รายงานการศึกษาค้นคว้า
เรื่อง ชนเผ่าแม่ฮ่องสอน
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาโรช สอาดเอี่ยม
จัดทำโดย
นางสาว นุชนาฎ พงศ์ไพรสกุล รหัส 6310540131022
ภาคปกติ ห้อง 1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า รหัสวิชา GE4005
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
ก
คำนำ
อตเคเ่ชพยาื่วู่่นงขอากมอๆตรางเำปารคว็ริยศนนเาึคงกมใาหรนษานานขสาัะเคงมอล้ัห่สน์งยืมแอชโคนลีบน้วจห้ะรัเาดเนผาั่พทืรณงา่อำหสัืภใขอสึ้หานพ้วิิษเเชขมพ้าืาาพ่ปอ์ใวGรเจปาะEค็ุรนจ4ณสำส0่าเค0ว่ผร่า5นาคหห้เวโอพนดืึา่่งงอมยสขใไซมหอดุ้า้ดงไศบึดรก้ซแาศึษ้ึลงยกาถะวษึิผงช่าแาวาัหหนฒาเลแน่ทคหงธควคลร่าโวงรนมาคมโรมูว้ลใรแาูยน้ีจมลสเาระรืาู่้กอตคร่เงวาสวป็งานบๆมรเไะทเชอปวศ็ัตาต์นิทิ
ผู้จัดทำหวังว่ารายงานเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อนักเรียน ผู้อ่าน ที่สนใจใน
ผกปาลรรงะปาวันฎติิขคบัอวติงาตรมุน่นเเปกพ็่ื่นออมนเขาไ้มขา่ใใอหจง้ถสชึงาาวบวิถสแีูชญมี่วฮิไ่ตอปขงอถส้งาอคมนีนข้หชอรนผืิอดเผสพ่านลใในาจดสใในมัดชยกนๆ่อเผกน่็าขอสอืยบอาสภักายหนมาาแแลนณะวอทที่นานุี้รงักในษ์
จัดทำโดย
นางสาวนุชนาฎ พงศ์ไพรสกุล
23 สิงหาคม 2565
ข
สารบัญ หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
ประวัติความเป็นมาของชาวแม่ฮ่องสอน
หลากหลายชาติพันธุ์ แห่งเมืองสามหมอก 1
ชาวไทใหญ่ 2-3
ชาวปกาเกอะญอ 4-5
ชาวม้ง 6-7
ชาวจีนยูนนาน 8-9
ลาหู่แชแล หรือลาหู่ดำ 10-11
บรรณานุกรม 12-13
14
1
ประวิติความเป็นมาของชาวแม่ฮ่องสอน
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้ามโหตรประเทศผู้ครอง
นครเชียงใหม่ โปรดให้เจ้าแก้วเมืองมาออกไปจับช้างที่ป่าบริเวณนั้น เจ้าแก้วเมืองมาออก
เดินทางจนถึงที่แห่งหนึ่งทางทิศใต้ริมฝั่งแม่น้ำปาย เห็นว่าเหมาะสมกับการตั้งบ้านเมืองจึง
รวบรวมผู้คนชาวไทยใหญ่ในแถบบริเวณนั้นเข้ามาตั้งเป็น บ้านโป่งหมู เพราะมีหมูป่าลง
กินโป่งชุมชุม เมื่อเจ้าแก้วเมืองมาจัดตั้งบ้านโป่งหมูเรียบร้อยแล้วก็ได้เดินทางต่อไปทางใต้
เพื่อคล้องช้างป่าจนถึงลำห้วยแห่งหนึ่ง จึงได้หยุดพักทำการคล้องช้างและตั้งคอกฝึกช้าง
พร้อมทั้งรวบรวมผู้คนให้มาตั้งบ้านเรือนในแถบบริเวณนี้อีก และเรียกชื่อว่า บ้านแม่ร่อง
สอน และเมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย จังหวัดแม่ฮ่องสอนจึงมี
ฐานะเป็นจังหวัดหนึ่งของเมืองไทย สืบมาจนถึงปัจจุบันนี้
ข้อมูลทั่วไป
- ทิศเหนือ ติดต่อกับ พม่า
- ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดตาก
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับ พม่า
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดเชียงใหม่
2
3
หลากหลายชาติพันธุ์ แห่งเมืองสามหมอก
แม่ฮ่องสอนมีกลุ่มชาติพันธุ์อยู่ถึง 12 กลุ่มด้วยกัน คือ ไทใหญ่ ปกาเกอะญอ ลาหู่แช
แล ลาหู่แดง เลอเวือะ ม้ง ลูซู จีนยูนนาน โปว์ กะยัน (กระเหรี่ยงคอยาว) กะยา และปะโอ
