The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี เป็นหนังสือที่จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมผลการดำเนินงานและกิจกรรม
ต่าง ๆ ของส่วนงาน วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ สู่ผู้บริหาร บุคลากร และบุคคลทั่วไป โดยหวังว่าเนื้อหาที่รวบรวมไว้ ในรายงานประจำปี 2564 จะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลดังกล่าว
วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ได้จัดทำรายงานประจำปี 2564 เล่มนี้ได้รวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานของวิทยาลัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564) ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของวิทยาลัย การผลิตบัณฑิต การวิจัย การให้บริการวิชาการ ผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการที่ดำเนินการ รวมทั้งผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563 การตรวจประเมินเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ EdPEx ตลอดจนภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่สำคัญในการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 ที่ผ่านมา
วิทยาลัยพัฒนามหานครหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานประจำปีเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร บุคลากร ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สนใจ ที่ติดตามผลการดำเนินงานของวิทยาลัยทั้งในด้านการเผยแพร่ผลการดำเนินงาน และการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาระหน้าที่ของวิทยาลัยพัฒนามหานคร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by imd, 2022-05-02 04:53:22

เล่มรายงานประจำปี 2564

รายงานประจำปี เป็นหนังสือที่จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมผลการดำเนินงานและกิจกรรม
ต่าง ๆ ของส่วนงาน วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ สู่ผู้บริหาร บุคลากร และบุคคลทั่วไป โดยหวังว่าเนื้อหาที่รวบรวมไว้ ในรายงานประจำปี 2564 จะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลดังกล่าว
วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ได้จัดทำรายงานประจำปี 2564 เล่มนี้ได้รวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานของวิทยาลัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564) ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของวิทยาลัย การผลิตบัณฑิต การวิจัย การให้บริการวิชาการ ผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการที่ดำเนินการ รวมทั้งผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563 การตรวจประเมินเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ EdPEx ตลอดจนภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่สำคัญในการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 ที่ผ่านมา
วิทยาลัยพัฒนามหานครหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานประจำปีเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร บุคลากร ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สนใจ ที่ติดตามผลการดำเนินงานของวิทยาลัยทั้งในด้านการเผยแพร่ผลการดำเนินงาน และการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาระหน้าที่ของวิทยาลัยพัฒนามหานคร

Keywords: รายงานประจำปี,นวมินทราธิราช,มหาลัย,นมร,วพม,วิทยาลัยพัฒนามหานคร

รายงานประจาปี 2564
ANNUAL REPORT 2021

วทิ ยาลัยพฒั นามหานคร มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช
Institute of Metropolitan Development
Navamindradhiraj University

คานา

รายงานประจาปี เป็นหนังสือที่จัดทาขึ้นเพื่อรวบรวมผลการดาเนินงานและกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ของส่วนงาน วทิ ยาลัยพฒั นามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ที่ได้ดาเนนิ การใน
ปีที่ผา่ นมา และเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์ข้อมูลข่าวสารตา่ ง ๆ สผู่ ู้บรหิ าร บคุ ลากร และบุคคลทั่วไป
โดยหวงั วา่ เนื้อหาที่รวบรวมไว้ ในรายงานประจาปี 2564 จะเปน็ ประโยชน์ต่อบุคคลดงั กลา่ ว

วทิ ยาลยั พัฒนามหานคร มหาวทิ ยาลยั นวมินทราธริ าช ไดจ้ ัดทารายงานประจาปี 2564
เล่มนี้ไดร้ วบรวมข้อมลู ผลการดาเนินงานของวทิ ยาลยั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (1 ตลุ าคม
2563 ถึง 30 กันยายน 2564) ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของวิทยาลัย การผลิตบัณฑิต การวิจัย การ
ให้บริการวิชาการ ผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ การพัฒนาบุคลากร และการบริหาร
จัดการที่ดาเนนิ การ รวมท้ังผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาภายใน ประจาปีการศึกษา 2563
การตรวจประเมินเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ EdPEx ตลอดจนภาพ
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ที่สาคญั ในการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 ทผี่ ่านมา

วิทยาลัยพัฒนามหานครหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานประจาปีเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผู้บริหาร บุคลากร ผู้เก่ียวข้อง และผู้สนใจ ที่ติดตามผลการดาเนินงานของวิทยาลัยทั้งในด้าน
การเผยแพร่ผลการดาเนินงาน และการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาระหน้าที่ของวิทยาลัย
พัฒนามหานคร

คณะผู้จัดทา
รายงานประจาปี 2564 วิทยาลัยพฒั นามหานคร

สารอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

วิทยาลัยพัฒนามหานครเป็นส่วนหนึ่งของ
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชที่ก่อตั้งมาเป็นเวลา 8 ปี
และกาลังเข้าสู่ปีที่ 9

วัตถุประสงค์หลักในการจัดท ารายงานประจ าปีมี
3 ประการ คือ ประการแรกเพื่อรายงานผลการดาเนินงาน
ในรอบปีที่ผ่านมา ประการที่สองเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ผลการดาเนินงานให้ประชาคมรับทราบตามหลักธรรมาภิบาล
และประการสุดท้ายเพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาและปรับปรุง
การดาเนินงานของวิทยาลัยพัฒนามหานครในปีถัดไป
ผลการดาเนินงานของวิทยาลัยพัฒนามหานครที่ปรากฏในรายงานประจาปี 2564
ได้แก่ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริหารจัดการ รวมถึงผลการประเมินคุณภาพการศึกษา
ภายใน ประจาปีการศึกษา 2563 ระดับหลักสูตรและระดับวิทยาลัย ซึ่งส่วนใหญ่บรรลุตาม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ ผมขอชื่นชมและขอบคุณ ผู้บริหาร คณาจารย์
และบุคลากรทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่ ร่วมใจกันเพื่อความเจริญก้าวหน้าของ
วิทยาลัยพัฒนามหานคร แม้ว่าการเผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเซื้อไวรัส
COVID-19 ตลอดปีที่ผ่านมา วิทยาลัยพัฒนามหานครได้พยายามดาเนินการตามแผนที่ได้
กาหนดไว้ นอกจากนี้บุคลากรของวิทยาลัยพัฒนามหานครยังได้แสดงออกถึงความมี
จิตสาธารณะด้วยการอาสาเข้าร่วมกับมหาวิทยาลัยในการบริการหน่วยบริการฉีดวัคซีน
โควดิ 19 (เซน็ ทรัลปน่ิ เกลา้ ) ให้แก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
ผมหวงั วา่ รายงานประจาปีฉบบั น้จี ะเป็นประโยชนต์ ่อผูเ้ กีย่ วข้อง และผ้ทู ่ีสนใจติดตามผล
การดาเนินงานของวิทยาลัย ฯ อยา่ งตอ่ เน่อื ง และขอขอบคุณคณะผู้จดั ทารายงานประจาปี 2564
ท่ีพยายามรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม และเผยแพร่ให้สังคมรับทราบต่อไป

รองศาสตราจารยอ์ นนั ต์ มโนมัยพิบลู ย์
อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธริ าช

