The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเสริมประสบการณ์final1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6312440016, 2021-04-25 03:53:00

หนังสือ1

หนังสือเสริมประสบการณ์final1

หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์

ระดบั ภาษา

วิชาภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓

อาจารย์ สรไกร เปรมวงษ์ กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลยั รามคาแหง

คานา

หนังสอื เลน่ น้มี ุ่งเน้นให้ความรูเ้ กย่ี วกับการ
เลือกใชร้ ะดับภาษาในการส่ือสารซ่งึ อยูใ๋ นเนอื้ หาร
การเรียน ในรายวชิ าภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่
๓ สาระการเรียนรทู้ ่ี ๑ระดบั ภาษาและคาราชาศพั ท์
ซ่งึ ตรงกับหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
พ.ศ. ๒๕๕๑ ตามตวั ช้ีวัด ท ๔.๑ ม.๓/๓ วเิ คราะห์
ระดบั ภาษา โดยอาจารย์ผจู้ ัดทาหวังว่าหนงั สอื เสรมิ
ประสบการณ์เลม่ นจี้ ะทาให้นักเรียนได้เสรมิ สรา้ งองค์
ความร้เู กย่ี วกับระดับภาษาช่วยให้สามารถพดู และ
เขยี นภาษาไทยได้ถกู ต้องเหมาะสมกบั สัมพนั ธภ์ าพ
ของบุคคล โอกาส กาลเทศะ และประชมุ ชม เพ่ือให้
การส่อื สารเปน็ ทีเ่ ขา้ ใจและพอใจทงั้ ฝ่ายผสู้ ง่ สารและ
ผรู้ บั สารและบังเกดิ สัมฤทธิผ์ ลสามความม่งุ หมาย

อาจารย์ สรไกร เปรมวงษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลยั รามคาแหง

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
ในการใชห้ นังสือเสรมิ ประสบการณ์

การส่ือสาร

1.นกั เรียนสามารถบอกความหมายของการสอื่ สารได้
ถูกต้อง (K)
2.นกั เรยี นสามารถบรรยายความสาคัญของการสือ่ สารได้
(K)
3.นักเรียนสามารถจาแนกองค์ประกอบและประเภทของ
การสื่อสารได้ (P)
4. นักเรยี นเห็นความสาคัญของการสอื่ สารใน
ชีวิตประจาวัน (A)

ระดบั ภาษา

1.นักเรยี นสามารถอธบิ ายลักษณะของระดับภาษาได้ (K)
2.นกั เรียนสามารถวิเคราะหร์ ะดับภาษา (P)
3.นกั เรียนตระหนักในคุณคา่ ของการใชภ้ าษาให้ถูกต้อง
เหมาะสมกับโอกาส กาลเทศะและบคุ คล (A)

คำแนะนำ
ในกำรใชห้ นังสือเสริมประสบกำรณ์

คาแนะนาสาหรบั ครู

1.หนังสอื เสรมิ ประสบการเล่มนเ้ี ปน็ หนังสือท่ใี ห้นักเรียน
สกึ ษาดว้ ยตนเอง

2.ครูผู้สอนควรแจ้งจุดประสงค์ในการใช้หนังสือเสรมิ
ประสบการณ์ให้นกั เรยี นทราบ

3.ครผู ูส้ อนควรอธบิ ายวธิ กี ารใชห้ นังสือเสรมิ ประสบการณ์ให้
นกั เรยี นเข้าใจกอ่ นทาการเรียนรู้

4.หนา้ ที่ของครผู สู้ อนในการใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ คือ
เป็นผู้ใหค้ วามช่วยเหลอื ให้คาปรกึ ษาเม่อื นกั เรยี นเกดิ ปัญหา

คาแนะนาสาหรับนกั เรยี น

1.หนังสอื เสริมประสบการณเ์ ลม่ นเี้ ป็นหนังสอื ที่นกั เรยี นตอ้ ง
ศึกษาหาความรดู้ ้วยตนเอง