4
5
ชาวไทใหญ่
1.ชาวไทใหญ่ อาศัยอยู่ในแม่ฮ่องสอนมานานกว่า 150 ปี เราพบชาวไทใหญ่ได้ใน
ทุกอำเภอ ยกเว้นอำเภอสบเมย
จุดเด่น – ประเพณีปอยส่างลอง ปอยเหลินสิบเอ็ด บูชาจองพาราชาวไทใหญ่มักใส่กุ๊บไต
หรือหมวกสานอาหารไทใหญ่แสนอร่อย เช่น น้ำพริกถั่วเน่า ข้าวส้ม ข้าวกั๊นจั๊น แกงอุ๊บ
ขนมส่วยทะมิน
6
7
ชาวปกาเกอะญอ
2. ชาวปกาเกอะญอ เป็นชาวกลุ่มหนึ่งในตระกูลกะเหรี่ยง เป็นกลุ่มที่มีประชากร
มากที่สุด อาศัยกระจายตัวอยู่ในทุกอำเภอของจังหวัดแม่ฮ่องสอน
จุดเด่น – ผ้าทอกะเหรี่ยง เป็นงานฝีมือที่มีชื่อเสียงของชาวปกาเกอะญอ
8
9
ชาวม้ง
3. ชาวม้ง แต่เดิมอาศัยอยู่ในประเทศจีน ต่อมาอพยพมาอยู่ทางตอนเหนือของ
ประเทศไทย รวมถึงแม่ฮ่องสอน เราพบชาวม้งได้ที่บ้านห้วยมะเขือส้ม อำเภอเมือง
แม่ฮ่องสอน
จุดเด่น – ผ้าปักชาวม้งที่มีลวดลายสวยงามและประดับประดาด้วยเครื่องเงิน – การละ
เล่นโยนลูกช่วงหรือ “จุเป๊าะ” ของหนุ่มสาวในช่วงงานปีใหม่ม้ง เป็นการละเล่นเพื่อความ
สนุกสนาน เพื่อมิตรภาพ และยังเป็นการหาคู่ของหนุ่มสาวอีกด้วย
11
12
ชาวจีนยูนนาน
4.ชาวจีนยูนนาน โดยทั่วไปเราจะนึกถึงชาวจีนที่มาจากมณฑลยูนนานของ
ประเทศจีน แต่ชาวจีนยูนนานในจังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นชาวจีนยูนนานที่สืบเชื้อสายมา
จากครอบครัวของอดีต “กองกำลังทหารจีนคณะชาติ” ซึ่งเคยเข้ามาตั้งฐานที่มั่นอยู่ทาง
ภาคเหนือของประเทศไทย
จุดเด่น – ชาวจีน และอาหารจีนยูนนาน เช่น ขาหมูยูนนาน ทานคู่กับหมั่นโถวร้อนๆ ผัด
ยอดลันเตา หมูพันปี และลาบยูนนาน เป็นต้น ใครอยากรู้ว่าอาหารจีนยูนนานจะอร่อยแค่
ไหน ต้องไปเที่ยวที่หมู่บ้านสันติชล อำเภอปาย
13
14
ลาหู่แชแล หรือลาหู่ดำ
5.ลาหู่แชแล หรือลาหู่ดำ เป็นชนกลุ่มหนึ่งในตระกูลลาหู่ เราจะพบชาวลาหู่แชแลได้ที่บ้านจ่าโบ่
บ้านบ่อไคร้ และบ้านลุกข้าวหลาม ในอำเภอปางมะผ้า
จุดเด่น – การเต้นจะคึ ชาวลาหู่แชแลนับถือจิตวิญญาณและผีบรรพบุรุษ มีประเพณีทำบุญ ไหว้ผี
บรรพบุรุษ และประเพณีปีใหม่ลาหู่ ซึ่งในพิธีต่างๆ จะมีการเต้นจะคึ เพื่อสร้างขวัญกำลัง – เครื่อง
ดนตรี “แคนน้ำเต้า” ชาวลาหู่เชื่อว่าตัวเองถือกำเนิดมาจากน้ำเต้า เครื่องดนตรีอย่างแคนจึงมีน้ำเต้า
เป็นองค์ประกอบหลัก
บรรณานุกรม
ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวง
มหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึง
http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm Archived
2016-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.
ชื่อนางสาว นุชนาฎ นามสกุลพงศ์ไพรสกุล
รหัสนักศึกษา 6310540131022
สาขาวิชาเอกการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา
-โรงเรียนบ้านแม่จ๊าง อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น- มัธยมตอนปลาย
-โรงเรียนสังวาลย์วิทยา อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน