พ.ย. 2566 เป้้าหมาย 58.50 ล้้านฟอง (ข้้อมููล ณ วัันที่่� 30 พ.ย. 2566) พบว่่า มีี การเก็็บรวบรวมไข่่ไก่่เพื่่�อการส่่งออก จำำ นวน 59,063,928 ฟอง มีีการปลดไก่่ไข่่ก่่อนกำำหนด จำำ นวน 539,949 ตััว (เทีียบเท่่าส่่งออกไข่่ไก่่ 8,644,710 ฟอง) รวมผลดำำเนิิน การแล้้ว 67,708,638 ฟอง คิิดเป็็น 115.74% จากเป้้า หมาย. Egg Board เห็็นชอบ ปลดลดไก่ก่่ไข่ข่ตต ่ ามอายุยุุ แลละแผนนำเข้้าเ ะแผนนำเข้้าเลี้้ลี้้�ยงไก่ก่่ไข่ข่พัพั ่ ันธุ์์ ธุ์์


39 มููลนิิธิิเจริิญโภคภััณฑ์์พััฒนาชีีวิิตชนบท ร่่วมกัับ บริิษััท เจริิญโภคภััณฑ์์อาหาร จำำกััด (มหาชน) หรืือซีีพีี เอฟ ส่่งมอบ โครงการเลี้้�ยงไก่่ไข่่ธุุรกิิจเพื่่�อสัังคม (Social Enterprise) แก่่ วิิสาหกิิจชุุมชนบ้้านบุุโพธิ์์�โมเดล อ.ลำำ ปลายมาศ จ.บุุรีีรััมย์์ เพื่่�อพััฒนาและช่่วยเหลืือสัังคม ควบคู่่ไปกัับการขัับเคลื่่�อนธุุรกิิจของชุุมชนเติิบโตอย่่าง ยั่่�งยืืน ผ่่านกลไกการบริิหารงานโดยชุุมชนด้้วยธุุรกิิจไก่่ ไข่่เป็็นแห่่งแรก นายจอมกิิตติิ ศิิริิกุุล กรรมการและเลขาธิิการมููลนิิธิิ เจริิญโภคภััณฑ์์พััฒนาชีวิีิตชนบท เปิิดเผยว่่า โครงการเลี้้ยง ไก่่ไข่ธุุ่รกิิจเพื่่อสัังคมดัังกล่่าว ถืือเป็็นธุุรกิิจชุุมชนเพื่่อสัังคม แห่่งแรก ที่่มููลนิิธิิฯ ร่่วมกัันขัับเคลื่่อนกัับซีีพีีเอฟ ในฐานะ ผู้้เชี่่ยวชาญด้้านธุุรกิิจไก่่ไข่่ ที่่ให้้การส่่งเสริิมสนัับสนุุนองค์์ ความรู้้การเลี้้ยงไก่่ไข่่ แนวคิิดการจััดการวิิสาหกิิจชุุมชน และการตลาด ตลอดจนมองเห็็นโอกาสในการต่่อยอดเชิิง ธุุรกิิจ เพื่่อพััฒนาและยกระดัับคุุณภาพชีวิีิตชาวชุุมชนบ้้าน บุุโพธิ์์ทุุกคน ไปพร้้อมๆ กัับการสร้้างอาชีีพและรายได้้ สู่่ เศรษฐกิิจชุุมชนเข้้มแข็็ง รวมถึึงการได้รั้ับประโยชน์์และเข้้า ถึึงแหล่่งโปรตีีนคุุณภาพที่่ปลอดภััยอย่่างยั่่งยืืน ที่่สำำคััญ คืือ การผลัักดัันให้้โครงการฯนี้้� กลายเป็็น สถานที่่�ศึึกษาดููงานถ่่ายทอดองค์์ความรู้้ให้้แก่่เกษตรกร และผู้้ที่่�สนใจ ไปพร้้อมๆ กัับการสร้้างงาน สร้้างอาชีีพ สร้้างรายได้้ให้กั้ับกลุ่่มอาชีีพอื่่�นๆ ในชุุมชน ด้้วยการสร้้าง มููลค่่าเพิ่่�มให้้กัับสิินค้้าชุุมชน ผ่่านการสร้้างแบรนด์์และ การแปรรููป ก่่อให้้เกิิดเศรษฐกิิจหมุุนเวีียนในชุุมชน เพื่่�อ อนาคตที่่�ดีีของเด็็กและเยาวชนลููกหลานบ้้านบุุโพธิ์์�ต่่อไป นายสมคิิด วรรณลุุกขีี กล่่าวว่่า โครงการฯนี้้ เป็็นการ ต่่อยอดความสำำเร็็จจากการผนึึกกำำลัังของ ซีพีี ีเอฟ และมููล นิิธิิฯ ที่่ร่่วมกัันสนัับสนุุนโครงการการเลี้้ยงไก่่ไข่่เพื่่ออาหาร กลางวัันนัักเรีียน มาอย่่างต่่อเนื่่องมานานกว่่า 35 ปีี สู่่ การส่่งเสริิมวิิสาหกิิจชุุมชนบ้้านบุุโพธิ์์ให้้เป็็นโมเดลเลี้้ยงไก่่ ไข่่ธุุรกิิจเพื่่อสัังคม ที่่จะทำำ ให้้คนในชุุมชน โดยเฉพาะเด็็ก และเยาวชนสามารถเข้้าถึึงและบริิโภคไข่่ไก่่สดที่่มีีคุุณภาพ ได้้อย่่างทั่่วถึึง จากปริิมาณไข่่ไก่ที่่วิิสาหกิิจชุุมชนฯ ผลิิตได้้เฉลี่่ยวัันละ 270 ฟอง หรืือประมาณ 90,000 ฟองต่่อปีี จากสถิติิคนไทย บริิโภคไข่่ไก่่เฉลี่่ยปีีละ 220 ฟองต่่อคน โดยมีีผู้้เชี่่ยวชาญ ด้้านการเลี้้ยงไก่่ไข่่ของซีีพีีเอฟ ให้้คำำแนะนำำการเลี้้ยงไก่่ไข่่ การจััดการการเลี้้ยง และการดููแลอย่่างใกล้้ชิิด ทำำ ให้้โครง การฯ สามารถดำำเนิินงานได้้อย่่างต่่อเนื่่อง นำำ ไปสู่่เป้้าหมาย การสร้้างความมั่่นคงทางอาหารให้้กัับชุุมชนได้้อย่่างยั่่งยืืน มููลนิิธิิเจริิญโภคภััณฑ์์พััฒนาชีีวิิตชนบท ได้้เข้้ามาส นัับสนุุนและดำำเนิินการในพื้้�นที่่ตำ�ำบลบุุโพธิ์์�ในทุุกมิติตั้้ิ�งแต่่ ปีี 2540 ส่่งเสริิม 7 อาชีีพ 7 รายได้้ และต่่อยอดความ สำำเร็็จจากอดีีตสู่่การขัับเคลื่่�อนในปััจจุุบััน ผ่่าน 5 แผน งาน เพื่่�อยกระดัับฐานอาชีีพ ให้้เกิิดประโยชน์์ต่่อชุุมชน ชาวบ้้าน และเกษตรกรบ้้านบุุโพธิ์์� อาทิิ เกษตรประณีีต มููลค่่าสููง เกษตรผสมผสานมููลค่่าสููง ธนาคารน้ำ ำ�ใต้้ดิิน การพััฒนาวิิสาหกิิจชุุมชน และโครงการเลี้้�ยงไก่่ไข่่ชุุมชน ธุุรกิิจเพื่่�อสัังคม. โครงการเ โครงการเลี้้ลี้้�ยงไก่ก่่ไข่ข่ชุชุ ่ ุมชนธุธุุรกิกิิจเพื่พื่่�อสัสัังคมแห่ห่่งแรก