2.หนังสอื เสรมิ ประสบการณเ์ ล่มนป้ี ระกอบดว้ ยเนือ้ หา
แบบฝึกหัด และเกม โดยที่ใหน้ กั เรยี นศึกษาเนือ้ หาไปตามแตล่ ะหัวข้อ ไม่
ควรข้ามเนอ้ื หา

3.สาหรบั การใชห้ นงั สอื เสรมิ ประการณเ์ ลม่ น้ี จะต้องใช้
โทรศัพท์มือถือรว่ มในการศึกษา ในส่วนของการเล่นเกม

4.นักเรียนควรซ่อื สตั ย์ตอ่ ตนเองไม่ดเู ฉลยก่อนท่จี ะทากิจกรรม

สำรบญั หนา้

เร่ือง ๑

แบบทดสอบก่อนเรียน ๒
หนว่ ยที่ ๑. การสื่อสาร ๒

๑.๑ ความรพู้ น้ื ฐานเรอื่ งการสอื่ สาร ๔-๕

๑.๒ ความสาคญั ของการสื่อสาร ๖
๗-๘
๑.๓ องคป์ ระกอบของการส่ือสาร ๙

๑.๔ วัตถปุ ระสงค์การสอ่ื สาร

หน่วยที่ ๒. ระดับภาษา

๒.๑ ความหมายของระดับภาษา

๒.๒ ประเภทของระดับภาษา

๒.๓ ปจั จัยทีก่ าหนดระดับของภาษา
แบบทดสอบหลงั เรียน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

คาชแ้ี จง :ให้นกั เรียนเสือกคาตอบท่ถี กู ตอ้ งทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว

1. ขอ้ ใดเปน็ องคป์ ระกอบของการส่อื สาร
1.สื่อ สาร การตอบสนอง
2.ผสู้ ่งสาร ผรู้ บั สาร สอ่ื สาร
3.ผสู้ ง่ สาร ผ้รู ับสาร สือ่
4.ผูส้ ่งสาร ผรู้ บั สาร การตอบสนอง

2. ในการจัดนทิ รรศการผลงานทางศลิ ปะข้อใดเปน็ ผู้ส่งสาร
1.นทิ รรศการ
2.ผู้จัดนทิ รรศการ
3.ผู้ชมนทิ รรศการ
4.สถานทจ่ี ัดนทิ รรศการ

3. จากขอ้ 2. ข้อใดจดั เปน็ สือ่
1.ผ้ชู มนทิ รรศการ
2.ผ้จู ดั นทิ รรศการ
3.สถานที่จดั นทิ รรศการ
4.อุปกรณ์ต่างๆ ในการจดั นิทรรศการ

4. ขอ้ ใดจดั เป็นสาร
1.จดหมาย
2.ผสู้ ง่ จดหมาย
3.ข้อความในจดหมาย
4.ผเู้ ขยี นจดหมาย

5. การส่ือสารที่ดี นอกจากจะมอี งค์ประกอบของการส่ือสารแลว้ ส่ิงที่จะต้อง
คานึงถงึ อกี ประการหนึ่งคอื

1.ความชัดเจนของสาร
2.ความจริงใจของผสู้ ือ่ สาร
3.ความเข้าใจของผู้รบั
4.กาลเทศะ และสภาพแวดล้อมเพ่อื ผู้รบั สารจะได้เกิดความเขา้ ใจตรงกนั

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (ตอ่ )

6. ภาษาระดบั พิธกี าร ใชเ้ นอ่ื งในโอกาสใด
1.การประชมุ กลมุ่ หรอื อภปิ รายกลุ่ม
2.การกล่าวรายงานในพธิ มี อบปริญญาบัตร
3.การเขยี นจดหมายระหว่างเพ่ือน
4.บทความในหนังสอื พมิ พ์ กิจธรุ ะตา่ ง ๆ

7. เฮ้อ! เซ็ง เงินทองกไ็ มค่ ่อยจะมี จากขอ้ ความเปน็ ภาษาในระดับใด
1.ภาษาระดบั ทางการ
2.ภาษาระดบั กงึ่ ทางการ
3.ภาษาระดับไมเ่ ปน็ ทางการ
4.ภาษาระดับกันเอง

8. ข้อใดอธบิ ายความหมายของระดับภาษาได้ชัดเจนท่ีสดุ
1.การใช้ภาษาเป็นเครอื่ งมอื ส่ือสารความรู้ ความคดิ ความรสู้ กึ
2.การใช้ภาษาตามสัมพันธภาพของบุคคลโดยคานึงถงึ กาลเทศะ
3.การใชภ้ าษาแบบเปน็ ทางการ
4.การใชภ้ าษาแบบไมเ่ ปน็ ทางการ

9. คาในข้อใดมกั จะใช้ในภาษาระดบั สนทนาและระดบั กันเองเท่านั้น
1.อยา่ งน้ัน อย่างน้ี อย่างไร
2.บริโภค รบั ประทาน เสวย
3.กระผม
4.ฉัน กัน เรา

10. ข้อใดใช้ภาษาระดับสนทนามากทส่ี ุด
1.การประชุมกลมุ่ หรอื อภปิ รายกลุ่ม
2.การพูดจากันระหวา่ งบุคคลภายในครอบครัว
3.การเขียนจดหมายระหวา่ งเพ่อื น
4.การเปดิ ประชมุ รฐั สภา

ความร้พู นื้ ฐานเร่อื งการส่ือสาร

การสือ่ สารเป็นปจั จัยสาคัญในการดารงชีวติ มนุษย์จาเปน็ ต้อง
ติดต่อสอ่ื สารกันอยู่ตลอดเวลา การสอ่ื สารจึงเป็นปัจจัยสาคญั อยา่ งหน่ึง
นอกเหนอื จากปัจจัยพน้ื ฐานในการดารงชีวิตของมนษุ ย์ การส่ือสารมีบทบาท
สาคญั ต่อการดาเนนิ ชวี ติ ของมนษุ ย์มาก การสอ่ื สารมคี วามสาคญั อยา่ งย่งิ ใน
ปจั จุบัน ซึ่งไดช้ อ่ื ว่าเป็นยคุ โลกาภิวัตน์เปน็ ยคุ ของขอ้ มูลข่าวสาร
การส่อื สารมีประโยชนท์ ัง้ ในแง่บคุ คลและสงั คม การสอื่ สารทาให้คนมคี วามรู้
และโลกทศั นท์ ี่กว้างขวางขึ้น การส่อื สารเป็นกระบวนการท่ีทาให้สังคม
เจริญกา้ วหนา้ อย่างไม่หยุดยง้ั ทาใหม้ นุษย์สามารถสืบทอดพฒั นา เรียนรู้
และรบั รู้วฒั นธรรมของตนเองและสังคมได้ การส่อื สารเปน็ ปจั จยั สาคญั ใน
การพฒั นาประเทศ สรา้ งสรรค์ความเจรญิ ก้าวหนา้ แกช่ ุมชน และสังคมใน
ทุกดา้ น