สารผูอ้ านวยการวทิ ยาลัยพัฒนามหานคร

ช่วงเวลาผ่านไป 2 ปี ที่ได้เข้ามารับต าแหน่ง
ผู้อานวยการ ได้ดาเนินการตามแผนเพื่อให้เกิดการพัฒนา
วทิ ยาลัยพัฒนามหานครไปสคู่ วามสาเรจ็ สมประสงคข์ องการ
จัดตง้ั และในปีทผี่ า่ นมาวทิ ยาลัยได้ดาเนินการตามแผนปฏิบัติ
งานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ที่สอดคล้องกับ
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเป็นไปตามระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในของสานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
(สกอ.) ซึ่งประกอบด้วย การผลิตบัณฑิต การวิจัย การ
บริหารจัดการด้านอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ผลการดาเนินการดังกล่าวได้บันทึกไว้ใน
“รายงานประจาปี 2564” ซึ่งได้รายงานภาพรวมการดาเนินงานของวิทยาลัยในรอบ
ปีงบประมาณที่ผ่านมาและสามารถใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการด าเนินงาน ใน
ปีงบประมาณถัดไปได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะข้อเสนอแนะจากผู้ตรวจประกันคุณภาพการศึกษา
ภายนอก รวมทั้งผลการประเมินกิจกรรมต่าง ๆ ที่วิทยาลัยได้ให้บริการแก่สั งคมจาก
ผู้รบั บรกิ ารวชิ าการ ดงั นนั้
รายงานประจาปีเลม่ น้ีคาดว่าจะเปน็ ประโยชน์ต่อการดาเนินงานและการพัฒนาวิทยาลัย
ให้เจริญก้าวหน้าต่อไปรวมทั้งเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร บุคลากร และผู้ที่สนใจติดตามผลการ
ดาเนินงานของวิทยาลัยมาตลอด นอกจากนี้ในปีที่ผ่านมา ประเทศของเราได้เผชิญกับปัญหา
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานของวิทยาลัยเป็น
อย่างมากแต่ถึงกระนั้น วิทยาลัยได้พยายามปรับตัว และเปลี่ยนแปลงกระบวนการดาเนินงานให้
เหมาะสมกบั สถานการณท์ เี่ กดิ ข้นึ อาทิ การจัดการเรยี นการสอนแบบ Online ทงั้ ระดบั ปริญญา
ตรี และปริญญาโท ทุกวิชา ทั้งการบริการวิชาการที่ปรับเปลี่ยนให้การอบรมทั้งบรรยายพิเศษ
แบบ Online ท้ังหมด จึงสามารถ ผา่ นพ้นช่วงเวลาดงั กล่าวไปได้ แมก้ ารแพรร่ ะบาดยังไม่จบสิ้น
ลงก็ตาม ภารกิจทั้งหลายของวิทยาลัยที่ดาเนินการในปีงบประมาณที่ผ่านมา ได้สาเร็จลุล่วง
ด้วยดี เป็นผลสืบเนื่องมาจากความร่วมมือร่วมใจของผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรทุกคน
รวมทั้งความกรุณาและปรารถนาดีจากคณะกรรมการประจาส่วนงานของวิทยาลัย และที่
ส าคัญคือวิทยาลัยได้รับเมตตากรุณาจากท่านอธิการบดีที่ ชี้แนะแนวทางในการท างาน
มหาวิทยาลัยมาตลอดรวมทั้งเป็นกาลังใจใหว้ ิทยาลัยผา่ นพน้ อุปสรรคผา่ นไปไดโ้ ดยดี
ในนามของผู้อานวยการวิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
ขอขอบคุณทุกทา่ นมา ณ โอกาสนี้

ศาสตราจารยธ์ เรศ ศรีสถิตย์
ผู้อานวยการวิทยาลัยพฒั นามหานคร

สารบัญ

ข้อมูลท่วั ไป

วสิ ัยทัศน์ 1

เป้าหมายการดาเนนิ งาน 2

สถานทต่ี ง้ั วิทยาลัย 2

ประวตั ิความเปน็ มาของวทิ ยาลยั 3

พนั ธกิจของวทิ ยาลยั 3

อตั ลักษณ์ 3

ค่านยิ มองคก์ ร 4

สมรรถนะหลกั 4

เปดิ สอนหลกั สูตร 4

ข้อมลู ด้านบรหิ าร 4

โครงสรา้ งวทิ ยาลยั 5

จานวนบคุ ลากรวทิ ยาลยั 6

งบประมาณดาเนนิ งานของวทิ ยาลัย 6

ผลการดาเนินงานของวิทยาลัย

การผลิตบณั ฑิต 7

การพัฒนาบคุ ลากร 7

การวจิ ยั 10

การใหบ้ รกิ ารวชิ าการ 12

ผลงานทางวิชาการท่ีตีพิมพ์เผยแพร่ 15

การบรหิ ารจัดการ 16

ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายใน ประจาปี 2563 17

สรปุ ผลการตรวจประเมนิ เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพอื่ การดาเนนิ การที่เปน็ เลศิ (EdPEx) 17

กจิ กรรม Town Hall Meeting 18

การทานบุ ารงุ ศิลปะและวัฒนธรรม 19

ภาคผนวก

การบรกิ ารวิชาการ 21

กจิ กรรมในวทิ ยาลัย 22

รายช่ือคณะกรรมการจัดทารายงาน 25

วิทยาลัยพัฒนามหานคร
Institute of Metropolitan Development

ตราสัญลักษณ์ประจ าวิทยาลัยพัฒนามหานคร ก าหนดในประกาศมหาวิทยาลัย
นวมินทราธิราช เรื่อง ตราสัญลักษณ์ประจาส่วนงาน มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช พ.ศ.2561
ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 135 ตอนพิเศษ 74 ง เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 ลักษณะของ
เครื่องหมายให้ใช้ตามตราสัญลักษณ์ประจามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ส่วนล่างของตรา
สัญลักษณ์ให้มีแถบสีน้าเงินขลิบเหลือง ห้อยชายทั้งสองข้างในแถบมีอักษรไทยคาว่า “วิทยาลัย
พฒั นามหานคร”
วสิ ยั ทัศน์

วิสัยทัศน์ของวิทยาลัยพัฒนามหานคร : สร้างบุคลากรที่มีความรู้ลึก รู้จริง
มีความเชี่ยวชาญ และความสามารถ เจาะปัญหา แก้ไขตรงจุด ตอบโจทย์ ตรงใจ ต่อการ
เปลี่ยนแปลงของเมือง มหานคร เพื่อชีวิตที่ดีและมีคุณภาพของคนเมือง พร้อมส่งมอบองค์
ความรูท้ ี่ตอบสนองความตอ้ งการของกรุงเทพมหานคร

รายงานประจาปี 2564
หน้า 1

เป้าหมายการดาเนินงาน
1. การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพเพื่อสร้างบัณฑิตที่สอดคล้องกับความต้องการของ

กรงุ เทพมหานคร สังคม และประเทศ
2. พฒั นาเครือขา่ ยและสรา้ งสรรคง์ านวจิ ัยด้านศาสตร์เขตเมือง
3. พัฒนาการบริการวิชาการแก่สังคมและการบริการด้านสุขภาพให้เป็นที่ยอมรับของ

กรุงเทพมหานคร สงั คม และประเทศชาติ
4. การทานุบารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของ

มหาวิทยาลยั เปน็ ทย่ี อมรับของสงั คม
5. การบูรณาการระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อรองรับการ

พฒั นามหาวทิ ยาลัยอย่างยั่งยนื
สถานท่ีต้ังวิทยาลัย

วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ตั้งอยู่ 198 อาคาร
นวมินทร์ 1 ชั้น 3 ซอยสามเสน 13 (ฝั่งราชวิถี) ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต
กรุงเทพมหานคร เป็นสานักงานและสถานที่การเรียนการสอน หมายเลขโทรศัพท์ :
02-2413500 Fax 02-1642636 Email : [email protected] Websites : imd.nmu.ac.th
facebook : imdnmu twiter : @ImdNmu LINE Official : 066chfxb

รายงานประจาปี 2564
หน้า 2

ประวัติความเป็นมาของวิทยาลัย
สภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชในการประชุมครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๙

กันยายน ๒๕๕๖ มีมติให้จัดตั้งวิทยาลัยพัฒนามหานคร และมีประกาศมหาวิทยาลัย
นวมินทราธิราช เรื่อง การจัดตั้งส่วนงานในมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๙๐ ง
วนั ท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๖ โดยวทิ ยาลยั พฒั นามหานครมีภาระหน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบในการ
จัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการ
พัฒนามหานครและเมือง ทาวิจยั และสร้างเครอื ข่ายภาคกี ารวิจยั รว่ มกบั หนว่ ยงานอน่ื เพ่ือสร้าง
เสริมองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาเมืองและมหานคร จัดระบบการรวบรวมภูมิปัญญ าและ
ประสบการณข์ องปราชญ์ท้องถนิ่ จดั ทาเป็นคลงั ความรมู้ หานครและเมอื ง ให้บริการการศึกษา
การวิจัย และบริการสารสนเทศ อันจะนาไปสู่การให้คาปรึกษา แนะนา รวมทั้งการให้บริการ
ฝกึ อบรมเพือ่ เพ่ิมพูนศักยภาพทรพั ยากรบคุ คลของหน่วยงานอืน่ อันจะนาไปสู่การปรบั ปรุงและ
พัฒนากิจการสังคมให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งภาระหน้าที่อื่นที่สภามหาวิทยาลั ยหรืออธิการบดี
มอบหมาย

