The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by najjapak_so, 2020-04-24 09:46:38

จุลสารคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

ตอน การปลูกข้าว

Keywords: ปลูกข้าว,ดำนา

จลุ สารคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ
ตอน การปลูกขา้ ว

เมษายน 2563

โดย
คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก วทิ ยาเขตบางพระ

จ.ชลบรุ ี

1

ตอน... การปลกู ขา้ ว

คณะเกษตรศาสตร์และทรพั ยากรธรรมชาติ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก

วิทยาเขตบางพระ จ.ชลบรุ ี

โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมเกษตรวิถีไทย วัน
ดานา สบื สานประเพณีและอนุรักษ์การปลูกข้าว
คร้ังท่ี 13 ประจาปี 2562 ในวันท่ี 17 สิงหาคม
2562 ณ โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนว
พ ร ะ ร า ช ด า ริ ค ณ ะ เ ก ษ ต ร ศ า ส ต ร์ แ ล ะ
ทรพั ยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าช
มงคลตะวนั ออก วิทยาเขตบางพระ

2

กอ่ นจะมาเปน็ ข้าวใหเ้ ราเกบ็ เก่ียว

ข้ันตอนการปลูกขา้ ว...

1. การเลือกใช้เมล็ดพันธ์ุ ควรเป็นเมล็ด

พนั ธท์ุ ดี่ ี ไมม่ แี มลงกดั กิน และไมม่ ีโรค

2. แช่เมล็ดข้าวในน้า 1 คืน เพ่ือให้ข้าว

ภาพ: การแช่ข้าว ดูดนา้ เข้าไป เพื่อใชใ้ นกระบวนการงอก

(ที่มา: https://www.gotoknow.com)

3. นาเมล็ดข้าวขึ้นมาจากน้า

และบ่มเอาไว้ในผ้าขาวบางหรือ
ในกระสอบ 3 วัน เพื่อกระตุ้น
การเกดิ ราก

ภาพ: การบม่ ข้าวในกระสอบเพื่อเรง่ การงอก
(ที่มา: https://www.kubotasolutions.com/)

4. เม่ือเมล็ดข้าวเร่ิมงอกนาไปหว่าน

บนแปลงเพาะกล้าที่ได้ทาเทือกเอาไว้
แล้ว

ภาพ: เมลด็ ข้าวท่พี รอ้ มหว่าน

3 ภาพ: การเตรยี มเรยี งแถวเป็นหนา้ กระดานเพอื่
ดานาของนักศกึ ษา
5. เม่ือตน้ กล้าอายุได้ 1 เดือน ย้ายต้น ภาพ: การจดั เรียงกล้าให้ง่ายตอ่ การหยบิ ของผู้
ทม่ี าลงแขกดานา
กล้าข้าวไปปลูกในแปลงนา เรียกว่า
“การดานา” ระยะท่ีใช้ในการปักดาคือ
ระห ว่า งต้ น 2 0 เซ นติเ มต ร แล ะ
ระหว่างแถว 25 เซนตเิ มตร

6. การใสป่ ุ๋ย แบง่ ออกเป็น 2 คร้ัง

การใส่ปุ๋ยคร้ังที่ 1 คือ ก่อนการปักดา
ถ้าเป็นข้าวที่ตอบสนองต่อช่วงแสง เช่น
ขาวดอกมะลิ105 กข6 เป็นต้น ให้ใส่ปุ๋ย
16-16-8 อัตรา 20-25 กิโลกรัมต่อไร่
หากเป็นขา้ วท่ีไมต่ อบสนองต่อช่วงแสง เช่น
ข้าวปทุมธานี1 กข10 เป็นต้น ใส่ปุ๋ย 16-
16-8 อัตรา 30-35 กโิ ลกรัมต่อไร่ หากไม่
มีปุ๋ย 16-16-8 สามารถให้ปุ๋ยสูตร 16-
20-0 18-22-0 20-20-0 และ 18-
46-0 แทนได้ โดยใช้อัตราเดียวกับ 16-
16-18

ภาพ: การดานาของนักศกึ ษา

ภาพ: พีส่ อนนอ้ งดานา การถ่ายทอดวัฒนธรรม
จากรนุ่ สรู่ นุ่

4

โดยท่ัวไปข้าวพนั ธุส์ มยั ใหม่หรือข้าวที่ถูกปรับปรุงพันธ์ุมาแล้วมักเป็นข้าวที่ไม่ตอบสนองต่อช่วง
แสง แตต่ อบสนองตอ่ การใส่ปุ๋ยได้ดี น่ันก็คือย่ิงใส่ปุ๋ยยิ่งเจริญเติบโตดี เมื่อเจริญเติบโตทางลาต้น
เสร็จก็จะเข้าสู่ระยะเจริญพันธุ์ ในขณะที่ข้าวพื้นเมือง หรือพันธุ์ข้าวโบราณจะยังคงเป็นพันธุ์ที่
ตอบสนองต่อช่วงแสง เม่ือได้รับการกระตุ้นด้วยช่วงแสงสั้นระยะหน่ึง ข้าวจะออกดอก โดยไม่
คานงึ ถึงความพร้อมของลาต้น ดงั นน้ั การให้ปุ๋ยจะให้นอ้ ยกวา่ ข้าวพนั ธุ์ทไี่ ม่ตอบสนองตอ่ ชว่ งแสง

การใส่ปุ๋ยคร้ังท่ี 2 คือ ที่ระยะกาเนิดช่อดอก หรือ 9. นวดและตากข้าว
30 วัน กอ่ นข้าวออกดอก หากเปน็ ข้าวที่ตอบสนองต่อ
ช่วงแสง ให้ปุ๋ยยเู รยี 46-0-0 อตั รา 10 กิโลกรัมต่อไร่ ขั้ น ต อ น ต่ อ จ า ก ก า ร ต า ก
หรอื ให้ปุ๋ย 21-0-0 อตั รา 20 กิโลกรมั ต่อไร่ หากเป็น ข้าวคือ การทาให้เมล็ดข้าวหลุด
ขา้ วที่ไม่ตอบสนองต่อช่วงแสง ให้ป็ย 46-0-0 อัตรา จากรวง ภาคใต้และภาคกลาง
20 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ 21-0-0 อัตรา 40 กิโลกรัม เ รี ย ก ว่ า ก า ร “ น ว ด ข้ า ว ”
ต่อไร่ เน่ืองจากเป็นกริยาการนวดเท้า
หรือย่าเท้าลงบนรวงข้าวท่ีมัดเป็น
7. ดูแลรักษาให้ปลอดจากโรค แมลง และวัชพืช ช่อไว้ คล้ายๆกบั การนวดผ้าโดยใช้
เ ท้ า ส่ ว น ภ า คเ ห นื อ แล ะ ภ า ค
จนกว่าจะถงึ ระยะเก็บเกี่ยว หรือ ระยะพลับพลึง ซึ่ง ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ เ รี ย ก ว่ า
เ ป็ น ร ะ ย ะ ท่ี ข้ า ว เ ป ลี่ ย น จ า ก สี เ ขี ย ว เ ป็ น สี เ ห ลื อ ง “ฟาดขา้ ว” หรอื “บบุ ข้าว”
ประมาณ 80% ของรวง

8. เกบ็ เกี่ยวข้าว

ภาพ: การฟาดขา้ วโดยนกั ศกึ ษาคณะเกษตรศาสตร์
และทรัพยากรธรรมชาติ

5

วิธีที่แตกต่างกันนี้เกิดจากวิถีท่ีแตกต่างกัน
ในแต่ละภูมิภาค เนื่องจากในภาคใต้มีการเก็บ
โดยใช้ “แกะ” ซ่ึงสามารถเก็บได้คร้ังละ 1 รวง
และความยาวของต้นข้าวก็ไม่ยาวมากนัก
เน่ืองจากเก็บด้วยแกะและต้องถือให้ได้ด้วยมือ
ขา้ งนัน้

ภาพ: ไม้หบี สาหรบั ฟาดข้าว
(ทม่ี า: https://www.navanurak.in.th/)

การฟาดข้าว สาหรับภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือนั้น ข้าวท่ีเกี่ยวมาโดยใช้
เคียวน้ัน สามารถเก่ียวลาต้นให้ยาวขึ้นอยู่กับ
ความต้องการของชาวนา ย่ิงยาวจะทาให้ง่าย
ตอ่ การจับ และงา่ ยต่อการไถกลบ นอกจากน้ัน
ยังข้ึนอยู่กบั การใช้ประโยชน์ของฟางตน้ ขา้ ว

ภาพ: การนาขา้ วไปตาก

ภาพ: การรอ้ งราทาเพลงของนักศกึ ษา อุปกรณ์สาหรับฟาดข้าวหรือตีข้าว เรียกว่า
หลงั ลงแขกเก่ยี วข้าว “ไม้หนีบ” บางพ้ืนท่ีเรียกว่า “ไม้หีบ” คือไม้ท่ี
ใช้หนีบข้าว เพื่อความสะดวกในการฟาดข้าว
ทา จา ก ไม้ จริ งห รื อ ไม่ ไผ่ ข นา ดเ ส้ นผ่ า น
ศูนย์กล างปร ะมาณ 1 น้ิว มีคว ามยาว
ประมาณ 1 เมตร จานวน 2 ท่อน เจาะรูที่
ปลายด้านหนง่ึ ของแต่ละทอ่ น แลว้ ใชเ้ ชอื ก (บาง
คนใช้โซ่แทนเชือก) ยาวประมาณ 30-50
เซนติเมตร ร้อยกบั ไมท้ ั้ง 2 ทอ่ น

หลังจากเกยี่ วขา้ วแล้ว ชาวนาในอดีตก็มานั่ง
พัก ด่ืมน้าดื่มท่า บางส่วนก็ร้องราทาเพลง ก่อ
เกิดเปน็ ศิลปะ “เพลงเกย่ี ว” ขึ้นมา

ภาพ: บรรยากาศหลังลงแขกเก่ยี วข้าว
ของนักศกึ ษา

6

วธิ ีปฏบิ ตั ใิ นการเกบ็ รักษาข้าว
1. ความชนื้ ของขา้ วทจี่ ะเกบ็ ไม่ควรสูงเกิน 14% ถ้าเป็นเมลด็ พันธุ์

ความชืน้ ไมค่ วรเกิน 12%

2. ความสะอาด ข้าวที่จะเก็บต้องสะอาดไม่มีส่ิงเจือปน เช่น เศษฟาง ตอซัง วัชพืช

กรวด หิน ดิน ทรายเพราะสิ่งเหล่าน้ีดูดความชื้นได้ดี ทาให้ข้าวมีความช้ืนเพ่ิมขึ้น
ในขณะเก็บรกั ษา

3. การปลอดจากโรค แมลง ศตั รตู ่างๆ ขา้ วที่จะนาเข้าเกบ็ ตอ้ งปลอดจากโรค แมลง และศตั รู

ตา่ งๆ หากพบควรหาวิธปี ้องกนั กาจัดทีถ่ ูกต้องและเหมาะสม

4. การควบคุมอุณหภูมแิ ละความชื้นสัมพัทธ์ภายในโรงเก็บให้อยใู่ นสภาพทเ่ี หมาะสม
5. ลักษณะและสถานทต่ี ้งั ของโรงเกบ็ ควรตง้ั อยบู่ นท่ดี อน และแหง้ มกี ารระบายน้าดี

รอบๆบริเวณโรงเกบ็ ตอ้ งสะอาด โปร่ง ไมม่ ีต้นไมใ้ หญ่ข้ึนปกคลมุ สภาพโรงเกบ็ ตอ้ งมี
ผนังปดิ มิดชิดแนน่ หนา มีหลังคากันแดด กันฝน ควรยกพ้นื สูงเพอื่ ใหม้ กี าร
ถ่ายเทอากาศดา้ นล่างตามชอ่ งเปิดตา่ งๆ ควรมตี าข่าย
ป้องกนั นก หนู และสัตว์ศัตรตู า่ งๆ

6. การจัดการในขณะเก็บรกั ษา ควรมีการตรวจสอบขา้ ว

ท่ีเกบ็ และโรงเก็บเปน็ ระยะๆ

สุดทา้ ยแล้ว กิจกรรมท่ีเกดิ ข้ึนต้งั แต่ดานาจนกระท่งั เก่ยี วข้าว นอกเหนอื จากการอนรุ กั ษศ์ ิลปะ
วัฒนธรรม และประเพณอี ันดงี ามเอาไวก้ ค็ ือการสรา้ งความสามัคคี และการชว่ ยเหลือกันของนักศกึ ษา

ทงั้ ภายในและภายนอกคณะ
ขอบคณุ งบสนบั สนนุ ท่ีทาใหโ้ ครงการดๆี น้ีเกดิ ข้นึ มา
คณะเกษตรศาสตรแ์ ละทรพั ยากรธรรมชาติ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

7

กองบรรณาธกิ าร

คณบดคี ณะเกษตรศาสตรแ์ ละทรพั ยากรธรรมชาติ
รองคณบดฝี า่ ยบริหารและแผน
รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการและวิจยั
รองคณบดีฝา่ ยกิจการนกั ศกึ ษาและกจิ การพเิ ศษ
ผชู้ ว่ ยคณบดีฝ่ายงานฟาร์ม
ผชู้ ว่ ยคณบดีฝ่ายแนะแนว ประชาสัมพนั ธ์และกจิ การพเื ศษ
หวั หนา้ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลิตพืช
หวั หน้าสาขาวิชาสัตวศาสตร์
หวั หนา้ สาขาวชิ าประมง
หัวหนา้ สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์
หัวหนา้ สาขาวิชาวศิ วกรรมเกษตรและเทคโนโลยี
หัวหนา้ สานกั งานคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ
ผศ.ดร.รัตตกิ าล เสนน้อย
ดร.สพุ รรษา ชนิ วรณ์
อ.ภาณุ เอ่ยี มต่อม
นายชูชัย เชย่ี วชาญ

คณะเกษตรศาสตรแ์ ละทรพั ยากรธรรมชาติ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก วิทยาเขตบางพระ

43 ม.6 ต.บางพระ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี
Website: http://agri.rmutto.ac.th/
Facebook: https://www.facebook.com/AGRI.RMUTTO/

โทร. 089-2454388


Click to View FlipBook Version