จากคลิปวีดีโอ นกั เรียนคดิ ว่า
สาเหตใุ ดทีส่ ง่ ผลทาให้การส่ือสาร

เกิดการผิดพลาด

ความสาคัญของการส่อื สาร

๑. การสื่อสารเปน็ ปัจจัยสาคัญในการดารงชวี ติ
ของมนษุ ย์ทกุ เพศทกุ วยั ไม่มใี ครทีจ่ ะดารงชีวติ ได้
โดยปราศจากการสือ่ สาร ทุกสาขาอาชีพกต็ อ้ งใช้
การสอื่ สารในการปฏบิ ัติงาน การทาธุรกจิ ต่าง ๆ
โดยเฉพาะสังคมมนุษยท์ มี่ ีการเปลย่ี นแปลงและ
พัฒนาตลอดเวลา พฒั นาการทางสงั คม จงึ ดาเนนิ
ไปพร้อม ๆ กบั พฒั นาการทางการสือ่ สาร
๒. การส่อื สารก่อใหเ้ กดิ การประสานสัมพนั ธก์ ัน
ระหวา่ งบุคคลและสังคม ช่วยเสริมสร้างความเขา้ ใจ
อันดีระหวา่ งคนในสังคม ชว่ ยสืบทอดวฒั นธรรม
ประเพณีสะท้อนใหเ้ ห็นภาพความเจรญิ รงุ่ เรือง
วิถีชวี ิตของผคู้ น ชว่ ยธารงสังคมใหอ้ ย่รู ่วมกันเปน็
ปกตสิ ขุ และอยูร่ ว่ มกนั อย่างสนั ติ
๓. การสอื่ สารเปน็ ปจั จยั สาคัญในการพฒั นาความ
เจรญิ ก้าวหนา้ ทั้งตวั บุคคลและสังคม การพฒั นาทาง
สงั คมในด้านคุณธรรม จริยธรรม วิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี ฯลฯ รวมทงั้ ศาสตรใ์ นการส่ือสาร
จาเปน็ ตอ้ งพัฒนาอย่างไมห่ ยดุ ย้งั การส่อื สารเป็น
เครอ่ื งมอื ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของมนษุ ยแ์ ละ
พฒั นาความเจริญก้าวหนา้ ในด้านตา่ ง ๆ

องคป์ ระกอบทีส่ าคญั ของการสอ่ื สาร

องคป์ ระกอบที่สาคัญของการสอ่ื สาร มี 4 ประการ

1. ผสู้ ง่ สาร (sender) หรือ แหลง่ สาร (source) หมายถึง
บคุ คล กล่มุ บุคคล หรอื หนว่ ยงานทีท่ าหน้าท่ีในการส่งสาร
หรือเป็นแหล่งกาเนดิ สาร
2. สาร (message) หมายถึง เร่ืองราวที่มีความหมายหรือ
ส่งิ ต่าง ๆ
ท่ีอาจอยใู่ นรูปของข้อมลู ความรู้ ความคิด ความตอ้ งการ
อารมณ์ ฯลฯ
ซง่ึ ถ่ายทอดจากผ้สู ง่ สารไปยงั ผูร้ บั สารให้ได้รับรู้ และแสดง
ออกมาโดยอาศัยภาษาหรอื สญั ลักษณ์ใด ๆ
3. สอ่ื หรอื ชอ่ งทาง (media or channel) เปน็
องคป์ ระกอบที่สาคัญอกี ประการหนง่ึ ในการ
สอื่ สาร หมายถงึ สิง่ ที่เปน็ พาหนะของสาร ทาหน้าทน่ี าสาร
จากผสู้ ่งสารไปยงั ผ้รู ับสาร ผู้สง่ สารต้องอาศยั สื่อหรอื
ช่องทางทาหนา้ ทน่ี าสารไปสูผ่ ู้รบั สาร
4. ผ้รู บั สาร (receiver) หมายถงึ บุคคล กลุ่มบคุ คล หรือ
มวลชนที่รับเรอ่ื งราวข่าวสาร
จากผสู้ ง่ สาร และแสดงปฏิกิริยาตอบกลับ (Feedback) ต่อผู้
ส่งสาร หรอื ส่งสารต่อไปถงึ ผรู้ ับสารคนอน่ื ๆ ตาม
จุดมงุ่ หมายของผสู้ ง่ สาร