40 อ.ส.ค.จัับมืือมหิิดลร่่วมวิิจััยผลิิตภััณฑ์์ทางการแพทย์์ สำำหรัับผู้้ป่่วยเบาหวานด้้วยวััตถุุดิิบจากน้ำำ นมโคสดแท้้ครั้้ง แรก จััดทำำ โครงการวิิจััยพััฒนาผลิิตภััณฑ์์อาหารทางการ แพทย์์สำำหรัับผู้้ป่่วยเบาหวานโดยใช้้น้ำำ นมโคสดแท้้100% เพื่่อทดแทนผลิิตภััณฑ์์นำำเข้้าจากต่่างประเทศและลดภาระ ค่่าใช้้จ่่ายผู้้ป่่วยโรคเบาหวาน พร้้อมเตรีียมเปิิดตััวในปีีหน้้า นายสมพร ศรีีเมืือง ผู้้อำำนวยองค์์การส่่งเสริิมกิิจการ โคนมแห่่งประเทศไทย(อ.ส.ค.) กล่่าวว่่า จากสถิิติิของ กระทรวงสาธารณสุุข ประเทศไทยพบอุุบััติิการณ์์โรคเบา หวานมีีแนวโน้้มเพิ่่มขึ้้นอย่่างต่่อเนื่่อง ในปีี 2566 มีีผู้้ป่่วย รายใหม่่ เพิ่่มขึ้้น 3 แสนคนต่่อปีี ในปีี พ.ศ. 2565 มีีผู้้ป่่วย โรคเบาหวานสะสมจำำ นวน 3.3 ล้้านคนเพิ่่มขึ้้นจากปีี พ.ศ. 2564 มากถึึง 1.5 แสนคน จากแนวโน้้มดัังกล่่าว อ.ส.ค.ร่่วม กัับมหาวิิทยาลััยมหิิดล นำำ โดย ผศ.ดร.สุุภััทร์์ ไชยกุุล ภาค วิิชาโภชนวิิทยา คณะสาธารณสุุขศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย มหิิดลได้ร่้่วมกัันจััดทำำ โครงการวิจัิัยพััฒนาผลิิตภััณฑ์์อาหาร ทางการแพทย์์ สำำหรัับผู้้ป่่วยเบาหวานโดยใช้น้ำ้ ำ นมโคสดแท้้ 100% ของ อ.ส.ค.เป็็นวััตถุุดิิบหลัักเพื่่อทดแทนผลิิตภััณฑ์์ นำำเข้้าจากต่่างประเทศภายใต้้การสนัับสนุุนทุุนวิิจััยของ จากสำำนัักงานพััฒนาการวิิจััยการเกษตร(องค์์การมหาชน) หรืือสวก. ทีีมนัักวิิจััยได้้ใช้้น้ำำ นมโคและข้้าวจากเกษตรกรไทยมา เป็็นส่่วนผสมหลััก ทำำ ให้้ผลิิตภััณฑ์์มีีต้้นทุุนการผลิิตลดลง เมื่่อเทีียบกัับสิินค้้าในท้้องตลาด ผลจากการวิิจััยนี้้ยัังเพิ่่ม ขีีดความสามารถในการแข่่งขัันของภาคอุุตสาหกรรมใน กลุ่่มผลิิตภััณฑ์์ High value product ที่่มีีศัักยภาพสููง และเป็็นที่่ต้้องการของตลาดในอนาคต เป็็นช่่องทางหนึ่่ง ในการส่่งเสริิมพััฒนาด้้านการเกษตร การเลี้้ยงโคนม การ แปรรููป และการเพิ่่มมููลค่่าสิินค้้าเกษตรของไทยเป็็นการ ใช้้เทคโนโลยีีการผลิิตอาหารเพื่่อการแก้้ไขปััญหาด้้านการ แพทย์์และการสาธารณสุุขของประเทศ ทำำ ให้้ประเทศไทย มีีความสามารถในการผลิิตผลิิตภััณฑ์์อาหารทางการแพทย์์ ป้้อนสู่่ตลาดในประเทศและระดัับโลกได้อี้ีกด้้วย โดย อ.ส.ค. มีีแผนที่่จะเปิิดตััวอย่่างเป็็นทางการในปีี 2567 ซึ่่งมั่่นใจว่่า จะเป็็นทางเลืือกให้้กัับผู้้ป่่วยโรคเบาหวานและตอบโจทย์์ ตลาดในประเทศได้้เป็็นอย่่างดีี” นายสมพร กล่่าว ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.สุภัุัทร์์ ไชยกุุล ภาควิิชาโภชน วิิทยา คณะสาธารณสุุขศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดลในฐานะ หััวหน้้าโครงการและทีีมวิิจััยกล่่าวเพิ่่มเติิมว่่า ผลิิตภััณฑ์์ อาหารทางการแพทย์สำ์ ำหรัับผู้้ป่่วยเบาหวานมีีความจำำเป็็น สำำหรัับผู้้ป่่วยและมีีความต้้องการเพิ่่มมากขึ้้นอย่่างต่่อเนื่่อง ตามจำำนวนผู้้ป่่วยหรืือแม้้กระทั่่งผู้้ที่่ต้้องการควบคุุมระดัับ น้ำำตาลในเลืือดที่่เพิ่่มมากขึ้้น ผลิิตภััณฑ์์ที่่จำำหน่่ายในท้้อง ตลาดส่่วนใหญ่่นำำเข้้ามาจากต่่างประเทศและมีีราคาแพง ผู้้ป่่วยที่่มีีความจำำเป็็นต้้องบริิโภคต้้องแบกรัับค่่าใช้้จ่่ายสููง ดัังจะเห็็นได้้ว่่าการบริิโภคผลิิตภััณฑ์์ 1 มื้้ออาหารต้้องมีีค่่า ใช้้จ่่ายประมาณ 60 บาทขึ้้นไปเฉลี่่ยต่่อวัันที่่ 5 มื้้ออาหาร คืือประมาณ 300 บาทต่่อวััน ด้้วยเหตุนี้้จึึุงมีีการวิจัิัยถึึงการ อ.ส.ค.เตรีียมเปิดตัิ ัวผลิิตภััณฑ์์ทางการแพทย์ ์ สำหรัับผู้ ้ ป่่วยเบาหวาน