พนั ธกิจของวิทยาลัย
1. การผลิตบัณฑิตท่ีพร้อมทางาน และมคี วามเช่ียวชาญดา้ นการพัฒนาเมอื ง
2. การวิจัย และการพัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรมการพัฒนาเมืองที่สามารถ

นาไปใชไ้ ด้จริง โดยมีกรุงเทพมหานครเป็นผูใ้ ช้องคค์ วามรแู้ ละการพฒั นาจดั ทาคลังความรู้
3. การบริการวิชาการให้คาแนะนา คาปรึกษา รวมทั้งการฝึกอบรม เพิ่มพูนความรู้แก่

หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร และประชาชนทั่วไป
4. การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ที่บูรณาการกับการศึกษาของวิทยาลัยพัฒนา

มหานคร อันเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคมและชุมชน รวมทั้งการรวบรวมภูมิปั ญญาและ
ประสบการณ์ของปราชญ์ทอ้ งถน่ิ

5. ภารกิจอนื่ ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากมหาวิทยาลัย

อัตลักษณ์
จติ สาธารณะ

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 3

ค่านิยมองค์กร
การทางานที่มุ่งเน้นคุณภาพต่อผู้เรียน และผู้รับบริการให้เป็นนักพัฒนาเมืองอย่างมือ

อาชีพ ร่วมกันทางานอยา่ งเปน็ มติ รกับเครอื ข่าย ดว้ ยคณุ ธรรมและมีจติ สาธารณะ

สมรรถนะหลกั
เชี่ยวชาญการจัดการศึกษาด้านการพัฒนาเมือง และการบริการวิชาการแก่สังคม

พัฒนางานวิจัยเพอ่ื นาองคค์ วามรู้ใหมๆ่ พร้อมส่งมอบให้กบั กรุงเทพมหานคร

เปดิ สอนหลักสูตร
ปรญิ ญาโท
- วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง
ปรญิ ญาตรี
- ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการบริการธรุ กิจการบนิ
- ศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารจดั การเมอื ง

ขอ้ มูลด้านบริหาร
อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช :
รองศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ นนั ต์ มโนมยั พิบูลย์
ผอู้ านวยการวิทยาลยั พฒั นามหานคร :
ศาสตราจารยธ์ เรศ ศรสี ถิตย์
รองผอู้ านวยการวทิ ยาลัยพฒั นามหานคร :
รองศาสตราจารยม์ ณรี ตั น์ องค์วรรณดี
หวั หนา้ ฝ่าย:
- หวั หนา้ สานกั งานผ้อู านวยการวทิ ยาลยั :
นางสาวพชิ ญส์ นิ ี อคั รโกศลเดชา
- หวั หน้าฝา่ ยวชิ าการ :
นายพงศด์ ศิ ดษิ ยบตุ ร
- หวั หนา้ ภาควชิ าการบริหารและจดั การเมอื ง :
รองศาสตราจารย์มณรี ัตน์ องค์วรรณดี (รักษาการ)

รายงานประจาปี 2564
หน้า 4

โครงสร้างวิทยาลัย คณะกรรมการประจาส่วนงาน

ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั พัฒนามหานคร
ศาสตราจารยธ์ เรศ ศรีสถิตย์

รายงานประจาปี 2564 หวั หนา้ สานักงานผูอ้ านวยการ หวั หน้าฝา่ ยวิชาการ หัวหน้าภาควิชาการบรหิ ารและจดั การเมอื ง
หนา้ 5 นางสาวพิชญส์ ินี อคั รโกศลเดชา นายพงศด์ ิศ ดษิ ยบตุ ร รศ.มณีรัตน์ องคว์ รรณดี (รกั ษาการ)

นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน นกั วิชาการศึกษา อาจารย์ สาขาวิชาการพัฒนาและจดั การเมอื ง
- นางณิชนนั ทน์ บญุ อ่อน - นางสาวพไิ ลวรรณ พมุ่ ขจร - อาจารยม์ นตธ์ ัช มะกล่าทอง (อยรู่ ะหวา่ งลาศกึ ษา)
- นางสาวกรกร ศรีจกั ร ช่วยปฏบิ ัตงิ าน วทส. - อาจารย์เกรดิ า โคตรชารี (อยู่ระหวา่ งลาศกึ ษา)
นักวชิ าการเงนิ และบัญชี - นายอภิชยั หาญกลา้ - รศ.มณีรตั น์ องคว์ รรณดี
- นางสาวธญั ภา อนิ ตะ๊ นา - นายเศรษฐสรณ์ ไชยประเสริฐ ช่วยปฏบิ ตั ิงาน วทส. - รศ.นนั ทสารี สุขโต
- นางสาวเขมลติ า จรญู แสง - นางสาวพรรณวดี โกษฐา ช่วยปฏบิ ตั ิงาน วทส. - อาจารยเ์ จษฎานันท์ เวียงนนท์
- นายสิรชิ ยั สวุ รรณี อาจารย์ สาขาจดั การเมือง
นักวชิ าการพัสดุ - นายกฤษณะ เทศแจ่ม - อาจารยว์ รัญญู เสนาสุ
- นางสาวสุรตั นด์ า จอมทะรักษ์ - อาจารย์แสน กีรตนิ วนันท์
ผูช้ ว่ ยวจิ ัย - อาจารยส์ าธิต ศรสี ถิต
นกั ทรพั ยากรบคุ คล - นางสาวภวกิ า คชานนั ท์ - อาจารย์นฤมล นม่ิ นวล
- นางสาวอริศรา ขนั ทอง - อาจารย์กิรพัฒน์ เขียนทองกุล
- นายราชนั รกั ษาพล นักจดั การงานทว่ั ไป - อาจารยว์ รพชร จันทร์ขนั ตี
- นางสาวพมิ พพ์ ิชชา ธรรมสุวรรณ์ อาจารย์ สาขาวชิ าการบรกิ ารธรุ กจิ การบนิ
นักวชิ าการโสตทศั นศึกษา - ผศ.ชชั พล มงคลกิ
- ว่าท่รี ้อยตรีธรี ะ ประไพศรี - อาจารย์นสิ ากร นครเกา่

นกั วิชาการคอมพิวเตอร์ นักจัดการงานทั่วไป
- ธันว์ ชยั ทนุวงศ์ - นางสุภาลณิ ี หตั ถิยา
- นางสาวสาวติ รี เขียวภกั ดี
นกั จดั การงานท่ัวไป
- นางสาวอรนดั ดา จนั ทรเ์ จรญิ ฤทธ์ิ
- นายชยั เวช น้อมสุระ

จานวนบุคลากรวิทยาลัย

(ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564)

จานวนบุคลากรแยกตามประเภท

ประเภทพนักงานมหาวิทยาลัย คุณวุฒิการศึกษา รวม
ตรี โท เอก
3
ประเภทผู้บริหาร -2 1 13
19
ประเภทวิชาการ -7 6 35

ประเภทสนับสนนุ 14 5 -

รวมทั้งหมด (คน) 14 14 7

จานวนอาจารย์แยกตามคุณวุฒกิ ารศกึ ษา

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม
0 13
76

อาจารย์ จานวนอาจารย์แยกตามตาแหน่งทางวชิ าการ รวม
10 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ 13

1 20

งบประมาณดาเนินงานของวทิ ยาลัย

(ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564)

วิทยาลัยพฒั นามหานครได้รบั จัดสรรตามข้อบัญญัตงิ บประมาณ

ประจาปี 2564 โดยแบง่ ได้ดงั นี้

แหลง่ เงินอุดหนุน งบประมาณท่ีได้รับการจัดสรรปี 2564 (บาท)

กรงุ เทพมหานคร 19,487,200

เงนิ รายไดส้ ่วนงาน 2,540,000

กองทนุ มหาวิทยาลยั 3,912,000

รวมเงินอดุ หนุนท้ังสิ้น 25,939,200

รายงานประจาปี 2564
หน้า 6

ผลการดาเนนิ งานของวทิ ยาลยั

การผลิตบณั ฑิต

หลกั สูตร จานวนนักศึกษา
รวม

2559 2560 2561 2562 2563 2564

หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ปรญิ ญาโท)

สาขาวิชาการพัฒนาและ 14 10 5 4 4 13 50
จดั การเมือง

หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต (ปริญญาตร)ี

สาขาการบริการธุรกจิ การบนิ - - - 10 12 9 31

สาขาวิชาการบริหารจดั การเมือง - - - - 6 19 25

รวมทงั้ หมด (คน) 14 10 5 14 22 41 106

ผ้สู าเรจ็ การศึกษา - วท.ม. การพัฒนาและจัดการเมือง 15 คน

- ศศ.บ. การบริการธรุ กิจการบิน - คน

- ศศ.บ. การบริหารจัดการเมอื ง - คน

การพัฒนาบุคลากร

ปีงบประมาณ 2564 วิทยาลัยพัฒนามหานคร ได้พัฒนาบุคลากรในสังกัด โดยส่ง

พนักงานมหาวิทยาลัยทั้งประเภทวิชาการ และประเภทสนับสนุนเข้าอบรม สัมมนา ประชุมและ

ศึกษาดูงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และศักยภาพการปฏิบัติงาน โดยแบ่งเป็นงานพัฒนา

ตนเอง 71% และงานประชุมสัมมนาวิชาการ 29% ดงั น้ี

งานพฒั นาตนเอง ระยะเวลาการ จานวน
เข้าร่วม ผเู้ ขา้ ร่วม
โครงการ/กิจกรรม
3 พฤศจกิ ายน 1 คน
1. หลักสูตร “การบริหารเอกสารและจัดเกบ็ เอกสารที่มีประสิทธภิ าพสู่ 2563
ระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์” 14 คน
2. โครงการส่งเสริมพัฒนางานวิจัยของคณาจารย์ วทิ ยาลยั พัฒนา 29 ตุลาคม 2563
มหานคร 2 คน
3. หลักสตู ร “ออกแบบ Infographic อยา่ งไรใหโ้ ดนใจอย่างสร้างสรรค์ 24 – 25
ดว้ ย Powerpoint รนุ่ ท่ี 6” พฤศจกิ ายน 2563 12 คน
4. การใช้ฐานขอ้ มูลห้องสมุด 3 ธนั วาคม 2563 3 คน
5. โครงการอบรมปฐมนิเทศและพฒั นาศกั ยภาพพนักงาน 19 – 20 ธันวาคม
มหาวิทยาลัย 7 คน
6. โครงการอบรมภาษาอังกฤษ “หลักสตู รที่ 1 (CT9)” 2563
13 มกราคม – 29 3 คน
7. โครงการอบรมภาษาอังกฤษ “หลกั สูตรท่ี 2 (CT8)”
เมษายน 2564
13 มกราคม – 29

เมษายน 2564

รายงานประจาปี 2564
หน้า 7

โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาการ จานวน
เขา้ ร่วม ผเู้ ข้ารว่ ม
8. โครงการส่งเสริมพัฒนางานวิจัยของคณาจารย์ กิจกรรม “แนว
ทางการเขียนโครงการเพื่อขอรบั ทนุ วิจัย” 18 มกราคม 2564 11 คน
9. โครงการสง่ เสริมพัฒนางานวิจยั ของคณาจารยว์ ิทยาลยั พฒั นา 12 คน
มหานคร “หัวข้อแนวทางการเขียนโครงการเพื่อขอรับทนุ วิจัย” 18 มกราคม 2564 1 คน
10. อบรมด้วยระบบการเรียนรสู้ มรรถนะบคุ คลตามมาตรฐานอาชีพ
และคุณวุฒวิ ิชาชีพ ในรปู แบบอเิ ล็กทรอนิกส์ “เจ้าหน้าทีส่ อบในการ 19 มกราคม 2564 1 คน
เทียบโอนประสบการณก์ ารทางานเพอื่ การรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ” 12 คน
11. โครงการอบรมการเขียนหมายข่าว Press Releas ณ สถานวี ทิ ยุ 15 กุมภาพันธ์ 1 คน
โทรทศั น์แห่งประเทศไทย 2564 13 คน
12. โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาศักยภาพนกั วิจัย หัวขอ้ เรอื่ ง การอบรม 3 คน
การใช้ Minitap Statistical Software 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2 คน
13. อบรมหลักสตู ร “การสรา้ ง Infographic เพื่อการสื่อสารอยา่ งมี 2564 14 คน
ประสิทธิภาพ รุ่นท่ี 7”
14. อบรมเพอ่ื เพิ่มศักยภาพด้านการวิจัย “การพัฒนาศกั ยภาพ 18 – 19 3 คน
นักวิจยั รุ่นใหม่” ออนไลน์ กุมภาพันธ์ 2564 2 คน
15. อบรมหลกั สตู ร “TQA Criteria ปี 2564” 32 คน
16. อบรมการพัฒนาบคุ ลากรการจดั ทาคาของบประมาณ 22 – 23 3 คน
17. โครงการสง่ เสริมพัฒนางานวจิ ยั ของคณาจารย์ เร่อื ง แนว กมุ ภาพนั ธ์ 2564 1 คน
ทางการวิจัยทางสงั คมศาสตร์ หัวข้อ เทคนคิ การสัมภาษณเ์ ชิงลกึ ใน 3-5 มนี าคม 2564
งานวิจัย 4 มีนาคม 2564 2 คน
18. อบรมการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของ 17 มนี าคม 2564 1 คน
หน่วยงานภาครัฐ 3 คน
19. อบรมการพัฒนาบุคลากรการลงทะเบียนครุภัณฑ์การควบคุม 18 มีนาคม 2564 21 คน
พัสดุและตรวจสอบพัสดุประจาปี
20. อบรมการคัดแยกขยะ ของวิทยาลัยพัฒนามหานคร 18 มีนาคม 2564
21. การใชร้ ะบบการโอนเงินผ่านระบบออนไลน์ (Bank Patment)
22. อบรมหลักสตู รการอบรมและคดั เลอื กผู้ตรวจประเมินรางวัล 29 มีนาคม 2564
คุณภาพแห่งชาติ ประจาปีงบประมาณ 2564 (TQA New Assessor 29 มีนาคม 2564
Training 2021)
23. อบรมหลกั สตู ร “TQA Criteria ปี 2564” รนุ่ ที่ 7 2 เมษายน และ
6 – 11 พฤษภาคม
24. อบรมหลกั สตู ร Transformative Scenario Planning Creating
Your strategic Foresight Literacy for Future Challenges 2564
25.อบรมการใช้ระบบ Krungthai Corporate Online (Bluk 12-14 พฤษภาคม
Payment)
26. โครงการพฒั นาอาจารยใ์ หม่ของวิทยาลยั พัฒนามหานคร หัวขอ้ 2564
“การจัดทาผลงานทางวิชาการเพอื่ เสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวชิ า” 22 พฤษภาคม –
12 มถิ นุ ายน 2564
15 มิถนุ ายน 2564

17 มถิ ุนายน 2564

รายงานประจาปี 2564
หน้า 8

โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาการ จานวน
เขา้ ร่วม ผเู้ ข้ารว่ ม
27. หลักสตู ร “TQA Criteria ปี 2564” รุ่นที่ 9
23 – 25 มถิ นุ ายน 2 คน
28. อบรมเพื่อเพ่มิ ศักยภาพดา้ นการวิจัย ภายใต้หัวขอ้ “หลักจริยธรรม 2564 11 คน
การวิจัยในคน HRP” 8 คน
29. อบรมแนวทางการคัดแยกขยะและการใช้ประโยชนจ์ ากแหลง่ กาเนดิ 29 มถิ ุนายน 2564 11 คน
30. อบรมเชิงปฏิบตั ิการ “อาจารยท์ ป่ี รึกษากบั การใหค้ าปรึกษา 1 คน
นักศึกษา” 30 มิถนุ ายน 2564
31. อบรมหลกั สตู ร “การกากบั และการบริหารความเสี่ยงของ 16 กรกฎาคม 1 คน
มหาวิทยาลยั ตามกรอบแนวทาง COSO Enterprise Risk 2564
Management Integrating with Strategy and Performance รุ่น 22 – 23
4”
32. อบรม Invitation to Training-Knowledge Sharing Virtual กรกฎาคม 2564
Event for Educators on Policy and Justice Innovation Tool -
July 23-24, 2021 (Via Zoom) 23 – 24
กรกฎาคม 2564

