The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปํญหาสิ่งแวดล้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anisornphetnui, 2021-03-15 12:42:12

ปํญหาสิ่งแวดล้อม

ปํญหาสิ่งแวดล้อม

“When people put the environment first, development will last.
The Peoples, United for the Global Environment”

THE ENVIRONMENTAL PROBLEMS

ปญหาสิ งแวดล้อม

จัดทาํ โดย : อนิ ศร เพชรนุ้ย

บทนํ า

ในอดีตทีผ่านมา รัฐบาลไทย ได้มุ่งเน้ นและให้ความสําคัญ กับการเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ
เพียงด้านเดียว ยังผลให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม ถูกทาํ ลายลงอย่างมากและรวดเร็ว
จนขาดความสมดุล เกิดปญหาสิ งแวดล้อมและมลพิษต่าง ๆ และมีความรุ นแรงมากขึนตามลาํ ดับ
ซึงมีผลกระทบทังโดยทางตรงและทางอ้อมต่อชีวิตความเปนอยู่ทีดีของประชาชน แผนพัฒนา
เศรษฐกิจ และสั งคมแห่งชาติ ฉบับที 11 (2555 – 2559) ได้มีการปรับปรุ งแนวทางการพัฒนา
โดยให้ ความสําคัญในเรืองทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมเพิมขึน ส่ งเสริมให้องค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิน และประชาชนเข้ามามีส่ วนร่วมรับผิดชอบในการแก้ไขปญหา ได้เน้ นให้
ความสาคัญกับการพัฒนาคน โดยการฝกอบรมให้ความรู้เพือสร้างความตระหนั กและจิตสานึ ก
ของประชาชน ต่อปญหาทีเกิดขึน ซึงพอจะกล่าวได้ว่าจากการดาํ เนิ นงาน ตามแนวนโยบายด้าน
การพัฒนาและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมอย่างต่อเนื อง
ส่ งผลให้ประชาชนตระหนั กถึงปญหาสิ งแวดล้อมได้ ในระดับหนึ ง

อย่างไรก็ตามเราต้องยอมรับว่าปจจุบันปญหาสิ งแวดล้อมยังคงมีอยู่ มีการเปลียนแปลง
รู ปแบบอยู่ตลอดเวลาและมีความรุ นแรงมากขึนเรือย ๆ จะเห็นได้ว่ากรมการปกครองกระทรวง
มหาดไทย ซึงเปนหน่ วยงานทีรับผิดชอบกากับดูแลและสนั บสนุนองค์กรปกครองส่ วน ท้องถิน
ตลอดจนกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ งแวดล้อม กาํ ลังประสบปญหาอย่างหนั กจาก
การร้องเรียนของประชาชนหรือชุมชน แม้ว่าองค์กรปกครองส่ วนท้องถินในแทบทุกพืนทีของ
ประเทศ ได้เข้าไปช่วยแก้ไขปญหาข้อขัดแย้งต่าง ๆ ทีเกิดขึน โดยเฉพาะอย่างยิงปญหาสิ ง
แวดล้อมเปนพิษ ปญหาทีเกิดจากการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติและปญหาการหาพืนทีเพือใช้
สําหรับกาจัดของเสี ย ซึงจากเหตุการณ์ และข้อร้องเรียนต่าง ๆ ทาให้พอสรุ ปสาเหตุทีสาคัญของ
ปญหาสิ งแวดล้อมได้ คือ ประชาชนขาดการมีส่ วนร่วม ขาดจิตสานึ กทีจะรับผิดชอบต่อส่ วนรวม
คํานึ งถึงประโยชน์ ส่ วนตนเปน หลัก ขาดระเบียบวินั ย และอีกประการหนึ งคือประชาชนมองว่า
การพิทักษ์ รักษาและการแก้ไขปญหา สิ งแวดล้อมเปนหน้ าทีของรัฐไม่ใช่หน้ าทีของตน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม มีความสําคัญและจําเปนต่อมนุษย์เราเปนอย่างมาก
อีกทังอานวยประโยชน์ แก่มนุษย์ในด้านต่าง ๆ กล่าวคือ สามารถนํามาใช้ประกอบอาหาร เครือง
นุ่งห่ม ยารักษาโรค และทีอยู่อาศั ย หากขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมทีจาํ เปน
แล้ว ก็จะ ก่อให้เกิดปญหากับมนุษย์อย่างหลีกเลียงไม่ได้ และจะมีส่ วนทาให้เกิดความยากจน
แร้นแค้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงพบอยู่เสมอว่า ชุมชน ตาํ บล อําเภอ จังหวัด ขาดแคลน
ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ งแวดล้อมทีดี ย่อมแสดงให้เห็น ถึงความลาํ บากยากไร้
ของประชาชนในท้องถิน เนื องจากประชาชน ได้อาศั ยทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ทีมีอยู่ใน
ท้องถิน เพือการประกอบอาชีพ เช่น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรปาไม้ ทรัพยากรนา เปนต้น
นอกจากนี ปญหาด้านสิ งแวดล้อมซึงใกล้ชิดกับความเปนอยู่ของประชาชน เช่น มลพิษทาง
อากาศ มลพิษทางน้ าและขยะมูลฝอย ซึงถ้าไม่มีแนวทางทีดีในการจัดการ หรือแก้ไขแล้วนั น
ย่อมส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในทีสุด

ทกุ วนั นีสิงแวดลอ้ มเรมิ เสือมเสีย
อยา่ ออ่ นเพลยี ตอ้ งเข้มเเข็งไมล่ มื หลง

รกั ษาไวด้ ว้ ยใจรกั และมนั คง
เพือธาํ รงให้คงอยตู่ ลอดไป

ปญหาสิงแวดลอ้ ม

จากการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างฟุมเฟอย
สินเปลอื งเกนิ ความจําเปนและเกนิ กําลังผลิตของธรรมชาติ
อกี ทังยังปล่อยเศษสิงเหลือใช้ออกสู่สิงแวดลอ้ มจนเกนิ
ขีดความสามารถทสี ิงแวดล้อมจะรับและจดั การไดด้ ้วย
กระบวนการทางธรรมชาติ ส่งผลให้เกดิ การทําลายสมดุล
ของสิงแวดล้อมตามธรรมชาตลิ งอย่างรวดเรว็ และรุนแรง
จนกลไกธรรมชาตเิ องไม่สามารถปรับตวั ได้ทนั อีกทงั
การเพิมของประชากรโลกทาํ ให้เกดิ ปญหาสิงแวดลอ้ ม
3 ประการ คือ

1) ความเสือมโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติ
ในรูปของการร่อยหรอหรอื หมดไป

เนืองจากมีการใช้กนั อย่างไมป่ ระหยดั และไม่รูค้ ุณค่า
ทงั ทรัพยากรนา ปาไม้ สัตว์ปา ฯลฯ

2) ภาวะมลพิษในสิงแวดลอ้ มหรือทีเรยี กว่า
ความเสือมโทรมของคุณภาพสิงแวดลอ้ ม

ซึงส่งผลตอ่ สขุ ภาพร่างกาย จิตใจ สังคม ให้เกิด
ความเจบ็ ปวย ไมม่ ีเรียวแรง ไม่พึงพอใจ หวาดหวันวติ ก
กังวล ฯลฯ สิงทเี ปนมลพิษอาจอยใู่ นรูปก๊าซ ของแข็ง หรอื ของเหลวกไ็ ด้

3) การเปลียนแปลงสิงแวดลอ้ มทางสังคม

เช่น ความไมเ่ ปนระเบียบของสังคม การเกิดอาชญากรรม
การเปลยี นแปลงระบบเศรษฐกิจ การเมอื ง ส่งผลตอ่
ความเปนอยู่ สุขภาพอนามัย และจิตใจของประชากร

ดังนั น..

ปญหาสิงแวดลอ้ ม

จงึ หมายถึง “ปญหาความเสือมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติ การเกิดมลพิษใน
สิงแวดล้อม รวมไปถึงการเปลียนแปลง
สิงแวดล้อมทางสังคม จนส่งผลกระทบตอ่
ความเสือมโทรมของระบบนิเวศและเกดิ ผล
เสียตอ่ ชีวติ ทุกชีวิต ทังในเชิงคุณภาพและ
ปริมาณเนืองจากการกระทําของมนษุ ย”์

สาเหตุ
และ ผลกระทบ

สาเหตุสําคัญทที ําให้เกดิ ปญหาสิงแวดลอ้ ม
มี 3 ประการ คือ

1.มนษุ ย์

2.สัตวแ์ ละโรคตา่ งๆ

3.ปรากฏการณ์ ธรรมชาติ
หรือภยั ธรรมชาติ

สาเหตุ
และ ผลกระทบ

ในทนี ีจะกล่าวถึงสาเหตขุ องปญหาสิงแวดล้อมที
เกดิ จากมนุษย์ ซึงทําให้เกิดปญหาสิงแวดล้อมทสี ําคัญ
แผ่กระจายไปทวั ทกุ แห่งในโลก สาเหตสุ ําคัญ ไดแ้ ก่

1.การเพิมขึนของประชากร

ปจจบุ ันการเพิมของประชากรโดยเฉลยี ทัวโลกมแี นว
โน้มสงู ขึน การทปี ระชากรเพิมจาํ นวนมากขึน หมายถึง
ความตอ้ งการในการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นการดํารง
ชีวติ ขันตา่ งๆ เพิมขึนดว้ ย ทําให้เกิดผลตา่ งๆ ตามมา ไดแ้ ก่
การเพิมขึนของพืนทที าํ กนิ ทางการเกษตร จนมีการบกุ รุก
ทาํ ลายปา ทําให้เกิดเสียสมดลุ ทางธรรมชาติ อีกทงั ความ
ตอ้ งการในการใช้ทรัพยากรอนื ๆ มากขึน เช่น นา แรธ่ าตุ
พลังงานอากาศ

ตงั แตอ่ ดีตจนถึงปจจบุ ัน พบว่ามีอัตราการเพิมของ
ประชากรมากขึนในแตล่ ะป เปนสาเหตสุ ําคัญทที ําให้มกี าร
ใช้ทรพั ยากรเพิมมากขึน และเปนผลให้จาํ นวนทรพั ยากร
ทีมีอยอู่ ย่างจํากดั ลดจํานวนลงอยา่ งรวดเรว็ และส่งผลให้
เกิดปญหาการขาดแคลนทรัพยากรและปญหามลพิษสิ ง
แวดลอ้ มตา่ ง ๆ ตามมา

สาเหตุ
และ ผลกระทบ

ในทีนีจะกลา่ วถึงสาเหตุของปญหาสิงแวดลอ้ มที
เกิดจากมนุษย์ ซึงทําให้เกิดปญหาสิงแวดล้อมทสี ําคัญ
แผ่กระจายไปทัวทกุ แห่งในโลก สาเหตุสําคัญ ได้แก่

2.การพัฒนาและการใช้
เทคโนโลยีทไี มเ่ หมาะสม

การพัฒนาของมนุษย์ไม่วา่ จะเปนการพัฒนาดา้ นเกษตรกรรม
หรือการพัฒนาดา้ นอุตสาหกรรม ได้มีการนําทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใช้
อย่างมากมายจนเกดิ เปนการทําลายธรรมชาติ เช่น การสรา้ งเขือนเพือ
ผลิตกระแสไฟฟาและชลประทาน มสี ่วนทาํ ให้พืนทปี าสญู เสียไป
การทําเหมืองแร่ นอกจากทาํ ลายสภาพปาแล้ว ยงั ทาํ ให้นาและดนิ เสีย
หายอีกดว้ ย เปนตน้ และในปจจบุ ัน ไดม้ ีการนําเทคโนโลยีใหม่ๆ มา
ช่วยในการพัฒนากย็ ิงเพิมความเสียหายมากขึนทงั นีเนืองจากการใช้
เทคโนโลยีดังกล่าวกระทําไปเพือสนองความตอ้ งการของมนษุ ยเ์ ทา่ นัน
ไมไ่ ดน้ ํามาเพือปองกนั และแก้ไขปญหาทีจะเกดิ ขึน