41 พััฒนาผลิิตภััณฑ์์อาหารทางการแพทย์์ให้้สามารถผลิิตเพื่่อจำำหน่่ายได้้ในประเทศไทยจากน้ำำ นมโคที่่เลี้้ยงในประเทศ มาใช้้เป็็นวััตถุุ ดิิบเป็็นครั้้งแรก ซึ่่ งที่่ผ่่านมาวััตถุุ ดิิบทดแทน คาร์์โบไฮเดรตของอาหารทางการแพทย์ส่์ ่วนใหญ่่จะใช้้แป้้งดััดแปลงจากข้้าวโพด หรืือมัันสำำ ปะหลัังและข้้าวยัังไม่มี่ ีการใช้้ร่่วมกัับโปรตีีนจากน้ำำนมเป็็นวััตถุุดิิบในผลิิตภััณฑ์์อาหาร ทางการแพทย์์สำำ หรัับผู้้ป่่วยเบาหวานที่่คิิดค้้นขึ้้นนี้้มีีสููตร และกระบวนการผลิิตที่่มีีความเฉพาะ เพื่่อให้้ได้้ผลิิตภััณฑ์์ ที่่มีค่ี่าพลัังงานและปริิมาณของสารอาหารครบถ้้วนตามข้้อ แนะนำำทางด้้านโภชนาการ ของผู้้ป่่วยเบาหวาน โดยวิิ จััยและพััฒนาขึ้้น 2 สููตรด้้วยกััน คืือ สููตรน้ำำนม โค และสููตรน้ำำ นมโคปราศจากน้ำำตาลแลคโตส แบบยููเอชทีี สำำหรัับผลิิตภััณฑ์์ทั้้ง 2 สููตรนี้้ได้้ผ่่านการวิิจััย พััฒนา ผลิิตระดัับอุุตสาหกรรมและผ่่านการรัับรองคุุณภาพด้้าน โภชนาการ อ้้างอิิงมาตรฐานหรืือแนวทางการบริิโภคอาหารสำำหรัับผู้้ป่่วยเบาหวานขององค์์กรสุุขภาพระดัับสากล ความปลอดภััยและผ่่านการทดสอบทางคลิิ นิิก ที่่ยืืนยััน ได้้ ว่่าผลิิตภััณฑ์์ทั้้ง 2 สููตร มีี ค่่าดััชนีี น้ำำตาลต่ำำ สามารถ ใช้้บริิโภคทดแทนมื้้ออาหารได้้สำำ หรัับผู้้ที่่มีีเบาหวานหรืือ น้ำำตาลในเลืือดสููง โดยมีีสููตรปราศจากน้ำำ�ตาลแลคโตสเป็็นทางเลืือก สำำ หรัับผู้้มีีภาวะการย่่อยแลคโตสบกพร่่อง และสามารถใช้้บริิโภคได้้ในกลุ่่มผู้้พัักฟื้้�น ผู้้สููงอายุุหรืือผู้้ที่่มี�ีความต้้องการพลัังงานและเสริิมสารอาหาร. นายสมพรร ศรีรีีเมืมืือง ผู้้ช่ช่่วยศาสต ่วยศาสตรราจจารย์รย์์ ดรร.สุสุุภัภััทร์ร์์ ไชยกุกุุล


42 ซีีพีี-เมจิิ ผู้้นำำอุุตสาหกรรมผลิิตภััณฑ์์นมและโยเกิิร์์ต ชููกลยุุทธ์์ความยั่่�งยืืน 3 ด้้าน สุุขภาพ-สัังคม-สิ่่�งแวดล้้อม ภายใต้้แนวคิิด “เพิ่่�มคุุณค่่าชีวิีิต (Enriching Life)” พร้้อม ขยายตลาดสิินค้้าคุุณภาพไปทั่่�วภููมิิภาค เพื่่�อยกระดัับ คุุณภาพชีีวิิตเกษตรกรให้้เติิบโตไปด้้วยกััน นางสาวสลิิลรััตน์์ พงษ์์พานิิช กรรมการผู้้จััดการ บริิษััท ซีีพีี-เมจิิ จำำกััด เปิิดเผยว่่า บริิษััทตระหนัักเสมอถึึง ความรัับผิิดชอบต่่อสัังคมอย่่างยั่่งยืืน โดยใช้้แนวคิิดการเพิ่่ม คุุณค่่าชีวิีิต 3 ด้้าน เริ่่มด้้วย ด้้านสุุขภาพ ที่่บริษัิัทฯ จะผลิิต เฉพาะผลิิตภััณฑ์์นมคุุณภาพที่่มีคุีุณค่่าทางโภชนาการอย่่าง ครบถ้้วน มุ่่งเน้้นการสร้้างสรรค์์นวััตกรรมเครื่่องดื่่มที่่เป็็น ประโยชน์์ต่่อสุุขภาพของผู้้บริิโภค ตอบโจทย์์ทั้้งไลฟ์์สไตล์์ และพฤติิกรรมของผู้้บริิโภคที่่เปลี่่ยนแปลงอย่่างรวดเร็็ว เช่่น การเพิ่่มรสชาติิใหม่่ๆ ที่่มีีฟัังก์์ชั่่นในการดููแลร่่างกาย ของผู้้บริิโภคแต่่ละกลุ่่ม โดยจะขยายพอร์์ตสิินค้้าที่่มีีมููลค่่าเพิ่่ม (High-value) และส่่วนแบ่่งการตลาดกลุ่่มโยเกิร์ิ์ตให้้เพิ่่มขึ้้น รวมถึึงความ ตั้้งใจขยายตลาดนมซีีพีี-เมจิิ ออกไปให้้ทั่่วทั้้งภููมิิภาคเอเชีีย ตะวัันออกเฉีียงใต้้ ซึ่งจะเ่ ป็็นการเพิ่่มช่่องทางการขายน้ำำนม แก่่เกษตรกรผู้้เลี้้ยงโคนมของไทยให้้มากขึ้้น ถััดมา ด้้านสัังคม ที่่ ซีีพีี-เมจิิ มุ่่งเน้้นการดููแลและ สนัับสนุุนเกษตรกรผู้้เลี้้ยงโคนม โดยถ่่ายทอดองค์์ความรู้้ ด้้านการเลี้้ยงโคและการจััดการฟาร์์มอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ เพื่่อยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตของเกษตรกรต้้นน้ำำซึ่่งเป็็นส่่วน สำำคััญในกระบวนการผลิิตสิินค้้าให้้เติิบโตเคีียงข้้างไปด้้วย กัันอย่่างมั่่นคงและยั่่งยืืน ไม่่เพีียงเท่่านั้้นบริิษััทฯ ยัังให้้การ ดููแลชุุมชนในจัังหวััดสระบุุรีี ซึ่่งเป็็นพื้้นที่่โรงงานอย่่างต่่อ เนื่่องอีีกด้้วย สุุดท้้าย ด้้านสิ่่งแวดล้้อม บริิษััทฯ ดำำเนิินธุุรกิิจควบคู่่ กัับการดููแลรัักษาสิ่่งแวดล้้อมมาโดยตลอด อาทิิ การผลิิต ไฟฟ้้าใช้้ในโรงงานจากหลัังคาพลัังงานแสงอาทิิตย์์ ระบบ การกำำจััดน้ำำเสีียและนำำกลัับมาใช้้ โดยจะเพิ่่มสััดส่่วนการ ใช้้พลัังงานทางเลืือกในกระบวนการผลิิตให้้มากขึ้้น เพื่่อมุ่่ง สู่่การลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิให้้เป็็นศููนย์์ (Net Zero) ตลอดจนเพิ่่มพื้้นที่่สีีเขีียวและความหลากหลายทาง ชีีวภาพให้้กัับโลกอย่่างต่่อเนื่่อง “โลกกำำลัังเผชิิญกัับการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ ที่่�ส่่งผลกระทบอย่่างมากมายดัังที่่�ทุุกคนทราบกัันดีี ใน ฐานะที่่�ซีีพีี-เมจิิ เป็็นส่่วนหนึ่่�งของโลกใบนี้้� เราจึึงเดิินหน้้าคู่่ ขนานไปกัับการรัักษาทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่่�งแวดล้้อม โดยมีีเป้้าหมายในการดููแลรัักษาโลกทั้้�งในระยะสั้้�นและ ระยะยาว” นางสาวสลิิลรััตน์์กล่่าว ซีีพีี-เมจิ ิ ชููแนวคิิด เพิ่่�มคุุณค่่าชี ี วิิต ต่่อยอดความยั่่�งยืืน หนุุนเกษตรกรโคนม นางสาวส นางสาวสลิลิิลรััตน์น์์ พงษ์ษ์์พานินิิช