งานประชุมสัมมนาวิชาการ ระยะเวลาการ จานวน
เข้าร่วม ผ้เู ข้ารว่ ม
โครงการ/กิจกรรม
7-9 ตลุ าคม 2563 4 คน
1. การประชุมวชิ าการส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ คร้ังที่ 19 28 ตุลาคม 2563 1 คน
2. งานสัมมนาเวทสี ุดยอดผู้นาชุมชนท้องถนิ่ วาระ : ทศวรรษร่วมสรา้ ง 5 คน
ชมุ ชนทอ้ งถ่ินน่าอยู่ 6 พฤศจิกายน
3. งานสัมมนาวันผังเมืองโลก หัวขอ้ “Wellness City Tranformantion 2563 12 คน
: New Paradigm of Thailand City Planning คิดใหม่ ให้เมือง เปิด 2 คน
มมุ มองพฒั นา อยา่ งย่ังยืน” 12 พฤศจิกายน 1 คน
4. งานประชุมวิชาการประจาปี 2563 เร่ือง “Preparedness and 2563 1 คน
Lessons Learned during COVID-19”
5. การเสวนา "เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร 16 ธนั วาคม 2563 2 คน
สคู่ วามเป็นเลิศตามเกณฑ์ IQA สป.อว."ผ่าน Zoom 1 คน
6. เวทสี ดุ ยอดผนู้ าชุมชนท้องถ่ิน วาระ : ทศวรรษร่วมสรา้ งชุมชน 27 – 29 ธันวาคม 1 คน
ท้องถิน่ นา่ อยู่ 2563
7. สัมมนาเพ่อื ประชาสัมพนั ธ์และการสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วม โดยมุ่งเน้น
การรบั ฟังความคดิ เห็นและความตอ้ งการของผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี เพอ่ื นา 19 มีนาคม 2564
ข้อมูลไปประกอบการพจิ ารณาจัดทาแผนแม่บท ครั้งที่ 2
8. การประชุม “นอนหลับดีชีวเี ป็นสขุ ” 24 มีนาคม 2564
9. เป็นวิทยากรแลกเปลี่ยนความร้ปู ระสบการณใ์ นหัวขอ้ “เทคนคิ การ 7 เมษายน 2564
สรา้ งความประทบั ใจในงานบริการ”
10. ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการ ผลิตบณั ฑิตพนั ธ์ใหม่ 3 และ 5
พฤษภาคม 2564

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 9

โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาการ จานวน
เขา้ รว่ ม ผเู้ ข้าร่วม
11. การประชมุ วิชาการสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ ครั้งที่ 20
12-14 พฤษภาคม 3 คน
12. การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารและการศกึ ษาดงู านเร่ืองแนวทางการ 2564
ขบั เคลอ่ื นการบรู ณาการข้อมลู ภาคการทอ่ งเทยี่ ว Smart City และระบบ 1 คน
ข้อมูล Big Data 28 – 29 มิถนุ ายน
13. การประชุมวิชาการระดบั ชาติและนานาชาติด้านมนุษยศาสตรแ์ ละ 2564 1 คน
สงั คมศาสตร์ ครงั้ ที่ 2
9-10 กรกฎาคม
2564

การวิจัย

ปีงบประมาณ 2564 คณะกรรมการบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

พิจารณาความเห็นชอบ โครงการได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย จานวน 6 โครงการ และ

ไดร้ บั งบประมาณเรยี บร้อย จานวน 6 โครงการ ดังนี้

ที่ ช่อื โครงการ หัวหนา้ โครงการ งบประมาณ

1 การพฒั นาและฟื้นฟูพ้ืนทสี่ าธารณะและโครงขา่ ยการ อาจารย์ 248,200 บาท

สญั จรในชุมชนรมิ นา้ แขวงวชิรพยาบาล สาธติ ศรสี ถติ ย์

2 กาแพงเขียวเพ่อื กาจดั มลพษิ ในอาคาร รองศาสตราจารย์ 680,100 บาท

มณีรัตน์ องค์วรรณดี

3 การวิเคราะห์เทคนิคการพยากรณท์ เี่ หมาะสมสาหรับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 725,600 บาท

การลดความคลาดเคล่อื นของค่าพยากรณ์จานวน ชัชพล มงคลกิ

นกั ท่องเท่ยี วกลุม่ เปา้ หมายหลักทมี่ าเท่ียว
กรงุ เทพมหานครหลังการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือ

ไวรัสโคโรนา 2019

4 การพฒั นาระบบจัดการขยะหนา้ กากอนามัยใน ศาสตราจารย์ 238,300 บาท

ชุมชนเมืองด้วยกระบวนการแบบมีส่วนร่วมของ ธเรศ ศรสี ถิตย์

ประชาชน ในภาวการณร์ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โค

โรนา 2019

5 ผลกระทบและแนวทางการปรับตัวของสมาชกิ ชุมชน อาจารย์ 433,200 บาท

เมอื งในมติ ิทางด้านสังคมและเศรษฐกจิ ภายใต้ แสน กีรตินวนนั ท์

สภาวการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโร

นา -19 (COVID-19) หรือสภาวการณก์ ารเกิดโรค

อุบตั ิใหม่

6 การค้มุ ครองคนไรท้ ี่พึง่ ในสถานการณ์การแพร่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ขอยุติโครงการ

ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ศกึ ษาการ วรพชร จนั ทร์ขันตี

เขา้ ถงึ ความช่วยเหลอื จากรัฐของคนไรท้ พี่ ่ึงในเขต

กรงุ เทพมหานคร

รวม 2,325,400 บาท

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 10

อนึ่ง สาหรับโครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สกสว. ประจาปีงบประมาณ 2565

จานวน 7 โครงการ ดงั นี้

ที่ ชื่อโครงการ หัวหนา้ โครงการ งบประมาณ

1 ปัจจยั สาคญั ที่มีอทิ ธิพลต่อการจัดการการ อาจารยเ์ จษฎานันท์ เวียงนนท์ 1,000,000 บาท
เปลีย่ นแปลงไมโครพลาสติกในคลองเขตเมือง อาจารยแ์ สน กรี ตนิ วนันท์ 500,000 บาท
กรณีศึกษา คลองลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร

2 การสรา้ งชุมชนเขม้ แขง็ สกู่ ารเกดิ สวสั ดิการ
ชุมชนเมืองเพ่ือการพฒั นาคุณภาพชีวติ คน
เมอื งอยา่ งยัง่ ยืน

3 ขอความเห็นชอบข้อเสนอโครงร่างการวจิ ัย อาจารย์แสน กรี ตินวนันท์ 500,000 บาท
เรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สงู อายุใน
ชุมชนเมืองสูก่ ารพฒั นาสังคมผู้สูงอายุทีม่ ี
ศกั ยภาพ

4 การพฒั นาและฟ้ืนฟพู นื้ ทส่ี าธารณะและ อาจารย์สาธติ ศรสี ถติ ย์ 1,000,000 บาท

โครงข่ายการสัญจรเพ่ือรองรบั การ

เปลีย่ นแปลงของเมืองในชุมชนริมนา้ ในเขตดุสติ

5 การศกึ ษาแนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียวใน รองศาสตราจารย์ 1,000,000 บาท
เขตชุมชนเมืองของกรุงเทพมหานครให้เป็นศูนย์ นันทสารี สุขโต
การการท่องเทีย่ วอยา่ งยั่งยืน

6 การจัดการคณุ ภาพอากาศในอาคารอย่าง รองศาสตราจารย์ 1,000,000 บาท

ย่งั ยืนสาหรบั โรงเรียนในสงั กัดกรงุ เทพมหานคร มณรี ัตน์ องค์วรรณดี

7 การสังเคราะห์กรอบนโยบายเพ่ือพฒั นา อาจารย์วรัญญู เสนาสุ 1,000,000 บาท
คณุ ภาพชีวติ รอบด้านของผสู้ งู อายุทีอ่ าศัยใน
เขตเมือง: ศกึ ษาพืน้ ท่ีเมืองอัจฉริยะ ระยะที่ 1
ของประเทศไทย

รวม 6,000,000 บาท

รายงานประจาปี 2564
หน้า 11

การใหบ้ ริการวชิ าการ

ที่ ชอื่ โครงการ วนั /เดือน/ ผ้รู ับผิดชอบ/วิทยากร ผลความ
พึงพอใจ
ปี
4.00
1 โครงการการส่อื สารเพือ่ การบริการ 1 – 2 และ 4 อาจารยน์ สิ ากร นครเก่าและ 4.38
ประชาชน/มหานคร ธันวาคม คณะ
2563 4.38
2 โครงการ Forum เมอื งหลังวิกฤติโควดิ 18 ศาสตราจารย์ธเรศ ศรสี ถติ ย์
– 19 ใน กจิ กรรมเสวนาเร่ือง “การ 4.15
จดั การสาธารณภัยจากอบุ ัติเหตุแก๊ส พฤศจกิ ายน
ระเบิดในเขตเมอื ง” 2563 4.20
3.98
3 โครงการการใช้ประโยชนพ์ นื้ ทีส่ าธารณะ กุมภาพันธ์ – สานักงานเขตดสุ ติ และ
4.00
ในชุมชนเพ่ือการปลกู พืชผักสวนครวั กรกฎาคม วทิ ยาลัยพฒั นามหานคร 4.15
4.60
เปน็ แหลง่ อาหาร 2564 รว่ มกบั ประชาชนในหมู่บา้ น 4.20

วดั คอนเซป็ ชัญ

4 โครงการบริหารจัดการเมืองในสภาวะ มถิ นุ ายน – คณาจารย์วทิ ยาลยั พฒั นา
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโร กนั ยายน มหานครและคณะ
นา 2019
2564

4.1 ครง้ั ที่ 1 หัวข้อ การเตรยี มตัวของ 30 มิถนุ ายน ศาสตราจารยธ์ เรศ ศรีสถิตย์
เมืองในสภาวะการแพร่ระบาดของ 2564 และรศ.มานพ พงศทัต
COVID – 19 และผลกระทบต่อท่ีพกั
อาศยั ของคนเมือง

4.2 ครง้ั ที่ 2 หัวขอ้ 108 เร่ืองเคร่ือง 8 กรกฎาคม รองศาสตราจารย์มณรี ัตน์
ฟอกอากาศกับ Covid-19 2564 องค์วรรณดี

4.3 คร้งั ที่ 3 หัวขอ้ การเขา้ ถึง 22 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ชัชพล
สวสั ดกิ ารของรัฐของกลมุ่ ประชาชน กรกฎาคม มงคลิก และนายดชิ า คงศรี
เปราะบางในเขตดุสติ ในสภาวะการระบาด
ของ Covid-19 2564

4.4 ครั้งที่ 4 หัวขอ้ การวางแผนการ 23 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชัชพล
ผลติ ในยุคโควดิ -19 โดยใช้โปรแกรม กรกฎาคม มงคลิก และอาจารย์ชยั
คอมพิวเตอร์ ณรงค์ เสรีรัฐ
2564

4.5 คร้งั ที่ 5 หัวข้อ กฎหมายการจ้าง 30 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์วรพชร
งานและการชว่ ยเหลอื ประชาชนในยุค กรกฎาคม จนั ทร์ขันตีและผศ.วรี ะพงษ์
Covid-19 บงึ ไกร
2564

4.6 ครัง้ ที่ 6 หัวขอ้ การบริหาร 13 สงิ หาคม นายณัฐพงศ์ ดิษยบตุ ร และ
ทรัพยากรบุคคลในชว่ งการระบาดของ 2564 นางสาวอรัญญา พรไชยะ
Covid-19

4.7 ครง้ั ที่ 7 หัวข้อ ผู้สงู อายุยุคใหม่ 19 สงิ หาคม อาจารยเ์ บญจรัตน์ สัจกุล
หวั ใจ 5G 2564 อาจารย์โกสิน เทศวงษ์ และ
อาจารยแ์ สน กรี ตินวนันท์

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 12

ที่ ช่อื โครงการ วัน/เดือน/ ผรู้ ับผิดชอบ/วิทยากร ผลความ
ปี พงึ พอใจ
4.8 ครัง้ ท่ี 8 หัวข้อ นโยบายสาธารณะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันชัย มี
กับการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล 2 กันยายน ชาติ 4.00
4.9 ครงั้ ที่ 9 ผปู้ ระกอบการจะเอาตวั 2564 รองศาสตราจารย์นันทสารี
รอดในสถานการณ์ Covid-19 อยา่ งไร สุขโต และคณุ สีหนาท ล่าซา 4.15
20 กันยายน
2564

รายงานประจาปี 2564
หน้า 13

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 14

ผลงานทางวชิ าการที่ตีพมิ พ์เผยแพร่
ที่ ช่ือเร่ือง

1 Sukato, N., & Terason, S. (2021). Innovativeness in the Chinese Hotel Industry as Affected
by Social Networking Site Behavior and Customer Orientation. Asia-Pacific Social Science
Review, 21(2), 75-88.

2 กิรพัฒน์ เขียนทองกุล, วรญั ญู เสนาสุ และจักรกฤษ กมุทมาศ. (2564). นโยบายเศรษฐกจิ ดิจิทัลของ
ประเทศไทย: บทวเิ คราะหค์ วามสัมพันธเ์ ชิงสถาบันระหวา่ งหนว่ ยงาน ของรัฐ. วารสารปาริชาต, 34(1),
192-205.

3 นฤมล น่ิมนวล. (2564). กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองของรัฐไทย: กรณศี ึกษาเน้ือหาแบบเรียน
ในยุคเผด็จการทหาร ระหวา่ งปี พ.ศ. 2503 ถึงเหตกุ ารณ์ 14 ตุลาคม 2516. วารสารรัฐศาสตร์นเิ ทศ,
7(1), 183-217.

4 กมลชัย ยงประพัฒน์, นิดา ชัยมูล และมณีรัตน์ องคว์ รรณดี. (2564). การนาฉนวนกนั ความร้อนเหลือ
ทง้ิ ประยกุ ตเ์ ป็นไสก้ รองเครื่องฟอกอากาศ. วศิ วกรรมสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(1), 64-72.

5 วรพชร จันทร์ขันต.ี (2564). ศักดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ยภ์ ายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย.
วารสารกฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช, 32(1), 1-21.

6 พิมพา จันทรประสิทธิ์ และเจษฎานันท์ เวียงนนท.์ (2564). การสารวจพฤตกิ รรมทสี่ ่งผลตอ่ การเกิดขยะ
ในองค์กรดา้ นการศกึ ษา กรณีศึกษา สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าช. ในการประชุม
วิชาการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ คร้ังท่ี 20 (น.1-8). กรุงเทพมหานคร: สมาคมวศิ วกรรมสงิ่ แวดล้อมแห่ง
ประเทศไทย

7 เจษฎานันท์ เวียงนนท์, สุทธิชาน์ นิลฤทธ์ และปธานิน แสงอรณุ . (2564). การประเมินคาร์บอนฟุตพ
รน้ิ ท์จากแหล่งกาเนดิ ขยะของเมืองท่องเทย่ี วในหบุ เขาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต. ในการประชมุ
วชิ าการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ คร้ังที่ 20 (น.83-89). กรุงเทพมหานคร: สมาคมวิศวกรรมส่งิ แวดล้อมแหง่
ประเทศไทย

8 ชัชพล มงคลิก และ นิสากร นครเก่า. (2564). การออกแบบการทดลองสาหรับการลดของเสียวิตามินบี
แบบฉีดในอุตสาหกรรมยา. ในการประชุมวิชาการสิง่ แวดล้อมแหง่ ชาติ ครั้งที่ 20 (น.343-348).
กรุงเทพมหานคร: สมาคมวศิ วกรรมส่งิ แวดล้อมแหง่ ประเทศไทย

9 Nakornkao, N. & Mongkalig, C. (2564). Food Waste Management from the Airline Caterers.
In Proceeding The 10th International Conference On Environmental Engineering, Science
And Management (pp.41-48). Bangkok: The Environmental Engineering Association of
Thailand.