ดังนัน เราจงึ พบว่า ปญหาสิงแวดล้อมตา่ ง ๆ ทีเกิดขึนในปจจุบนั
มสี ่วนมาจากการใช้เทคโนโลยขี องมนุษยเ์ กอื บทงั สิน เช่น การใช้ปุย
และยาปราบศั ตรูพืช เพือเพิมผลผลิตทางการเกษตร ได้ก่อให้เกิดการ
ตกค้างของสารพิษทังตามพืนดนิ ในนา ในอากาศ และในพืชผักผลไม้
และจะตกค้างมาถึงมนษุ ยเ์ มือบรโิ ภคอาหารทมี สี ารพิษนันเข้าไป
การใช้นายาสารเคมีในกระบวนการผลิตในโรงงานอตุ สาหกรรม
นาเสียจากกระบวนการดังกลา่ วถูกปลอ่ ยทงิ ลงส่แู หลง่ นา ทาํ ให้
เกดิ การเน่าเสียตามมาเปนตน้

สาเหตุ
และ ผลกระทบ

ในทนี ีจะกล่าวถึงสาเหตุของปญหาสิงแวดล้อมที
เกิดจากมนษุ ย์ ซึงทําให้เกิดปญหาสิงแวดลอ้ มทีสําคัญ
แผก่ ระจายไปทวั ทกุ แห่งในโลก สาเหตสุ ําคัญ ไดแ้ ก่

3.นโยบายทีเน้ นด้าน
เศรษฐกิจเปนสํ าคัญ

ทําให้ทรพั ยากรธรรมชาตถิ ูกค้นหาและนํามาใช้ประโยชน์อยา่ ง
รวดเร็วและมากเกินไป ขณะทีการจดั การยงั ไมถ่ ูกตอ้ งเหมาะสม ทําให้
ทรัพยากรธรรมชาตบิ างประเภทอยใู่ นขันวกิ ฤต แตก่ ท็ าํ ให้เศรษฐกจิ
ขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจทมี ีการผลิต
จาํ หน่ายจ่ายแจก

ดงั นัน จงึ ทําให้มาตรฐานการดาํ รงชีพของประชากรสูงตามไป
ดว้ ยการบริโภคใช้สอยสิงตา่ งๆ ของชุมชนเมอื งและทอ้ งถินเกนิ ความ
จําเปนขันพืนฐานของชีวิต เกิดสิงเหลอื ใช้ปลดปลอ่ ยและทงิ ลงสู่
สถานทีตา่ งๆ ทงั ในดิน นา และอากาศ ส่งผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศ
เกิดมลพิษตอ่ สิงแวดล้อม รวมทงั เกดิ ปญหาทางสังคมในทีสดุ

สาเหตุ
และ ผลกระทบ

ในทีนีจะกลา่ วถึงสาเหตุของปญหาสิงแวดล้อมที
เกดิ จากมนษุ ย์ ซึงทําให้เกิดปญหาสิงแวดล้อมทสี ําคัญ
แผ่กระจายไปทวั ทกุ แห่งในโลก สาเหตสุ ําคัญ ไดแ้ ก่

4.การใช้สิงแวดลอ้ มเปนที
รองรบั ของทีเหลือใช้
หรอื ขยะมลู ฝอย

นอกจากมนุษย์จะทิงขยะมลู ฝอยลงอยา่ งถูกทถี ูกวิธจี นมีการ
จัดการนําไปทิงในสิงแวดลอ้ มซึงเปนทีรองรับแลว้ ขยะมูลฝอยยงั ถูก
ทงิ หล่นกระจายในทุกบรเิ วณ สิงเหลอื ใช้จาํ พวกกา๊ ซ ฝุนละออง ควนั
พิษ ก็ถูกปลดปล่อยออกจากโรงงานอตุ สาหกรรม อาคารสถานที
ยานพาหนะลงส่สู ิงแวดล้อมแทบทงั สิน ทาํ ให้แหล่งนา ดนิ หรอื อากาศ
ตกอย่ใู นสภาพเสือมโทรม จนยากทจี ะฟนฟูให้กลบั คืนสภาพเดมิ ได้

สถานการณ์ สถานภาพ

และ วกิ ฤตการณ์สิงแวดล้อม

“มลพิษสิ งแวดล้อม”

มลพิษสิงแวดลอ้ ม (Environmental pollution) หมายถึง
สิงแวดลอ้ มทีทําให้สขุ ภาพร่างกาย จิตใจ และสังคมเลวลง
เกิดการเจ็บปวย ไมม่ เี รยี วแรง เกิดความไม่พึงพอใจ สินหวัง
และเกิดความหวาดหวนั วิตกกังวล หรอื ไมม่ ีความปลอดภยั
สิงทีทําให้เกดิ มลพิษสิงแวดลอ้ มอาจเกิดขึนได้โดยตรงหรอื โดย
ทางอ้อม เช่น ผา่ นทางนาดมื นาใช้ ผลผลิตทางการเกษตรหรือ
ทางสภาวะแวดลอ้ มทงั ทางธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยอี ืนๆ เปนตน้

ในการเกดิ ภาวะมลพิษตามบริเวณตา่ งๆ นัน ย่อมก่อให้เกดิ
สภาพทไี ม่พึงประสงค์ ทําให้สภาพแวดล้อมเกิดการเปลียนแปลง
โดยมีสารมลพิษเปนตวั การทีทําให้เกิดปญหานันๆ รว่ มอยดู่ ้วย
สารมลพิษอาจปรากฏในรูปของผสมทีเปนแก๊ส ของแข็งหรือ
ของเหลวกไ็ ด้ สารมลพิษอาจเกดิ ขึนเองตามธรรมชาตหิ รอื อาจได้
มาจากกจิ กรรมตา่ งๆของมนษุ ย์ อาจเปนสารอนิ ทรียห์ รอื
สารอนิ นทรีย์ก็ได้

สถานการณ์ สถานภาพ

และ วิกฤตการณ์สิงแวดล้อม

“สารมลพิษ”

