The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาว ศิรภัสสร เงินโก เลขที่ 37 ม.6/7
นางสาว ปรัชญานันต์ นันตากาศ เลขที่ 13 ม.6/7

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ที่ส่งงานห้อง6/7, 2022-09-15 00:25:30

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

นางสาว ศิรภัสสร เงินโก เลขที่ 37 ม.6/7
นางสาว ปรัชญานันต์ นันตากาศ เลขที่ 13 ม.6/7

plant tissue culture

เพาะเลี้ ยงเนื้อเยื่อ

! นำเสนอโดย

คุณครู กายทิ พย์ แจ่มจันทร์


!

คำนำ

หนังสืออิ เล็ กทรอนิ กส์ (e-book)
ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่ อประกอบการเรี ยน
วิชา การดำรงชี วิตและครอบครัว 3 ซึ่ ง
เนื้อหาเกี่ ยวกับการเพาะเลี้ ยงเนื้อเยื่อ
โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้จัดทำได้ฝึ ก
การค้นคว้า และ นำสิ่งที่ได้ศึ กษา
ค้นคว้ามาสร้างเป็ นเป็ นชิ้นงานเก็ บไว้เป็ น
ประโยชน์ต่อการเรียนของตนเองต่อไป
ทั้งนี้เนื้อหาได้รวบรวมมาจากหนังสือ
การเรียนและเนื้อหาจากเว็บไซต์ต่างๆ

ผู้จัดทำหวังว่ารายการฉบับนี้คงมี
ประโยชน์ต่อผู้ที่นำไปใช้ให้เกิ ดผลตาม
ความคาดหวัง

นางสาว ศิ รภัสสร เงินโก เลขที่ 37 ม.6/7
นางสาว ปรัชญานันต์ นันตากาศ เลขที่ 13 ม.6/7

สารบัญ

หน้ า
ความหมายการเพาะเลี้ ยงเนื้อเยื่อ

ขั้นตอนเพาะเลี้ ยงเนื้อเยื่อ

ประโยชน์การเพาะเลี้ ยงเนื้อเยื่อ
ปั จจัยที่มี ผลต่อความสำเร็ จ



ในการเพาะเลี้ ยงเนื้อเยื่อพื ช

ความหมาย

การเพาะเลี้ ยงเนื้อเยื่อ

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หมายถึ ง การนำเอาส่วน
ใดส่วนหนึ่งของพื ชไม่ว่าจะเป็ นอวัยวะเนื้อเยื่อ
เซลล์ หรือไม่มีผนังมาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงใน

สภาพปลอดเชื้อจุลิ ทรีย์และอยู่ในสภาพ
ควบคุมอุณหภูมิ แสง และความชื้น เพื่อให้
เซลล์ที่นำมาเพาะปราศจากเชื้อและความเชื้อ
ที่มารบกวนและทำลายการเจริญเติ บโตของพื ช







ขั้นตอนการเตรียมต้นแม่พันธ์

ทำการเพาะเลี้ยงต้นแม่พันธุ์ (stock plant) ที่เราต้องการนำไปทำการขยาย
พันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อภายใต้สภาพแวดล้อมที่ค่อนข้างสะอาด เช่น ใน
โรงเรือนที่สามารถควบคุมโรคและแมลงได้ เพื่อจะได้ต้นแม่พันธุ์ที่สะอาด และ
สมบูรณ์เต็มที่ ในขั้นตอนนี้อาจจะมีการปรับเปลี่ยนสภาพรอบด้านให้กับต้นแม่
พันธุ์ เพื่อศึกษาผลของแสง คือ ผลของจำนวนชั่วโมงแสง(photoperiod)
และผลของคุณภาพของแสง (light spectrum, light intensity), ผลของ
อุณหภูมิต่อการพักตัว(dormancy) ของพืช และการใช้สารควบคุมการเจริญ
เติบโตกับพืช ภายในสภาพภายนอกก่อนที่จะนำไปทำการเพาะเลี้ยงภายใต้สภาพ
ปลอดเชื้อ

2

พืชที่ได้รับไนโตรเจนในอัตราสูงซึ่งจะมีลำต้นอวบอ้วน ใบสีเขียวเข้ม ไม่ถือว่า
เป็นพืชที่เหมาะในการนำมาทำการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เนื่องจากมีคาร์โบไฮเดรต
สะสมอยู่น้อยทำให้ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้ยาก พืชที่ได้รับ
โพแทสเซียมมากจะมีคาร์โบไฮเดรตสะสมอยู่มาก จึงเหมาะแก่การนำมาเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อ นอกจากนี้การใช้สารละลายไซโตไคนินฉีดพ่นบริเวณที่จะนำมา
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อก่อนจะตัดชิ้นส่วนนั้นมาใช้ประมาณ 3-5 วัน จะช่วยให้ชิ้น
ส่วนพืชสามารถเพิ่ม ปริมาณได้อย่างรวดเร็วขณะขยาย วิธีการนี้จำเป็นอย่าง
ยิ่งในกรณีที่พืชชนิดนั้นไม่ตอบสนองต่อการใช้ ไซโตไคนินในอาหารเพาะเลี้ยง
หรือตอบสนองน้อย