10 สาธิต ศรีสถิตย์ และธเรศ ศรีสถิตย์. (2564). ความสัมพนั ธ์เชงิ พื้นท่ีของปรากฏการณ์เกาะความร้อนใน
เมืองและภาวะฝุ่น PM 2.5 ในเขตเมอื งที่มีความหนาแนน่ สงู กรณีศึกษา กรงุ เทพมหานคร. ในการประชมุ
วิชาการสง่ิ แวดลอ้ มแห่งชาติ คร้ังท่ี 20 (น.17-24). กรุงเทพมหานคร: สมาคมวศิ วกรรมส่ิงแวดล้อมแหง่
ประเทศไทย

11 ชยุต กง่ิ เงิน และธเรศ ศรีสถิตย.์ (2564). การพฒั นาตลาดนัดค้าสง่ เส้ือผา้ สาเร็จรปู โบ๊เบ๊ช่วงเวลา
กลางคืนบนพน้ื ท่ีสาธารณะบาทวิถี รมิ คลองผดุงกรงุ เกษมและถนนกรงุ เกษม. ในการประชุมวิชาการ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 20 (น.32-38). กรุงเทพมหานคร: สมาคมวิศวกรรมส่งิ แวดล้อมแห่งประเทศ
ไทย

12 กฤตกานต์ วงศ์สง่า และธเรศ ศรีสถิตย.์ (2564). แนวทางการพัฒนาทางเท้าทเี่ หมาะสมกบั ชมุ ชนเมอื ง
กรณศี กึ ษาในพ้ืนท่เี ขตดุสติ . ในการประชุมวิชาการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ คร้ังที่ 20 (น.109-116).
กรงุ เทพมหานคร: สมาคมวศิ วกรรมส่ิงแวดล้อมแหง่ ประเทศไทย.

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 15

ที่ ช่ือเรื่อง

13 อเทตยา สายเพ็ญ และธเรศ ศรีสถิตย.์ (2564). การจัดการข้อร้องเรียนโครงการกอ่ สรา้ งในเมอื ง
กรณีศกึ ษา โครงการก่อสรา้ งรถไฟฟา้ สายสแี ดง (ช่วงบางซือ่ -รงั สติ ). ในการประชุมวิชาการสิง่ แวดลอ้ ม
แห่งชาติ ครง้ั ท่ี 20 (น.125-131). กรุงเทพมหานคร: สมาคมวศิ วกรรมสง่ิ แวดลอ้ มแห่งประเทศไทย

14 ทับทิม ชาติสุวรรณ์, มณีรัตน์ องค์วรรณดี และธีระพันธ์ จาเริญพฒั น์. (2564). การตรวจวัด
สารอินทรีย์ระเหยจากหนา้ กากอนามัยดว้ ยเทคนคิ SPME และ GCMS. ใน ธเรศ ศรสี ถติ ย์ และคณะ (บ.ก.),
การประชมุ วชิ าการส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 20 (น.55-62). กรงุ เทพฯ: สมาคมวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม
แห่งประเทศไทย.

การบริหารจัดการ
ปงี บประมาณ 2564 วทิ ยาลัยพัฒนามหานครเริม่ บริหารจดั การตามขอ้ กาหนดพืน้ ฐาน
ของเกณฑ์ EdPEx โดยเริ่มมีวิธีการและกรอบเวลาในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบงานใน
หมวดต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอนขึ้น เพื่อนาไปสู่การดาเนินงานที่เป็นระบบและมีประสิทธิผล โดย
มุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ มุ่งประสิทธิผลของการปรับปรุงการดาเนินงาน มุ่งถ่ายทอด
วิสยั ทศั น์และกลยทุ ธ์ นาส่กู ารปฏบิ ตั แิ ละพฒั นาวิทยาลยั ใหเ้ กดิ ความก้าวหน้า
ให้ความสาคญั กบั การนาองคก์ รโดยคานงึ ถึงคุณลกั ษณะทีแ่ สดงถงึ ตัวตนขององคก์ ร
เพื่อให้ตระหนักได้ถึงการเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ ที่กาลังเกิดขึ้น เข้าใจและสามารถคาดการณ์ถึง
ความท้ายทายที่กาลงั เผชิญ ซ่ึงจะส่งผลต่อการดาเนนิ งานไปสู่ความสาเร็จท่ีมุ่งหวัง คานึงถึง
สภาพแวดล้อมและบริบทเชิงกลยุทธ์ของวิทยาลัยอย่างชัดเจน การสร้างความเป็นเลิศที่มุ่งส่ง
มอบคุณค่าและผลลัพธ์ที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของผู้เรียน
และผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย
วัดความก้าวหน้าในการดาเนินงานต่าง ๆ ด้วยการทบทวนการกาหนดตัวชี้วัดในการ
ติดตามการด าเนินงาน และใช้ประโยชน์จากการติดตามค่าวัดตามตัวชี้วัดผล
การดาเนินงาน เพื่อชี้โอกาสการปรับปรุงประสิทธิผลของการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง
แสดงถึงพฤติกรรมการจัดการองค์กรโดยใช้ข้อมูลจริง ซึ่งเป็นค่านิยมที่เอื้อต่อการบริหารสู่
ความเป็นเลิศ

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 16

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาปี 2563

ในปีการศึกษา 2563 (1 สิงหาคม 2563 ถ 31 กรกฎาคม 2564) วิทยาลัย

พัฒนามหานครได้รับการตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร เมื่อวันที่

23 สิงหาคม 2564

ระดบั หลักสูตร

หลักสูตร คา่ เฉลี่ยผลการตรวจประเมิน
ระดับคุณภาพ

รวมทุกตวั บ่งชี้

วท.ม. การพฒั นาและจัดการเมอื ง 3.34 ดี

ศศ.บ. การบรกิ ารธรุ กิจการบิน 3.37 ดี

ศศ.บ. การบริหารจดั การเมอื ง 2.85 ดี

ผลการตรวจประเมิน เกณฑ์คุณภาพการศกึ ษาเพือ่ การดาเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
วิทยาลัยพัฒนามหานคร ได้รับการตรวจประเมินเมื่อวันที่ 2 0 ตุลาคม 2564

เปน็ การตรวจประเมินโดยใช้เกณฑ์คณุ ภาพการศึกษาเพื่อการดาเนนิ งานท่ีเป็นเลิศ (EdPEx) ซ่ึง
เปน็ เครอื่ งมอื ในการบรหิ ารองค์กรเพอ่ื ใหพ้ ัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการศึกษาให้มีคณุ ภาพ
อย่างก้าวกระโดด การดาเนินการมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ตั้งแต่ปี 2563 จนถึง 2564 เริ่ม
จากการทาความเข้าใจเกณฑ์ในการประเมิน การเขียนอธิบายการดาเนินการของวิทยาลัย
พัฒนามหานคร ตามแนวทางที่ปฏิบัติจริง การวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่เหมาะสม และสามารถนา
ผลลัพธไ์ ปใช้เพอ่ื การพฒั นาวิทยาลัยอย่างแท้จรงิ ซึ่งอาจเปน็ ตัวช้วี ัดที่เพิ่มเติมจากตวั ชี้วดั ตาม
แผนกลยทุ ธ์ทกี่ าหนดไว้เดมิ รวมถงึ ทาความเขา้ ใจกับบคุ ลากรทั้งวทิ ยาลัยฯ

ผลการประเมิน ด้านกระบวนการพบว่าวิทยาลัยฯ มีระดับการพัฒนาท่ีดีขึ้น โดยนั้นคือ
วิทยาลัยเริ่มมีแนวทางในการพัฒนา และดาเนินการตามข้อกาหนดพื้นฐานของเกณฑ์ในระดับ
เริ่มต้น โดยยังไม่มีการออกแบบกระบวนการที่เป็นระบบอย่างชัดเจน ขาดการระบุผู้รับผิดชอบ
รวมถึงระยะเวลาในการดาเนินการในแต่ละข้ันตอน

วิทยาลัยฯ มีการรายงานผลลัพธ์ในบางเรื่องที่มีระดับดี แสดงให้เห็นการเริ่มต้นของ
การดาเนินงานที่มุ่งเน้นการส่งมอบคุณค่าและผลลัพธ์ แต่อาจยังขาดการแสดงผลลัพธ์ใน
ตัวชี้วดั ในบางดา้ นและขาดการติดตามผลลัพธท์ ี่เกดิ จากการดาเนนิ งานอย่างครบถว้ น