ดงั นัน สารมลพิษ จึงหมายถึง สารทีกอ่ ให้เกิดความมวั
หมองหรอื ความสกปรกทเี ปนพิษเปนภยั ตอ่ สิงมชี ีวิตในสิง
แวดลอ้ ม หรือเปนสารทกี อ่ ให้เกิดภาวะมลพิษหรือเปนสารทีก่อให้
เกิดปญหามลพิษสิงแวดลอ้ ม สารมลพิษอาจเปนแก๊ส เช่น
คารบ์ อนมอนอกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน
ตลอดจนอนภุ าคแขวนลอยอย่ใู นอย่ใู นอากาศจาํ พวก เขมา่ ควนั
สารตะกวั ใยหิน ปญหาของสารมลพิษจะเกิดมากน้อยและรุนแรง
มากน้อยเพียงใด ขึนอย่กู บั ปจจยั ตอ่ ไปนี
ปญหาของสารมลพิษจะเกดิ มากน้อยและรุนแรงมากน้อยเพียงใด
ขึนอยกู่ ับปจจัยตอ่ ไปนี
1) ชนิดและความเข้มข้นของสารมลพิษ
2) สิงแวดลอ้ มทสี ารมลพิษเข้าไปเกยี วข้อง เช่น อากาศ นา หรอื
ดิน แตส่ ารมลพิษบางชนิดกอ่ ให้เกดิ มลพิษไดท้ งั 3 ทาง เช่น
ตะกัว
3) ลกั ษณะความเจรญิ ของทอ้ งถิน เช่น ประเทศพัฒนาปญหา
มลพิษทเี กดิ จะรุนแรงน้อยกวา่ ประเทศกําลงั พัฒนา ในประเทศ
กาํ ลงั พัฒนาปญหามลพิษส่วนใหญ่เปนพวกมลพิษเรอื รงั
(chronic pollution) และโรคตดิ ตอ่ (communicable disease)
เนืองจากความยากจน ขาดการศึ กษา และการกาํ จดั สิงปฎิกลู ไม่
ถูกสุขลักษณะ

สถานการณ์ สถานภาพ

และ วกิ ฤตการณ์สิงแวดลอ้ ม

ตวั อย่าง

ตวั อย่าง
ปญหาของสารมลพิษทีเกิดขึนและเปนพิษภยั

ไดแ้ ก่ ความเข้มข้นของฟนอล 1 ppm หรือส่วนในลา้ นส่วน
ทําให้ปลาบางชนิดตายได้ กา๊ ซซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์เข้มข้น
0.2 ppm ในอากาศทาํ ให้อตั ราการเสียชีวติ ของมนษุ ยเ์ พิม
ขึน ถ้าร่างกายไดร้ ับสารตะกวั เข้าไปในปริมาณมากในทันที
ทันใดจนในเลอื ดมีมากกวา่ 0.8 ppm จะเกิดอาการเปนพิษ
อยา่ งฉับพลนั เช่น เกิดอาการปวดท้องอยา่ งรุนแรง
อจุ จาระมีสีดาํ เปนตน้

สถานการณ์

ปญหามลพิษสิงแวดลอ้ ม

ปญหามลพิษทสี ําคัญทเี กิดขึนในเกอื บทกุ พืนที ไดแ้ ก่

1) ปญหามลพิษทางนา

2) ปญหามลพิษทางอากาศ

3) ปญหาเสียงและการสันสะเทือน

4) มลพิษทางดนิ

5) ปญหาขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตราย

สถานการณ์

ปญหามลพิษสิงแวดลอ้ ม

1.มลพิษทางนา

ปญหามลพิษทางนา (water pollution)
ในพระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรกั ษาคุณภาพสิงแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. 2535 ไดใ้ ห้คําจํากดั ความของคําว่า “มลพิษ”
“ภาวะมลพิษ” และ “นาเสีย” ดงั นี
“มลพิษ” หมายความวา่ ของเสีย วัตถุอันตรายและ
มลสาอนื ๆ รวมทงั กากตะกอนหรือสิงตกค้างจากสิงเหลา่ นัน
ทีถูกปลอ่ ยทงิ จากแหล่งกาํ เนิดมลพิษ หรอื ทมี ีอย่ใู นสิง
แวดลอ้ มตามธรรมชาติ ซึงกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบตอ่ คุณภาพ
สิงแวดล้อมหรอื ภาวะทีเปนพิษภยั อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพอนามัย
ของประชาชนได้ และให้หมายความรวมถึง รงั สี ความร้อน
เสียง แสง กลิน ความสันสะเทอื นหรือเหตรุ าํ คาญอนื ๆ
ทเี กดิ หรอื ถูกปลอ่ ยจากแหลง่ กาํ เนิดมลพิษดว้ ย
“ภาวะมลพิษ” หมายความวา่ สภาวะทีสิงแวดลอ้ ม
เปลียนแปลงหรอื ปนเปอนโดยมลพิษ ซึงทาํ ให้คุณภาพของ
สิงแวดล้อมเสือมโทรมลง เช่น มลพิษทางนา มลพิษทาง
อากาศ และมลพิษในดนิ
“นาเสีย” หมายความวา่ ของเสีย ทอี ย่ใู นสภาพเปนของเหลว
รวมทังมลสารทีปะปน หรอื ปนเปอนอยใู่ นของเหลวนัน

ดงั นัน..

“มลพิษทางนา”

จึงหมายถึง สภาพนาทีเสื อมคุณภาพ
นาจะมีคุณสมบัติเปลียนไปจากสภาพธรรมชาติ
เนื องจากมีสารมลพิษเข้าไปปะปนอย่มู าก
นาในสภาพเช่นนี ไม่เหมาะต่อการดาํ รงชีวิต
ของสั ตว์นา ไม่เหมาะต่อการบริโภคและอุปโภค
ของมนุษย์ เช่น นาทีมีสี ผิดปกติ มีกลินเหม็น
นาทีมีสารเคมีทีเปนพิษหรือเชือโรคปะปนอยู่
รวมทังนาทีมีอุณหภมู ิสูงผิดปกติ

• สารในมลพิษทางนา

สารทกี อ่ ให้เกดิ มลพิษทางนา ได้แก่ สารเคมที มี ีอยใู่ นนา แลว้ ก่อให้เกดิ ภาวะมลพิษทางนาขึน
สารมลพิษทางนา สามารถจําแนกออกไดเ้ ปน 6 ประเภท ดงั นีคือ