43 ห้าดาว (Five star) ร่วมมือกับ BSGF ผู้ดำำเนิน ธุรกิจผลิตและจำำหน่ายเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพแบบ ยั่งยืน ส่งต่อนำำน้้ำำมันปรุงอาหารใช้แล้ว ไม่ทิ้ง ไม่ทอด มาผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานยั่งยืน (Sustainable Aviation Fuel : SAF) ภายใต้โครงการ “ทอดไม่ทิ้ง” พร้อม ขับเคลื่อนร้านห้าดาว 5,000 สาขาทั่วประเทศ เข้าร่วม โครงการภายในปี 2567 ผลักดันนวัตกรรมสีเขียว เพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน นายสุนทร จักษุกรรฐ์ กรรมการผู้จัดการ ธุรกิจห้าดาว และร้านอาหาร บริษัท ซีพีเอฟ เรสเทอรองท์ แอนด์ ฟู้ด เชน จำำกัด ในกลุ่ม บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า ห้าดาวร่วมโครงการ “ทอดไม่ทิ้ง” กับบริษัท บีเอสจีเอฟ จำำกัด หรือ BSGF ภายใต้การร่วมลงทุนของ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำำกัด (มหาชน) กับ บริษัท ธนโชคออยล์ ไลท์ จำำกัด และ บริษัท บีบีจีไอ จำำกัด (มหาชน) เพื่อดำำเนินธุรกิจ ผลิตและจำำหน่ายเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพแบบยั่งยืน (Sustainable Aviation Fuel) หรือ SAF จากน้้ำำมันใช้ แล้ว โดย BSGF เป็นผู้ที่รับน้้ำำมันจากห้าดาวและเถ้าแก่ ห้าดาวถึงจุดขาย ในเฟสแรกห้าดาวร่วมกับเถ้าแก่ห้าดาว รวม 139 สาขา ทั้งในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เข้า ร่วมโครงการทอดไม่ทิ้ง และตั้งเป้าขยายสาขาเข้าร่วมโครง การฯ จำำนวน 5,000 สาขา ภายในปี 2567 “ธุรกิจห้าดาว ผูดำำ้ เนินธุรกิจจุดจำำหน่ายอาหารในรูป แบบแฟรนไชส์ ที่ช่วยสร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้คนไทย เป็นเถ้าแก่เติบโตบนเส้นทางธุรกิจอย่างยังยืน มานานกว่า ่ 39 ปี ปัจจุบันมีผู้แฟรนไชส์รวม 5,000 รายในประเทศไทย ห้าดาวมีนโยบายสำำคัญในการตัดวงจรน้้ำำมันทอดซ้้ำำ ทีถือ่ เป็นอีกหนึ่งความใส่ใจสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ดำำเนินการ มาอย่างต่อเนื่อง ความร่วมมือกับบางจากในครั้งนี้ เป็น ส่วนหนึ่งในการผลักดันนวัตกรรมสีเขียวเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน” นายสุนทร กล่าว นายนิพนธ์ เลิศทัศนีย์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บางจาก กล่าวว่า โครงการ “ทอดไม่ทิ้ง” โดย BSGF เป็นการรณรงค์ให้ประชาชน “ไม่ทิ้ง” น้้ำำมันปรุงอาหาร ใช้แล้วสู่พื้นที่สาธารณะ ป้องกันปัญหาการทิ้งของเสียอย่าง ไม่ถูกวิธี ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และ “ไม่ ทอดซ้้ำำ” ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพ โดยเชิญชวนประชาชนและผู้ประกอบการนำำน้้ำำมัน ปรุงอาหารใช้แล้ว มาจำำหน่ายทีสถานีบ่ริการบางจากหรือ จุดรับซอที ื้บ่ริษัทฯ กำำหนด เพือ่นำำไปผลิตเป็นน้้ำำมันเครองื่ บิน SAF ที่ตอบโจทย์โมเดลเศรษฐกิจ BCG ทั้ง BioCircular-Green Economy เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจ หมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว ได้อย่างครบวงจร. ห้้าดาว จัับมืือ BSGF ส่่งต่่อน้้ำมัันใช้้แล้้ว ผลิิตเป็็นเชื้้�อเพลิิงอากาศยานชีีวภาพแบบยั่่�งยืืน


44 มููลนิิธิิร่่วมด้้วยช่่วยกัันสำำนึึกรัักบ้้านเกิิด ผนึึกกรมส่่ง เสริิมการเกษตร บริิษััท ทรูู คอร์์ปอเรชั่่น จำำกััด (มหาชน) จััดโครงการคััดเลืือกเกษตรกรสำำนึึกรัักบ้้านเกิิด ประจำำปีี พ.ศ. 2566 ครั้้งที่่ 15 ภายใต้้แนวคิิด “ผู้้ประกอบการเกษตร อััจฉริิยะ (Smart Agri-Entrepreneur)” พร้้อมประกาศ ผลรางวััลเกษตรกรสำำนึึกรัักบ้้านเกิิดดีีเด่่น ตามเป้้าหมาย อุุดมการณ์์สำำนึึกรัักบ้้านเกิิด มุ่่งมั่่นตอบแทนคุุณแผ่่นดิิน เป็็นต้้นแบบของเกษตรกร รวมถึึงผู้้ที่่ต้้องการประกอบ อาชีีพเกษตรกร คุุณบุุญชััย เบญจรงคกุุล ประธานกรรมการมููลนิิธิิ ร่่วมด้้วยช่่วยกัันสำำนึึกรัักบ้้านเกิิด กล่่าวในฐานะผู้้ริิเริ่่ม โครงการว่่า มููลนิิธิิร่่วมด้้วยช่่วยกัันสำำนึึกรัักบ้้านเกิิด ก่่อตั้้ง ขึ้้นเมื่่อปีี พ.ศ.2542 ด้้วยความตั้้งใจที่่จะร่่วมกัันสร้้างสรรค์์ และพััฒนาสัังคมไทย โดยมููลนิิธิิฯได้้ดำำเนิินกิิจกรรมที่่ เป็็นประโยชน์์ต่่อสัังคมและประเทศ ภายใต้้ 3 กิิจกรรม หลััก ได้้แก่่ โครงการสำำนึึกรัักบ้้านเกิิด สนัับสนุุนด้้านการ ศึึกษา กิิจกรรมอาสาร่่วมด้้วยช่่วยกััน ช่่วยเหลืือทุุกความ เดืือดร้้อน และกิิจกรรมเพื่่อสัังคม ผ่่านเจ้้าหน้้าที่่อาสา สมััครทั่่วประเทศ และโครงการคััดเลืือกเกษตรกรสำำนึึก รัักบ้้านเกิิด ซึ่่งเดิินทางมาเป็็นปีีที่่ 15 จนปััจจุุบัันมีีเครืือ ข่่ายเกษตรกรสำำนึึกรัักบ้้านเกิิดประสบความสำำเร็็จในอาชีีพ เกษตรกรมากมายและส่่งต่่อแรงบัันดาลใจในการทำำเกษตร อย่่างยั่่งยืืน “ในปีีนี้้� ได้้กำำหนดแนวคิิดการคััดเลืือกเกษตรกร สำำนึึกรัักบ้้านเกิิด ภายใต้้กรอบ ผู้้ประกอบการเกษตร อััจฉริิยะ (Smart Agri-Entrepreneur) โดยส่่งเสริิมให้้ เกษตรกรสร้้างมููลค่่าเพิ่่�มและต่่อยอดในเชิิงการตลาดโดย มีีจิิตวิิญญาณของการเป็็นผู้้ประกอบการ รู้้จัักการบริิหาร จััดการและใช้้เทคโนโลยีีในการผลิิต แปรรููป และการจััด จำำหน่่าย มุ่่งเน้้นการรวมกลุ่่มของเกษตรกร สนัับสนุุน การรวมกลุ่่มของเกษตรกรรายย่่อย ขยายโอกาสทาง ตลาด ลดต้้นทุุน เพิ่่�มมููลค่่าของสิินค้้า และสร้้างรายได้้ กระจายสู่่ชุุมชนรวมถึึงการแข่่งขัันกัับต่่างประเทศ เพื่่�อ เป็็นผู้้ประกอบการเกษตรอััจฉริิยะซึ่่�งต้้องมีีความเป็็นผู้้นำำ รู้้เท่่าทัันการเปลี่่�ยนแปลงของโลกและให้้ความสำำคััญกัับ ความยั่่�งยืืน โดยมีีความคาดหวัังว่่าโครงการนี้้จ�ะเป็็นส่่วน หนึ่่�งของการยกระดัับคุุณภาพชีวิีิตของเกษตรกร และภาค การเกษตรของประเทศไทย” คุุณบุุญชััยกล่่าว คุุณบุุญสิิงห์์ วริินทร์์รัักษ์์ ที่่ปรึึกษารััฐมนตรีีว่่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ กล่่าวว่่า การดำำเนิินงาน ของกรมส่่งเสริิมการเกษตรต้้องบููรณาการการทำำงานกัับ ทุุกภาคส่่วน โดยยกตััวอย่่างโครงการประกวดเกษตรกร สำำนึึกรัักบ้้านเกิิด ซึ่่งจััดขึ้้นอย่่างต่่อเนื่่องถึึง 15 ปีี นัับเป็็น บทบาทที่่สำำคััญในการส่่งเสริิม สนัับสนุุน พััฒนาองค์์ความรู้้ เทคโนโลยีีเกษตรสมััยใหม่่ และเชิิดชููเกษตรกรที่่มีีศัักยภาพ ในการเป็็นเกษตรกรต้้นแบบ สร้้างแรงจููงใจให้กั้ับคนรุ่่นใหม่่ ที่่สนใจในอาชีีพเกษตรยุุคใหม่่ ทำำ ให้้เกษตรกรมีคุีุณภาพชีวิีิต ที่่ดีี สามารถพึ่่งพาตนเอง และสร้้างความเข้้มแข็็งให้้กัับ ชุุมชน และคาดหวัังว่่าโครงการนี้้จะเป็็นพลัังสำำคััญในการ ขัับเคลื่่อนพััฒนาภาคการเกษตรของไทย ให้้เกิิดความเข้้ม แข็็ง มั่่นคง และยั่่งยืืน คุุณกฤษ อุุตตมะเวทิิน รองอธิิบดีีกรมส่่งเสริิม เกษตรกรสำนึึกรัักบ้้านเกิิด ปีี 66 ผู้้ประกอบการเกษตรอััจฉริิยะ (Smart Agri-Entrepreneur)


45 การเกษตร กล่่าวว่่า กรมส่่งเสริิมการเกษตร มีีบทบาท สำำคััญในการขัับเคลื่่อนนโยบายด้้านการพััฒนาเกษตรกร ของรััฐบาลและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ โดยได้ดำ้ ำเนิิน การขัับเคลื่่อนงานตามแผนปฏิบัิติัิราชการ ระยะ 5 ปีี (พ.