3

2

ขั้นตอนเริ่มต้น

เป้ าหมายของขั้นตอนนี้ คือ การผลิตพืชที่ปลอดเชื้อ โดยนำชิ้นส่วน
ของพืชที่เราเตรียมความพร้อมในขั้นตอนการเตรียมต้นแม่พันธุ์มาท
าการฟอกฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ที่ติดอยู่กับผิวพืช แล้วทำการผ่าตัดเนื้อเยื่อ
ในสภาพปลอดเชื้อภายในตู้ย้ายเนื้อเยื่อ เลี้ยงบนอาหารวิทยาศาสตร์ที่
นึ่ งฆ่าเชื้ อแล้วจนได้ต้นพืชที่ต้องการ

4

3

ขั้นตอนการเพิ่ มปริมาณ



เมื่อเนื้อเยื่อในขั้นตอนที่ 2 โตพอสมควรแล้ว เราก็จะทำการเพิ่มปริมาณ
โดยการตัดแบ่งเนื้อเยื่อของออกเป็นชิ้น และแยกไปเลี้ยงในอาหารใหม่
เรียกว่า การตัดแบ่ง (sub cultures) ทำอย่างนี้ไปได้เรื่อยๆ จนกว่าจะได้
ปริมาณที่ต้องการ แต่อย่างไรก็ตามการตัดแบ่งบ่อยครั้งจะทำให้ต้นกล้า

อ่อนแอ และอาจเกิดแปรปรวนของต้นกล้าขึ้นได้

5

4

ขั้นตอนการชักนำให้เกิ ดราก

เมื่อได้ต้นกล้าที่มากพอแล้ว ก็จะทำการชักนำให้ออกราก
และเจริญเติบโตเป็ นต้นกล้าที่แข็งแรงสมบูรณ์

5

ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมให้กับต้นกล้าก่อนทำการย้าย
ออกนอกห้องปฏิ บัติ การและการย้ายออกสู่โรงเรือนอนุบาล






ส่วนมากต้นกล้าในขวดที่ทำการย้ายออกสู่สภาพภายนอกขวดมักมีเปอร์เซ็นต์รอดต่ำ
เพราะถูกเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ และถูกเลี้ยงในสภาพที่แสงและอุณหภูมิค่อนข้างต่ำกว่าสภาพ
ภายนอกมาก ดังนั้นก่อนการการย้ายออกนอกขวดเพาะจึงสมควรมีการเตรียมต้นกล้าให้มีความพร้อม
ต่อการย้ายออกสู่สภาพภายนอก พอต้นกล้ามีความพร้อมแล้วก็ทำการย้ายออกนอกขวดนำไปเลี้ยงใน

โรงเรือนต่อไป

6

7

ประโยชน์


การเพาะเลี้ ยงเนื้อเยื่อ

8

ประโยชน์


การเพาะเลี้ ยงเนื้อเยื่อ

1. สามารถผลิ ตต้นพันธุ์พื ชปริมาณมากในระยะเวลาอันรวดเร็ว

2. ต้นพื ชที่ผลิ ตได้จะปลอดโรค

3. ต้นพื ชที่ผลิ ตได้จะมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนต้นแม่
คือมีลักษณะตรงตามพันธุ์ด้วยการใช้เทคนิ คของการเลี้ยง
จากชิ้นตาพื ชให้พัฒนาเป็ นต้นโดยตรง
4. ต้นพื ชที่ผลิ ตได้จะมีขนาดสม่ำเสมอ จึ งให้ผลผลิ ตที่เก็ บ
เกี่ยวได้ครั้งละมากๆ พร้อมกันหรือในเวลาเดี ยวกัน

9

10

ปั จจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ
ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพื ช

ๅ1

ปั จจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ
ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพื ช

ความสำในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพื ชขึ้นอยู่ปั จจัยต่างๆ ดังนี้

1. ชิ้นส่วนพื ช
ทุกส่วนของพื ชที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ยังมีชี วิตอยู่สามารถนำ
มาทำการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้ทั้งนั้น แต่ความสามารถใน
การเจริญเติ บโตอาจแตกต่างกันเพราะเซลล์แต่ละชนิ ดมี
ความตื่นตัว ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับสิ่งเหล่านี้

1.1 ชนิ ดพื ช พื ชไม้เนื้อแข็งทำการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้ยาก
กว่าพื ชไม้เนื้ออ่อน เนื่องจาก
พื ชไม้เนื้อแข็งมีความสามารถในการสร้างเซลล์ใหม่ต่ำ
ความผันแปรทางพันธุกรรมมีมาก การเพิ่ ม
จำนวนค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับพื ชไม้เนื้ออ่อน และมีการพัก
ตัวมาเกี่ ยวข้อง

1.2 อายุ

ๅ2

1.3 ขนาด ขนาดของชิ้นส่วนพื ชจะกำหนดแน่นอนไม่ได้
ขึ้นอยู่กับชนิ ดของพื ชและเชื้อที่ต้องการกำจัด แต่โดย
มากขนาดชิ้นส่วนพื ชยิ่งเล็ กเปอร์เซ็ นต์การปนเปื้ อนก็ ยิ่ง
น้อย แต่ก็ ง่ายต่อการบอบช้ำในขณะฟอกฆ่าเชื้อและย้าย
เนื้อเยื่อ โอกาสที่จะสำเร็จก็ น้อยกว่าชิ้นส่วนขนาดใหญ่
1.4 ส่วนของพื ช เนื้อเยื่อพื ชที่มีเซลล์ตื่นตัวมากที่สุด คือ
เนื้อเยื่อเจริ ญ

ๅ3

ๅ4

บรรณานุกรม

https://waa.inter.nstda.or.th/

http://www.aopdt01.doae.go.th/

ๅ5


Click to View FlipBook Version