1.1) สิงมชี ีวิต (biological agents) ไดแ้ ก่ สิงมชี ีวิตที ทําให้นาเสียหรอื เสือมคุณภาพ เช่น
จลุ นิ ทรียท์ ีทาํ ให้เกดิ โรค เช่น แบคทีเรีย โพรโตซัว ไวรสั รา ในนาจะพบจุลนิ ทรยี ท์ ีเปนสาเหตุ
ของ
โรคอหิวาตกโรค โรคบิด ไทฟอยด์ โรคลําไส้อกั เสบ ตบั อกั เสบ เปนตน้ และสาหรา่ ย โดยสาหรา่ ย
จะเจรญิ เตบิ โตในแหล่งนาทมี ีสารอาหารมาก สาหรา่ ยจะเพิมจาํ นวนอย่างรวดเรว็ ทําให้เกิดการ
ตายและการเน่าของสาหรา่ ย อนั เปนเหตใุ ห้นาเน่าและแหลง่ นาขาดออกซิเจน

1.2) สารเคมีทมี ีอย่อู ดุ มสมบรู ณ์ หรือ เกนิ อดุ มสมบรู ณ์ ไดแ้ ก่ สารอนิ ทรยี ์ ซึงเปนของเสียจาก
โรงงานอตุ สาหกรรมผลติ นาตาล โรงงานผลติ สรุ า เบยี ร์ โรงฆา่ สัตว์ โรงงานอาหารกระปอง
ของเสียจากบ้านเรอื น ซึงของเสียทปี ล่อยออกมาจะมโี ปรตนี คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั ผงซักฟอก
ไฮโดรคารบ์ อน และขยะปะปนอยู่ ส่วนสารอนินทรยี ์ ไดแ้ ก่ นาทีมีเกลือไนเทรต และเกลอื
ฟอสเฟต ทมี าจากการเกษตรกรรม สารอนิ ทรยี ์จะถูกย่อยสลาย โดยแบคทเี รียและเห็ด ราในนา
เกดิ เปนสารอาหารทอี ุดมสมบรู ณ์ของสาหรา่ ยและพืชนา

1.3) พิษของสารเคมี (chemical poison) สารอนินทรีย์และสารอนิ ทรียห์ ลายชนิดทกี ่อให้เกดิ
อันตรายตอ่ สิงมชี ีวติ ทีใช้นาในการอุปโภคบรโิ ภค หรอื บริโภคสัตว์นาจากแหล่งนาทีมีสารเคมเี ปน
พิษเจอื ปนอยู่ สารอนินทรยี ์ทจี ัดเปนสารมลพิษทางนา ได้แก่ โลหะหนัก สิงมีชีวิตในนาจะไดร้ ับ
โลหะหนักจากนา พืชนา สัตวน์ า จากการกินตามห่วงโซ่อาหาร
ดงั นัน จึงเกดิ การสะสมโลหะหนักในเนือเยือสัตว์ และเนือเยอื พืช โดยสะสมสารมลพิษเพิมขึน
ตามลาํ ดบั ขันการบริโภคโลหะหนักทพี บในแหลง่ นา ไดแ้ ก่ สารหนู ตะกวั ปรอท แคดเมยี ม
สังกะสีโครเมยี ม นิเกลิ แมงกานีส

1.4) สารลอยผิวหน้านา สารแขวนลอยและตะกอน สารลอยผิวหน้านา คือ นามนั คราบนามนั และ
สารอืนๆ ซึงบางชนิดตดิ ไฟได้ จึงเกดิ อันตรายกบั สัตว์นานอกจากนียงั กันไมใ่ ห้แสงผา่ นลงสู่นา
และกนั กา๊ ซออกซิเจนไม่ให้สามารถแพรล่ งส่นู าไดต้ วั อยา่ งตอ่ ไปนีเปนสารทลี อยผวิ หน้านา คือ
ใบไม้ กิงไม้ แผน่ โฟมถุงพลาสตกิ กระปอง สารแขวนลอยและตะกอนทมี ักจะเปนอนุภาคของดิน
ขนาดตา่ งๆ ซึงทําให้นาขุ่นจะตกตะกอนจมลงสู่กน้ แหลง่ นา เมือมีนาหนักมากขึน

1.5) สารกมั มันตภาพรังสี (radioactive substance) เช่น ยเู รเนียม สตรอนเตรยี ม ซีเซียม
ไอโอดนี เปนตน้ สารกัมมนั ตภาพรังสีดงั กลา่ วจะผ่านลงสู่แหลง่ นาไดโ้ ดยวิธีตา่ ง ๆ ดงั นี
นาจากโรงไฟฟาปรมาณู จากฝุนกัมมนั ตภาพรังสีซึงเกิดจากการทดลองอาวุธนิวเคลยี ร์สาร
กัมมันตภาพรงั สีจากห้องปฏบิ ัตกิ ารและโรงพยาบาลนันอย่ใู นระดับตา เมอื ผา่ นลงสู่แหล่งนาจะมี
การทบั ถมในก้นแหลง่ นาตา จึงก่อให้เกดิ ปญหาดา้ นการขยายทางชีววทิ ยาตากวา่ โรงไฟฟา
ปรมาณู และจากฝุนกมั มันตภาพรังสีมาก

1.6) ความร้อน (heat) เนืองจากนาเปนตวั นําความร้อนทีดี จงึ ใช้นาเปนตวั ระบายความรอ้ นของ
เครอื งจักรในโรงไฟฟา โรงกลันนามนั โรงงานปฏกิ รณ์ปรมาณู นาทใี ช้ระบายความรอ้ นนี เมอื
ผ่านออกมาจากอปุ กรณ์ตา่ งๆ ทตี อ้ งการระบายความร้อนก็จะมอี ุณหภมู สิ ูงมากจงึ กลายเปนนาเสีย
เมือถูกนําลงสู่แหล่งนาธรรมชาติ จะทําให้นาในแหล่งนาธรรมชาติ มีอุณหภมู ิสงู ขึนอย่างรวดเรว็
เปนอนั ตรายตอ่ ตวั ออ่ นและตวั เตม็ วยั ของสัตวน์ าในบริเวณนัน อาจทาํ ให้สัตว์นาตายหมด บางส่วน
ตอ้ งอพยพหนีไปหาทีอยใู่ หม่ บรเิ วณนีอาจไม่มีสิงมชี ีวติ อาศั ยอย่เู ลย