ศ. 2566 – 2570) ตามวิิสััยทััศน์์ที่่ว่่า “เกษตรกรมีีความเข้้ม แข็็ง มีีคุุณภาพชีีวิิตที่่�ดีี และมีีรายได้้เพิ่่�มขึ้้�น” กรมส่่งเสริิมการเกษตร ได้้ร่่วมกัับมููลนิิธิิร่่วมด้้วยช่่วย กัันสำำนึึกรัักบ้้านเกิิด จััดกิิจกรรมประกวด “เกษตรกรสำำนึึก รัักบ้้านเกิิด” อย่่างต่่อเนื่่อง เพื่่อสนัับสนุุนเกษตรกรที่่มีี ศัักยภาพในการเป็็นต้้นแบบ มีีแนวคิิดและการปฏิิบััติิด้้าน นวััตกรรมและการใช้้องค์์ความรู้้ต่่างๆ มาพััฒนาต่่อยอด เพื่่อเพิ่่มมููลค่่าให้้ผลผลิิต รวมถึึงการพึ่่งพาตนเอง สู่่การ สร้้างความมั่่นคงและยั่่งยืืน แก่่คุุณภาพชีีวิิตของตนเอง สัังคม และชุุมชน โดยมุ่่งมั่่นที่่จะพััฒนาภาคการเกษตร ของไทย ให้้มีีความเข้้มแข็็ง มั่่นคง ยั่่งยืืน และก้้าวไกลยิ่่ง ขึ้้นไป และสิ่่งสำำคััญยิ่่งคืือช่่วยให้้เกษตรกรมีีความอยู่่ดีมีี สุีุข ได้้อย่่างแท้้จริิง คุุณชารััด เมห์์โรทรา รองประธานคณะผู้้บริิหาร บริษัิัท ทรูู คอร์์ปอเรชั่่น จำำกััด (มหาชน) กล่่าวว่่า ในฐานะ ที่่เป็็นผู้้นำำด้้านเทเลคอม เทคคอมปานีีของประเทศไทย ทรูู คอร์์ป มีีความมุ่่งมั่่นสนัับสนุุนพัันธกิิจสำำคััญของมููลนิิธิิ ร่่วมด้้วยช่่วยกัันสำำนึึกรัักบ้้านเกิิดเพื่่อยกระดัับมาตรฐาน เกษตรกรไทย ทรููเชื่่อมั่่นเป็็นอย่่างยิ่่งถึึงศัักยภาพของเกษตร ไทยในการขัับเคลื่่อนเศรษฐกิิจและสัังคมไทยให้้เติิบโต ที่่ เสริิมด้้วยโครงข่่ายสััญญาณที่่แข็็งแกร่่งของ ทรูู โซลููชัันส์์ ใหม่่ๆ ด้้าน สมาร์์ทอะกริิคััลเจอร์์ และเพิ่่มการเข้้าถึึงองค์์ ความรู้้ต่่างๆ ให้้แก่่เกษตรกร เมื่่อเกษตรกรมีีทัักษะดิิจิิทััล และสามารถเข้้าถึึงโซลูชัูันส์์ จะเป็็นการเพิ่่มศัักยภาพให้้แก่่ ตนเองและอุุตสาหกรรมการเกษตรอย่่างสููงสุุด “ผมขอแสดงความยิินดีีแก่่ผู้้ชนะรางวััลเกษตรกร สำำนึึกรัักบ้้านเกิิดประจำำปีี 2566 และขอยกย่่องจิิต วิิญญาณแห่่งการเป็็นผู้้ประกอบการรุ่่นใหม่่” เกษตรกรที่่�ได้้รัับรางวััลในปีี 2566 ได้้แก่่ รางวััลชนะเลิิศ คุุณวิิชััย กำำเนิิดมงคล เกษตรกร จาก Coffee De Hmong กาแฟเดอม้้ง จัังหวััดน่่าน พััฒนากาแฟไทยคู่่กัับการรัักษาผืืนป่่า โดยให้้ตลาดนำำการ ผลิิต ใช้้นวััตกรรมเสริิม เพิ่่มรายได้้ให้้แก่่คนในชุุมชนอย่่าง ยั่่งยืืน โดยเป้้าหมายหลัักในการทำำแบรนด์คื์ ือต้้องการสื่่อถึึง วััฒนธรรมความเป็็นชาติิพัันธุ์์ม้้ง รางวััลรองชนะเลิิศอัันดัับ 1 คุุณอุุมาริินทร์์ เกตพููล ทอง เกษตรกรจากวิิสาหกิิจชุุมชนปลาสลิิดเกษตรพััฒนา จัังหวััดสมุุทรสาคร พบปััญหาราคาปลาตกต่ำำจากพ่่อค้้า คนกลาง จึึงคิิดต่่อยอดผลิิตภััณฑ์์ แปรรููปเพิ่่มมููลค่่า ได้้ มาตรฐาน ให้้ความสำำคััญกัับผู้้บริิโภค ตามแนวคิิด “สะอาด STANDARD สะดวก” รางวััลรองชนะเลิิศอัันดัับ 2 คุุณณััฎฐเอก อรุุณ โชติิ จากสวนธรรมวััฒน์์ จัังหวััดชุุมพร การนำำมัังคุุดไป แปรรููป สร้้างความยั่่งยืืน กัับการหาความลงตััวตามปรััชญา “เศรษฐกิิจพอเพีียง” โดยใช้้โมเดล กิินอยู่่อย่่างพอเพีียง “โคกหนองนา” ลดต้้นทุุนและแรงงานการผลิิต วางระบบ น้ำำ ใช้ปุ๋๋ ้ �ยหมัักชนิิดน้ำำผ่่านระบบท่่อ เพิ่่มความชื้้นในอากาศ ในช่่วงที่่มัังคุุดออกผลผลิิต.


46 ผู้้เชี่่�ยวชาญด้้านอาหาร ย้ำ ำ� กระบวนการผลิิตอาหารใน อุุตสาหกรรมที่่ผ่�่านมาตรฐานสากล เป็็นหลัักประกัันความ สะอาด ปลอดภััย ผู้้บริิโภคสามารถมั่่�นใจได้้ในคุุณภาพและ ความปลอดภััย พร้้อมแนะ ผลิิตภััณฑ์์อาหารที่่อุ่่�นร้้อนแล้้ว ควรรัับประทานทัันทีี เพื่่�อป้้องกัันการปนเปื้้�อนในอาหาร จากจุลิุินทรีย์ี์ สััตว์์ และแมลงต่่างๆ หากยัังไม่่รัับประทาน ให้้แช่่เย็็นเพื่่�อรัักษาความสด สะอาด และความปลอดภััย รองศาสตราจารย์์ ดร.อิินทาวุุธ สรรพวรสถิิตย์์ รอง คณบดีีคณะวิิทยาศาสตร์์ อาจารย์์ประจำำภาควิิชาเทคโนโลยีี ทางอาหาร คณะวิิทยาศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย กล่่าวว่่า ผลิิตภััณฑ์์อาหารแปรรููป และผลิิตภััณฑ์์เนื้้อสััตว์์ แปรรููป เป็็นอาหารที่่ผลิิตจากวััตถุุดิิบทางการเกษตร เช่่น เนื้้อสััตว์์ พืืชผััก ผลไม้้ ที่่นำำมาผ่่านกระบวนการแปรรููป ด้้วยเทคโนโลยีี ไม่่ว่่าการให้้ความร้้อน ความเย็็น หรืือวิิธีี ใดก็็ตาม เปลี่่ยนเป็็นอาหารปรุุงรสสำำเร็็จ พร้้อมรัับประทาน เพื่่อยืืดอายุุการเก็็บรัักษาให้้นานขึ้้น และอาหารมีีความ ปลอดภััยมากขึ้้น โดยยัังคงคุุณค่่าทางโภชนาการไว้้ ทำำ ให้ผู้้ ้ บริิโภครัับประทานง่่าย สะดวก และได้รั้ับคุุณค่่าทางอาหาร ที่่ร่่างกายต้้องการ ในอุุตสาหกรรมการผลิิตอาหาร ผู้้ผลิิตที่่ผ่่านการรัับรอง มาตรฐาน Good Manufacturing Practice หรืือ GMP ซึ่่งเป็็นหลัักเกณฑ์์และวิิธีีการปฏิิบััติิที่่ดีีในการผลิิตอาหาร นอกจากกระบวนการผลิิตจะได้้รัับมาตรฐานแล้้ว ยัังต้้องมีี ความปลอดภััยสููงสุุด มีีการควบคุุมหลายด้้าน เช่่น ควบคุุม แมลง หรืือสััตว์์ที่่เป็็นพาหะนำำ โรค ควบคุุมอุุณหภููมิิ ทั้้งใน กระบวนแปรรููป กระบวนการทำำ ให้้สุุก และอุุณหภููมิิการ เก็็บรัักษา มีีการตรวจสอบทุุกขั้้นตอนการผลิิต ซึ่่งจะมีีการ สุ่่มตรวจผลิิตภััณฑ์์อยู่่เป็็นประจำำตามข้้อกำำหนด หรืือตาม ระยะเวลาที่่กำำ หนด ให้้มั่่นใจว่่าจะไม่่มีีสิ่่งที่่เป็็นอัันตรายมา ถึึงผู้้บริิโภค รองศาสตราจารย์์ ดร.อิินทาวุุธ แนะนำำว่่า ผู้้บริิโภค ควรเลืือกซื้้อผลิิตภััณฑ์์อาหารแปรรููปและเนื้้อสััตว์์แปรรููป จากผู้้ผลิิตที่่มั่่นใจได้ว่้่ามีีมาตรฐาน สัังเกตจากตราสััญลัักษณ์์ ข้้อกำำหนดมาตรฐานที่่ผู้้ผลิิตใช้รั้ับรอง อาทิิ ระบบมาตรฐาน ผลิิตภััณฑ์์อุุตสาหกรรม GMP HACCP หรืือ มาตรฐาน อื่่นๆ ที่่บ่่งบอกถึึงคุุณภาพและความปลอดภััยของอาหาร รวมถึึงพิิจารณาสลากผลิิตภััณฑ์์ ซึ่่งเป็็นข้้อมููลที่่ผู้้บริิโภค ต้้องให้้ความสำำคััญโดยเฉพาะ วัันเดืือนปีีที่่หมดอายุุ หรืือ วัันเดืือนปีีที่่ผลิิต รวมถึึงล็็อตการผลิิต ที่่สามารถตรวจสอบ ย้้อนกลัับไปได้้ถึึงตั้้งแต่่วัันผลิิต หรืือใช้้เนื้้อสััตว์์ล็็อตใด โดย มีีการบัันทึึกไว้้ตลอดทุุกขั้้นตอน หากมีีความผิิดปกติิเกิิดขึ้้น จะทำำ ให้้ตรวจสอบได้ว่้่าเกิิดขึ้้นที่่ขั้้นตอนใด นอกจากนี้้สลาก ยัังระบุถึึุงองค์์ประกอบต่่างๆ ของอาหาร รวมถึึงคุุณค่่าทาง โภชนาการและประโยชน์์จากสารอาหารที่่จะได้รั้ับ ผู้้บริิโภค ผู้ ้ เชี่่�ยวชาญ ย้้ำกระบวนการผลิิตอาหารแปรรููป สะอาด ปลอดภััย ผู้ ้ บริิโภคมั่่�นใจได้ ้


47 ควรพิิจารณาเพื่่อที่่จะได้้มั่่นใจว่่าอาหารที่่รัับประทานเป็็น ประโยชน์์ และเหมาะต่่อสุุขภาพร่่างกายของผู้้บริิโภค “ผู้้บริิโภคที่่�เลืือกซื้้�อผลิิตภััณฑ์์เนื้้�อสััตว์์แปรรููปจากผู้้ จำำหน่่ายในตลาดสด หรืือสตรีีทฟู้ด ใ้ห้้สอบถามผู้้จำำหน่่าย ว่่า ผลิิตภััณฑ์์เป็็นของผู้้ผลิิตใด หากไม่่ทราบ หรืือมีีแหล่่ง ที่่�มาไม่่ชััดเจน ขาดความน่่าเชื่่�อถืือ ควรหลีีกเลี่่�ยงเพื่่�อ ความปลอดภััย” รองศาสตราจารย์์ ดร.อิินทาวุุธ ย้ำำ รองศาสตราจารย์์ ดร.อิินทาวุุธ แนะนำำเพิ่่มเติิมว่่า ผลิิตภััณฑ์์อาหารแปรรููปและเนื้้อสััตว์์แปรรููป แม้้จะเป็็น ผลิิตภััณฑ์์ที่่ผ่่านกระบวนการทำำ ให้้สุุกแล้้ว รัับประทานได้้ ทัันทีี แต่่ต้้องเก็็บแบบแช่่เย็็นไว้้ในตู้้เย็็นที่่อุุณหภููมิิต่ำำ เพื่่อ ป้้องกัันทั้้งจุุลิินทรีีย์์ที่่ก่่อโรค และจุุลิินทรีีย์์ที่่ไม่่ก่่อโรคที่่จะ ทำำ ให้้เกิิดการเสื่่อมเสีียที่่ตััวของผลิิตภััณฑ์์ ส่่วนผลิิตภััณฑ์์ที่่ อุ่่นแล้้ว เปิิดแล้้ว แนะนำำ ให้รั้ับประทานในทัันทีี หากเก็็บไว้้ มีีโอกาสที่่จะเกิิดการปนเปื้้�อนของจุลิุินทรีย์ี์ สััตว์์เลื้้อยคลาน แมลง หรืือไข่่แมลงต่่างๆ ทั้้งนี้้ขึ้้นอยู่่กัับสภาวะแวดล้้อม โดยรอบ จึึงต้้องระมััดระวััง ดัังนั้้นหากยัังไม่่รัับประทาน ควรเก็็บในอุุณหภูมิูิแช่่เย็็นเพื่่อป้้องกัันปััจจััยต่่างๆ ดัังกล่่าว “สำำ หรัับปริิมาณในการรัับประทานเนื้้�อสััตว์์แปรรููป ในกลุ่่มไส้้กรอก อาจต้้องคำำนึึงว่่าข้้างในมีีองค์์ประกอบ ของโปรตีีนและไขมัันเป็็นหลััก ควรพิจิารณาจำำกััดปริิมาณ ให้้พอเหมาะ เพื่่�อไม่่ให้้ร่่างกายได้้รัับพลัังงานที่่�มาจาก ไขมัันมากจนเกิินไป เพราะร่่างกายต้้องการสารอาหาร ที่่�หลากหลายครบหมู่่ ไม่่ใช่่เฉพาะโปรตีีน ไขมััน หรืือ คาร์์โบไฮเดรตเท่่านั้้�น รวมถึึงเกลืือแร่่และวิิตามิินด้้วย เพื่่�อ ให้้ร่่างกายได้้รัับสารอาหารตามที่่�ต้้องการอย่่างครบถ้้วน เพีียงพอ” รองศาสตราจารย์์ ดร.อิินทาวุุธ กล่่าว รองศาสตราจารย์์ ดร.อิินทาวุุธ สรรพวรสถิิตย์์


48