ทั้งนี้วิทยาลัยจะได้นาขอ้ แนะนาจากคณะผู้ตรวจภายนอก ไปปฏิบัติ ปรบั ปรุงและแก้ไขให้
ดีขน้ึ ในปีถัดไป

รายงานประจาปี 2564
หน้า 17

กิจกรรม Town Hall Meeting
“เล่า” เร่ืองราวของเมือง ผ่านมุมมองและประสบการณ์ในซีรีส์เสวนาสาธารณะ

“อยูก่ บั เมือง” ต้อนรับเพ่อื นใหม่ 2564

ครง้ั ท่ี 1 19 ส.ค. ครั้งที่ 2 26 ส.ค.
อยกู่ ับความเชื่อ อยกู่ บั ความหลากหลาย
ธรี ภทั ร เจรญิ สขุ และ
สงกรานต์ กติ ตธิ ิติ ฐติ กิ ร สังขแ์ ก้ว และ
นฤมล นิ่มนวล

ครัง้ ที่ 3 2 ก.ย. คร้งั ท่ี 4 9 ก.ย. คร้งั ท่ี 5 16 ก.ย.
Sex and The City [ทน] อยู่กบั ความเหลอื่ มล้า อยูก่ ับโลก [สิ่งแวดลอ้ ม]
ชานนั ท์ ยอดหงษ์ และ เจษฎานนั ท์ เวยี งนนท์ และ
ชชั ฎา กาลังแพทย์ และ
จริงใจ จรงิ จิตร วรญั ญู เสนาสุ สาธิต ศรีสถิตย์

รายงานประจาปี 2564
หน้า 18

การทานบุ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
ในปงี บประมาณ 2564 วทิ ยาลยั พฒั นามหานคร ได้เผยแพร่กิจกรรมเกยี่ วกับการทานุ

บารุงศลิ ปะและวัฒนธรรม ในรปู แบบหนงั สือ และ E-book ดงั น้ี

รายงานอาหารและของดชี มุ ชน รอบ ประวัตศิ าสตร์ชุมชนโดยรอบพืน้ ท่ี
มหาวทิ ยาลยั นวมินทราธริ าช มหาวทิ ยาลัยนวมินทราธริ าช

รายงานประจาปี 2564
หน้า 19

ภาคผนวก

รายงานประจาปี 2564
หน้า 20

การบรกิ ารวิชาการ

จดั กจิ กรรมบริการวชิ าการแกส่ ังคมโดยจัดห้องเรยี นจาลองและนาเอาองคค์ วามรู้
ประสบการณ์ถา่ ยทอดสู่สังคม

เม่อื วนั ที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ โรงเรียนมธั ยมวดั สทุ ธาราม

จัดกิจกรรมบริการวิชาการแกส่ งั คมโดยจดั กจิ กรรม
สอ่ งโอกาสกรงุ เทพฯ กับหอ้ งเรยี นประชาธิปไตย และหอ้ งเรยี นผปู้ ระกอบการรนุ่ เยาว์

เมอ่ื วนั ท่ี 2 มนี าคม 2564 ณ โรงเรยี นมธั ยมวัดสุทธาราม

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 21

กิจกรรมในวิทยาลัย

บรรยายพเิ ศษ ‘มองเมอื ง’ ผา่ น บรรยายพเิ ศษ ผงั เมอื ง
มานษุ ยวทิ ยาและสทิ ธิมนษุ ยชน ‘ความเปล่ียนแปลงและ
เม่อื วันที่ 21 กุมภาพนั ธ์ 2564 การเตรียมพรอ้ มรบั อนาคต’
ณ ห้อง 501 อาคารนวมนิ ทร์ 1 เมอื่ วันท่ี 6 มนี าคม 2564
ณ ห้อง 501 อาคารนวมนิ ทร์ 1

บรรยายพิเศษ นโยบายและแผนของ บรรยายพเิ ศษ ‘เปลี่ยน’ การทาความเขา้ ใจ
กรงุ เทพฯ ‘สู่การปฏบิ ตั จิ รงิ ’ มหานครในมิติทหี่ ลากหลาย
ขบั เคลอ่ื นแผนยทุ ธศาสตร์
หัวข้อ ประวัตศิ าสตรช์ มุ ชนและเมือง เม่อื
กรุงเทพมหานครสู่การปฏบิ ัติงานจรงิ วนั ที่ 28 มนี าคม 2564
เม่ือวันที่ 7 มนี าคม 2564
ณ ห้อง 501 อาคารนวมินทร์ 1
ณ หอ้ ง 501 อาคารนวมนิ ทร์ 1

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 22

บรรยายพเิ ศษ ‘เปลี่ยน’ การทาความเขา้ ใจ จัดกิจกรรมปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาใหม่
มหานครในมิติที่หลากหลาย ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา

หวั ข้อ ขอ้ มลู การใช้ข้อมลู และการจดั ทา เมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม 2564
งบประมาณ: การวจิ ัยแบบผสมเพ่ือการ ณ ห้อง 307 อาคารนวมนิ ทร์ 1
บริหารเมือง” เพ่อื ชว่ ยกากับทิศทางการ
ทาวจิ ัยและค้นคว้าขอ้ มูลเก่ยี วกับเมือง

เม่ือวันที่ 28 มนี าคม 2564
ณ หอ้ ง 501 อาคารนวมินทร์ 1

บรรยาย "นโยบายข้อมูลสว่ นบุคคล การ เสวนาใตช้ ายคาประชากร ในประเดน็ ที่
ละเลย การละเมิด และการระวงั เชิงปฏิบตั "ิ จอดรถในพน้ื ที่สาธารณะ
ในรายการวิทยุ มงุ่ สู่ประชาธปิ ไตยไปกบั
สารวจ - โอกาส – ความท้าทาย
สถาบนั พระปกเกลา้ เมือ่ วันท่ี 21 กรกฎาคม 2564
เมอื่ วนั ที่ 19 กรกฎาคม 2564
ในรปู แบบออนไลน์
ในรปู แบบวทิ ยุ

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 23

กจิ กรรมการรวมตัวของเหล่าเพ่ือนใหม่ของชาว IMD
เมอ่ื วันท่ี 5 สงิ หาคม 2564 ในรปู แบบออนไลน์

ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ 2564
เมอ่ื วนั ที่ 8 สงิ หาคม 2564 ในรปู แบบออนไลน์

รายงานประจาปี 2564
หน้า 24

รายชื่อคณะกรรมการจัดทารายงาน

1. ศาสตราจารยธ์ เรศ ศรีสถติ ย์ ประธานกรรมการ

2. รองศาสตราจารย์มณรี ตั น์ องค์วรรณดี รองประธาน

3. นางสาวพิชญส์ นิ ี อัครโกศลเดชา กรรมการ

4. นายพงศ์ดิศ ดิษยบุตร กรรมการ

5. นางณชิ นนั ทน์ บญุ ออ่ น กรรมการ

6. นางสาวธญั ภา อินต๊ะนา กรรมการ

7. นางสภุ าลิณี หตั ถิยา กรรมการ

8. นายอภชิ ยั หาญกล้า กรรมการ

9. นายสริ ชิ ัย สวุ รรณี กรรมการ

10. ว่าท่ีรอ้ ยตรธี รี ะ ประไพศรี กรรมการและเลขานกุ าร

11. นายกฤษณะ เทศแจ่ม ผชู้ ่วยเลขานกุ าร

ท่ีอยู่และช่องทางการตดิ ต่อ

วทิ ยาลยั พฒั นามหานคร มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธริ าช

198 อาคารนวมนิ ทร์ 1 ชน้ั 3 ซอยสามเสน 13 (ฝง่ั ราชวิถี)

ถนนสามเสน แขวงวชริ พยาบาล เขตดสุ ติ กรุงเทพมหานคร

หมายเลขโทรศพั ท์ : 02-2413500

Fax : 02-1642636

Email : [email protected]

Websites : imd.nmu.ac.th

Facebook : imdnmu

Twiter : @ImdNmu

LINE Official : 066chfxb

รายงานประจาปี 2564
หนา้ 25


Click to View FlipBook Version