สถานการณ์

ปญหามลพิษสิงแวดลอ้ ม

2.มลพิษทางอากาศ

ปญหามลพิษทางอากาศ (air pollution)
มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะอากาศทมี สี ารเจอื ปนอยใู่ น
ปรมิ าณทสี งู กวา่ ระดับปกตเิ ปนเวลา นานพอทจี ะทําให้เกิด
อันตรายแก่มนุษย์ สัตว์ พืช หรอื ทรัพยส์ ินตา่ งๆ อาจเกดิ ขึน
เองตามธรรมชาติ เช่น ฝนุ ละอองจากลมพายุ ภเู ขาไฟระเบดิ
แผน่ ดนิ ไหว ไฟไหม้ปา กา๊ ซธรรมชาติ อากาศเสียทเี กิดขึน
โดยธรรมชาตเิ ปนอนั ตรายตอ่ มนษุ ย์น้อยมาก
ทเี กดิ จากการกระทาํ ของมนษุ ย์ ไดแ้ ก่ มลพิษจากทอ่ ไอเสีย
ของรถยนตจ์ ากโรงงานอตุ สาหกรรมจากขบวนการผลติ จาก
กจิ กรรมด้านการเกษตร จากการระเหยของก๊าซบางชนิด
จากขยะมูลฝอยและของเสีย เปนตน้

มลพิษทางอากาศ

มลพิษทางอากาศซึงในภาพรวมแหลง่ กาํ เนิดมลพิษทางอากาศทสี ําคัญของประเทศไทย
แบง่ เปน 2 แหลง่ ใหญ่ๆคือ
2.1) แหล่งกาํ เนิดตามธรรมชาติ
ภเู ขาไฟระเบดิ การทเี กดิ ภเู ขาไฟระเบดิ จะมีเขมา่ พ้นออกมาในบรรยากาศจาํ นวนมาก ชึงเขมา่ เหลา่
นันก็เปนสิงหนึงทีทาํ ให้เกดิ มลภาวะทางอากาศและเขมา่ ทเี กดิ จากภเู ขาไฟระเบดิ จะสามารถอยใู่ น
อากาศได้นานนับป ไฟปา เมอื เกดิ ไฟปาแตล่ ะครงั จะเกิดควันขึนมาจาํ นวนมหาศาล ซึงควญั ทเี กดิ
จากไฟปานันก็เปนส่วนทที าํ ให้เกิดมลพิษทางอากาศ
2.2) แหล่งกาํ เนิดทีเกดิ จากกจิ กรรมของมนษุ ย์
การคมนาคม ปจจบุ ันมกี ารข้นส่งสินค้า การเดินทางเปนจาํ นวนมากโดยการใช้ยานภาหนะตา่ ง
โดยเฉพาะรถยนตซ์ ึงเปนตน้ เหตสุ ําคัญทีสดุ โดยทีรถยนตจ์ ะปลอ่ ยกาศพวกคารบ์ อนไดออกไชด์
ก๊าชไนตริกออกไซด์ และ กา๊ ซไนโตรเจนได-ออกไซด์รวมทงั กาซคาร์บอนมอนนอกไซดซ์ ึงกา๊ เหลา่
นีเปนตน้ เหตทุ ีทาํ ให้เกดิ มลพิษทางอากาศ
โรงไฟฟา ในการทจี ะผลติ การแสไฟฟาจะมีการเผาไหมพ้ ลงั งานจํานวนมหาศาลและในการเผา
ใหม้นันจะมกี ารปลอ่ ยสารพวก ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์และอนภุ าคของ
มวลสาร ตา่ ง ๆ ซึงเปนสาเหตุทําในเกิดมลพิษทางอากาศ

สถานการณ์

ปญหามลพิษสิงแวดลอ้ ม

3.มลพิษทางเสี ยง

มลพิษทางเสียง (noise pollution)
เสียงดงั (loud noise) หรือเสียงรบกวน (noise)
หมายถึงสภาวะทีมเี สียงดงั เกนิ ปกตหิ รอื เสียงดงั ตอ่ เนือง
ยาวนานจนกอ่ ให้เกิดความราํ คาญหรือเกดิ อันตรายตอ่ ระบบ
การไดย้ นิ ของมนษุ ย์และหมายรวมถึงสภาพแวดลอ้ มทมี ีเสียง
สร้างความรบกวน ทําให้เกิดความเครยี ดทังทางรา่ งกายและ
จติ ใจ ทาํ ให้ตกใจ หรือบาดหูได้ เช่น เสียงดงั มาก เสียงตอ่
เนืองยาวนานไมจ่ บสิน เปนตน้

มลพิษทางเสี ยง

อนั ตรายจากเสียง แบ่งออกเปน 3 ชนิด คือ
(1) อนั ตรายตอ่ การได้ยนิ (hearing damage) เมอื เราไดร้ บั ฟงเสียงทดี งั มากๆ เปนเวลานานตดิ ตอ่
กันอาจทาํ ให้เกดิ อาการหูตงึ หรอื หูหนวก คือ ทําให้ไม่ไดย้ นิ การพดู คุยแบบธรรมดา อาการหูตงึ มี
2 แบบ คือ อาการหูตงึ หรอื หูออื แบบชัวคราว เกดิ จากการรบั ฟงเสียงทีมรี ะดบั สูงในช่วงระยะเวลา
สันๆ ส่วนอาการหูตงึ หรือหูหนวกแบบถาวร เกิดจากการรับฟงเสียงทีมรี ะดับสงู มากตดิ ตอ่ กนั เปน
เวลานานๆ จนถึงขันทําลายปลายประสาทของเซลล์ประสาทไปอย่างถาวร ทําให้สญู เสียการไดย้ ิน
และไมอ่ าจกลับคืนได้
(2) อนั ตรายตอ่ สุขภาพทวั ไปและจิตใจ เสียงทดี ังเกนิ ไปจะรบกวนการนอนหลับและการพักผอ่ น
ส่งผลทาํ ให้หงดุ หงดิ มีความเครยี ด อกี ทงั ยังรบกวนการทาํ งานทําให้งานมปี ระสิทธภิ าพดอ้ ยลง
และเสียงดังมากๆ ยังทาํ ให้ความดนั สูง เกดิ โรคหัวใจ ชีพจรเตน้ ผดิ ปกติ เกดิ อาการเกร็งของ
กลา้ มเนือ และอาจทาํ ให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารได้
(3) อนั ตรายอืนๆ เสียงนอกจากจะส่งผลกระทบตอ่ คนทอี ย่ใู กลๆ้ แล้ว ยงั ทาํ ให้สิงก่อสรา้ งเสียหาย
ถึงขันแตกร้าว ทรุดตวั และพังทลายได้ เช่น หลงั คาบา้ นเรอื นแตกรา้ ว เปนตน้