49 มหกรรมการเกษตรและท่่องเที่่�ยวถนนสายดอกไม้้ งามริิมกว๊๊านพะเยา ณ ริิมกว๊๊านพะเยา” จัังหวััดพะเยา ระหว่่างวัันที่่� 25 ธัันวาคม 2566 - 3 มกราคม 2567 นายประยููร อิินสกุุล ปลััดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ เปิิดเผยภายหลัังแถลงข่่าวการจััดงาน “มหกรรมการเกษตร และท่่องเที่่�ยวถนนสายดอกไม้้งามริิมกว๊๊านพะเยา ณ ริิม กว๊๊านพะเยา” ภายใต้้แนวคิิด “อิ่่�มไอหนาว แอ่่วม่่วนลำำ @ กว๊๊านพะเยา” ซึ่่งจะจััดขึ้้นระหว่่างวัันที่่ 25 ธัันวาคม 2566 - 3 มกราคม 2567 ณ จัังหวััดพะเยา ร่่วมกัับนาย บำำรุุง สัังข์์ขาว รองผู้้ว่่าราชการจัังหวััดพะเยา รัักษาการ แทนผู้้ว่่าราชการจัังหวััดพะเยา นายสยาม ปรีีชา รองปลััด องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดพะเยา และนายณััฐ ครุุฑสููตร ผู้้อำำนวยการฝ่่ายกิิจกรรมการท่่องเที่่ยวแห่่งประเทศไทย ณ ห้้องประชุุม 115 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ว่่า การจััดงานดัังกล่่าวมีวัีัตถุุประสงค์์เพื่่อเป็็นการเผยแพร่่ ความรู้้ในการส่่งเสริิมการเกษตรระดัับพื้้นที่่ให้้ครบทั้้งระบบ การผลิิตสิินค้้าเกษตร ตั้้งแต่่ต้้นน้ำำ กลางน้ำำ และปลายน้ำำ เผยแพร่่ความรู้้นวััตกรรมด้้านการผลิิต การตลาด ทั้้งพืืช สััตว์์ และประมง และเชื่่อมโยงการจััดกิิจกรรมทางภาค การเกษตรในพื้้นที่่ภาคเหนืือตอนบนที่่มีีจุุดแข็็งในสิินค้้า อััตลัักษณ์์ GI เช่่น ลิ้้นจี่่ฮงฮวย ข้้าวก่ำำล้้านนา ข้้าวหอม มะลิิ-จัังหวััดพะเยา สัับปะรดภููแล-จัังหวััดเชีียงราย กาแฟ เทพเสด็็จ-จัังหวััดเชีียงใหม่่ รวมทั้้งเป็็นโอกาสอัันดีีในการเผยแพร่่ความรู้้ นวััตกรรมด้้านการผลิิต การตลาด ทั้้งด้้านพืืช ประมง และ ปศุุสััตว์์ เชื่่อมโยงการจััดกิิจกรรมทางการเกษตรในระดัับ ภููมิิภาคสร้้างงานเกษตร ขยายแหล่่งท่่องเที่่ยวเชิิงเกษตร และสร้้างรายได้้ให้้กัับชุุมชนอย่่างยั่่งยืืน โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ได้จั้ัดเตรีียมการแสดง นิิทรรศการต่่าง ๆ จากทุุกหน่่วยงาน ในสัังกััดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์์ รวมทั้้งการจำำหน่่ายสิินค้้าเกษตร และ บริิการต่่าง ๆ ตลอดระยะเวลา 10 วััน 10 คืืน ระหว่่าง วัันที่่ 25 ธัันวาคม 2566 ถึึงวัันที่่ 3 มกราคม 2567 ณ ริิมกว๊๊านพะเยา จำำ นวน 12 บููธ ประกอบด้้วย 1) ศููนย์์บริิการเกษตรพิิรุุณราช ให้้บริิการด้้าน การเกษตรจากแพลตฟอร์์มแอพพลิิเคชั่่นของทุุกหน่่วยงาน ในสัังกััดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ 2) ธุุรกิิจเกษตร จััดกิิจกรรมเจรจาธุุรกิิจ การค้้า ออนไลน์์ และธุุรกิิจสมััยใหม่่ 3) นวััตกรรมเกษตรทัันสมััย ทางเลืือกใหม่่ของ เกษตรกร แนะนำำนวััตกรรมพืืชพัันธุ์์ดีี แนวคิิด BCG Model การใช้้สารชีีวภััณฑ์์ การสร้้างมููลค่่าเพิ่่มจากวััสดุุ ทางการเกษตร และนวััตกรรมเครื่่องจัักรกลเกษตร 4) ฝึึกปฏิิบััติิเรีียนรู้้ด้้านการเกษตร สอนให้้คิิดเป็็น ทำำ ได้้ ผลิิตได้้ ขายได้้ 5) ตำำนานกว๊๊านพะเยา 6) การบริิหารจััดการน้ำำด้้านชลประทาน 7) โต้้งนาคำำกิินข้้าวหอมมะลิิไทย ส่่งเสริิมศููนย์์ข้้าว ชุุมชน 8) งานประกวดแสดงสิินค้้าเกษตรสวยงาม 9) ฝน หลวง 10) สล่่าศิิลป์์ 11) โครงการพระราชดำำริิ และ 12) จำำหน่่ายสิินค้้าเกษตร สิินค้้าอััตลัักษณ์์ ผลผลิิตสด หรืือแปรรููป อาหารพร้้อมรัับประทานที่่ผลิิตจากวััตถุดิุิบที่่ได้้ รัับมาตรฐานซุ้้มบริิการเครื่่องดื่่ม และเวทีีดนตรีีสด “การจััดงานมหกรรมการเกษตรฯ ในครั้้�งนี้้� จะทำำ ให้้ ประชาชนได้้เห็็นผลงานด้้านเกษตร สร้้างการกระตุ้้น เศรษฐกิิจทั้้�งการภาคการท่่องเที่่�ยวและภาคเกษตรของ จัังหวััดพะเยา และระดัับภููมิิภาคเพิ่่�มขึ้้�น รวมทั้้�งพี่่�น้้อง เกษตรกรและประชาชนได้้นำำองค์์ความรู้้ที่่�ได้้รัับจากการ ศึึกษาดููงาน การเรีียนรู้้ การฝึึกปฏิิบััติิ โดยใช้้นวััตกรรม เทคโนโลยีี และ การบริิการเกษตรสมััยใหม่่ไปต่่อยอดให้้ เกิิดประโยชน์์ต่่อไปด้้วย” ปลััดเกษตรฯกล่่าว. ถนนสายดอกไม้้งาม ริิมกว๊๊านพะเยา


50


Click to View FlipBook Version