การปองกนั

“มลพิษทางเสี ยง”

การปองกันมลพิษทางเสี ยงส่ วนใหญ่ นิ ยมปองกันทีต้น
เสี ยง ทางทีเสี ยงผ่าน และปองกันทีตัวบุคคลปองกันที
ต้นเสี ยง เช่น จัดหาเครืองมือทีมีเสี ยงเบามาแทนหรือ
ปรับปรุงแก้ไขเครืองมือทีมีเสี ยงดังให้ลดน้ อยลงจนเปน
ทีปลอดภยั ซึงอาจใช้วัสดุอืนรองเครืองจักรเครืองยนต์
ขณะทาํ งานก็ได้ ปองกันทางทีเสี ยงผ่าน โดยใช้ผนั งกัน
อุปกรณ์ทีทาํ ให้เกิดเสี ยง ใช้ฉนวนหรืออุปกรณ์ลดเสี ยง
ใช้วัสดุดูดซับเสี ยง ติดเครืองเก็บเสี ยง ปองกันทีตัว
บุคคล โดยใช้อุปกรณ์ปองกันส่ วนบุคคล ลดระยะเวลา
สั มผัสกับเสี ยงดัง แยกคนงานทีไม่เกียวข้องออกไป
ทดสอบการได้ยินของคนงาน

สถานการณ์

ปญหามลพิษสิงแวดลอ้ ม

4.มลพิษทางดนิ

มลพิษทางดิน
มลพิษดิน คือ ภาวะทดี นิ มมี วลสาร สารพิษ หรอื สาร

ปนเปอน ซึงเกดิ จากการเตมิ หรือทิงสิงตา่ งๆ ลงในดินเกนิ
ค่ามาตรฐาน จนส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพของสิงมชี ีวติ และ
สิงแวดล้อม โดยสาเหตขุ องมลพิษทางดิน
แยกไดเ้ ปน 2 ประเภทคือ
สภาพธรรมชาติ ไดแ้ ก่ สภาพทเี กิดตามธรรมชาตขิ องบรเิ วณ
นัน ๆ เช่น บริเวณทีมเี กลือใน ดินมาก หรอื บรเิ วณทดี ินมี
ความหนาแน่นน้อย เปนตน้ ทําให้ดินบริเวณนันไม่เหมาะ แก่
การเจริญเตบิ โตของพืช ปรากฏการณ์ธรรมชาตบิ างอยา่ ง
เช่นพายนุ าทว่ มก็ทาํ ให้ ดนิ ทรายถูกพัดพาไปได้สิงปฏิกูลทมี ี
ชีวติ ซึงได้แก่ สิงมีชีวติ ทีอย่ใู นดินหรอื ถูก ใส่ในดินทําให้ดิน
เสียได้โดยอาจเปนตวั ก่อโรคหรอื กอ่ ความกระทบกระเทือนตอ่
ความเปนอยขู่ องสิงมีชีวิต

มลพิษทางดิน

มลทางดินส่วนใหญ่เกิดจากการรกระทําของมนษุ ย์ ส่วนมากมกั เกดิ เนืองจากความรูเ้ ท่าไม่ถึงการณ์
มงุ่ แตจ่ ะดัดแปลงธรรมชาตเิ พือหวงั ผลประโยชน์อย่างใดอยา่ งหนึงโดยไม่คํานึงถึงผลเสียทีเกิดขึน
ภายหลงั ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปนี
(1) การใช้สารเคมแี ละสารกัมมันตรังสี สารเคมี
(2) การใส๋ปยุ เมอื ใส่ปยุ ลงในดิน
(3) นาชลประทาน
(4) การใช้ยาปราบศั ตรูพืชและสัตว์
(5) การเพาะปลกู ดินทใี ช้ในการเพาะปลกู เปนเวลานาน ๆ
(6) การหักร้างถางปา

สถานการณ์

ปญหามลพิษสิงแวดลอ้ ม

5.มลพิษจากขยะหรือของเสี ย

ปญหาขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตรายเกิดมาจากการที
จาํ นวนประชากรเพิมมากขึน ส่งผลให้สภาพความเปนอย่ขู อง
ประชาชนเปลยี นแปลงไป ไม่วา่ จะเปนพฤตกิ รรมการอุปโภค
บรโิ ภคสินค้า การเพิมขึนของชุมชน การขยายตวั ของทีอยู่
อาศั ย การเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ และอตุ สาหกรรม รวม
ทงั ค่านิยมทางสังคม ประกอบกบั การพัฒนาประเทศในรูป
แบบตา่ งๆ ไม่วา่ จะเปนการกอ่ สรา้ งปจจัยพืนฐาน เช่น ถนน
เขือน สนามบิน ทา่ เรือ เปนตน้

มลพิษจากขยะหรอื ของเสีย

การเร่งผลิตสินค้าและบรกิ ารให้ทนั กบั ความตอ้ งการของประชาชนทีเพิมมากขึน ทําให้มี
การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตเิ ปนจาํ นวนมาก มีของเสียเหลอื ทงิ ออกมาในรูปตา่ งๆ เจือปนอย่ใู นสิง
แวดลอ้ ม ซึงทาํ ให้ความสมดลุ ของธรรมชาตสิ ญู เสียไป เมือสิงแวดลอ้ มถูกทําลายและมีของเสีย
ปะปนอยเู่ ปนจํานวนมาก สิงแวดลอ้ มก็จะอย่ใู นสภาพเสือมโทรมและอาจจะรุนแรงถึงขันเปนพิษ
เปนภยั ได้ และมีผลโดยตรงตอ่ สุขภาพและอนามัยของประชาชน

ปญหาจดั การขยะและของเสียอันตรายเปนปญหาสําคัญของทุกท้องถินทวั ประเทศ โดย
เฉพาะอยา่ งยิงในเมอื งใหญ่ แหลง่ ชุมชน และแหลง่ ท่องเทยี ว ซึงนับวนั จะมปี รมิ าณเพิมขึนทกุ ๆ

การให้ความสําคัญตอ่ การจัดการขยะมลู ฝอยชุมชนแบบครบวงจร มกี ารจัดการขยะตดิ เชือ ขยะ
อนั ตรายชุมชนอยา่ งถูกวธิ ี รณรงค์ให้ทกุ ภาคส่วนตระหนัก และใส่ใจในการรักษาคุณภาพสิง
แวดล้อม ส่งเสรมิ สนับสนนุ การมีส่วนรว่ มของภาครัฐ ภาคเอกชนและ ภาคประชาชน ในการ
จัดการขยะมูลฝอย รวมทังการเพิมศั กยภาพการรวบรวมและกาํ จดั ของเสียอนั ตราย ขยะมลู ฝอย
และการใช้ประโยชน์จากของเสีย เพือการอนุรักษ์สิงแวดล้อมทยี งั ยนื

การจัดการ

“ปญหาขยะ”

ปญหาจัดการขยะและของเสี ยอันตรายเปนปญหา
สําคัญของทุกท้องถินทัวประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิงใน
เมืองใหญ่ แหล่งชุมชน และแหล่งท่องเทียว ซึงนั บวัน
จะมีปริมาณเพิมขึนทุกๆ ป การให้ความสําคัญต่อการ
จัดการขยะมูลฝอยชุมชนแบบครบวงจร มีการจัดการ
ขยะติดเชือ ขยะอันตรายชุมชนอย่างถูกวิธี รณรงค์ให้
ทุกภาคส่ วนตระหนั ก และใส่ ใจในการรักษาคุณภาพสิ ง
แวดล้อม ส่ งเสริม สนั บสนุนการมีส่ วนร่วมของภาครัฐ
ภาคเอกชนและ ภาคประชาชน ในการจัดการขยะ
มูลฝอย รวมทังการเพิมศั กยภาพการรวบรวมและกําจัด
ของเสี ยอันตราย ขยะมูลฝอย และการใช้ประโยชน์ จาก
ของเสี ย เพือการอนุรักษ์สิ งแวดล้อมทียังยืน

ฝากไวใ้ ห้คิด

สิ งแวดล้อมทางธรรมชาติล้วนมีบทบาทต่อการดาํ รงชีวิตของมนุษย์ ดังนั นเราจึงควร
ตระหนั กถึงความสําคัญและมีส่ วนร่วมในการดูแลรักษา เพือให้ธรรมชาติคงอยู่คู่กับประเทศ
ซึงมีแนวทางการปฎิบัติตน ดังนี

1. การใช้ประโยชน์ จากธรรมชาติอย่างเหมาะสม เช่นการปลูกต้นไม้เพือทดแทนปาไม้ทีถูก
ทําลายไปใช้ประโยชน์ การปลูกพืชหมุนเวียนเพือการปองกันดินเสื อม และการพังทลายของ
หน้ าดิน หรือการไม่จับสั ตว์นาในฤดูวางไข่ เปนต้น

2. การใช้พลังงานอันเกิดจากธรรมชาติอย่างประหยัด เช่น ช่วยกันประหยัดไฟฟาโดยการ
ใช้เท่าทีจําเปน การช่วยกันประหยัดนามันด้วยการใช้รถประจําทางแทนการใช้รถส่ วนตัวหรือ
การเดินทางไปทางเดียวกันก็นั งรถไปด้วยกัน ใช้นาประปาอย่างรู้คุณค่า ปดก็อกนาเมือไม่ใช้
เปนต้น

3. การช่วยรักษาสภาพแวดล้อมทางอากาศ โดยการลดมลพิษในอากาศ เช่น การไม่เผาขยะ
หรือการกระทาํ ใดๆทีก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ ตรวจสอบสภาพเครืองยนต์ของรถยนต์และรถ
จักรยานยนต์ให้อยู่ในสภาพปกติ ตรวจสอบสภาพเครืองจักรของโรงงานต่างๆ เพือไม่ให้ปล่อย
ควันพิษสู่อากาศ หรือการลดใช้สารเคมีในการกาํ จัดศั ตรู พืช เปนต้น

4. การช่วยอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติล้วนมีประโยชน์ ต่อมนุษย์ทังใน
ด้านอุปโภคบริโภค ดังนั นเราจึงควรช่วยกันอนุรักษ์ ธรรมชาติของเรา เช่น ลดการใช้สารเคมี
ในการเพาะปลูก ไม่ทิงขยะลงแม่นา ใช้วัสดุอืนทดแทนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เช่นการใช้
เหล็ก พลาสติก แทนการใช้ไม้ ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก เปนต้น

“ถ้าทุกอยา่ งเตบิ โตดว้ ยสองมือของเรา
จงอยา่ ทาํ ลายพวกเขาดว้ ยสองมอื ทีสร้างเขามา”

รว่ มรกั ษาสิงแวดลอ้ มกนั พรอ้ มหน้า
ยอ่ มจะพาผาสกุ ไมท่ กุ ข์เข็ญ
เปนตวั อยา่ งทางดที บี าํ เพ็ญ
ผอู้ นื เห็นทาํ ตามโลกงามตา

THE ENVIRONMENTAL PROBLEMS

ปญหาสิ งแวดล้อม

ประชาชน เปนส่ วนหนึ งของสิ งแวดล้อมโลก

ANISORN PHETNUI


Click to View FlipBook Version