วัตถุประสงคก์ ารสอื่ สาร

๑. เพื่อแจง้ ให้ทราบ (inform) ในการทากา ๔. เพือ่ เสนอหรอื ชักจูงใจ
สือ่ สาร ผทู้ าการสอ่ื สารควรมคี วาม ต้องการ (Propose or persuade) ผ้ทู าการสอ่ื สารอาจ
ทจ่ี ะบอกกลา่ วหรอื ชี้แจงขา่ วสาร เร่อื งราว ใชว้ ัตถปุ ระสงคใ์ น การสอ่ื สารเพอื่ ให้
เหตกุ ารณ์ หรอื ส่ิงอืน่ ใดให้ผรู้ บั สารได้รบั ทราบ ข้อเสนอแนะ หรือชกั จูงใจในสงิ่ ใดสงิ่ หนึง่ ต่อ
๒. เพอื่ สอนหรือใหก้ ารศกึ ษา ผรู้ บั สาร และอาจชักจงู ใจใหผ้ ้รู ับสารมคี วามคดิ
(teach or education) ผทู้ าการสื่อสารอาจ คล้อยตาม หรือยอมปฏิบัตติ ามการเสนอแนะ
มวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อจะถา่ ยทอดวชิ าความรู้หรอื ของตน
เรือ่ งราวเชงิ วชิ าการ เพอ่ื ให้ผู้รบั สารได้มี ๕. เพือ่ เรยี นรู้
โอกาสพัฒนาความร้ใู หเ้ พม่ิ พูนยงิ่ ขึ้น (learn) วตั ถปุ ระสงคน์ ี้มคี วามเก่ยี วขอ้ งโดยตรง
๓. เพ่ือสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง กับผูร้ บั สาร การแสวงหาความรู้ ของผรู้ ับสาร
(please of entertain) ผทู้ าการสอ่ื สารอาจ โดยอาศัยลักษณะของสาร ในกรณีนมี้ ักจะเปน็
ใชว้ ัตถปุ ระสงคใ์ นการสื่อสารเพอ่ื สรา้ งความ สารที่มเี น้ือหาสาระเก่ยี วกับวชิ าความรู้ เปน็
พอใจ หรอื ใหค้ วามบันเทิงแก่ผ้รู ับสาร โดย การหาความรู้เพม่ิ เติมและเป็นการทาความเข้าใจ
อาศยั สารทตี่ นเองสง่ ออกไปไม่วา่ จะอยู่ในรูป กับเน้ือหาของสารทผ่ี ู้ทาการส่อื สารถ่ายทอด
ของการพดู การเขียน หรอื การแสดงกิรยิ า มาถึงตน
ตา่ ง ๆ ๖. เพ่ือกระทาหรือตัดสนิ ใจ
(dispose or decide) ในการดาเนินชีวิตของ
คนเรามี ส่ิงหน่ึงที่ต้องกระทา อย่เู สมอก็
คอื การตัดสนิ ใจกระทาการอยา่ งใดอยา่ ง
หน่งึ การตดั สนิ ใจ นน้ั อาจไดร้ บั การ
เสนอแนะ หรือชกั จงู ใจใหก้ ระทาอย่างน้นั อย่าง
นจ้ี ากบุคคลอื่นอยู่เสมอ ทางเลอื กในการ
ตดั สนิ ใจของเราจงึ ขน้ึ อยูก่ บั ขอ้ เสนอแนะนน้ั

สแกนQR Code
เพอื่ เขา้ เลน่ เกม

องค์ประกอบการส่ือสาร

วตั ถปุ ระสงคข์ อง
การสื่อสาร

วิธีการเข้าเล่นเกม สามารถเลอื กเลน่ ได้ 3 แบบ

ระดบั ภาษา

ความหมายของระดับภาษา

ระดบั ภาษา คอื ความแตกต่างของภาษา ทัง้ ภาษาพูด ภาษาเขียน และ ภาษา
ทา่ ทาง ซึง่ ควรใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ฐานะของบคุ คลและกาลเทศะในการสอ่ื สาร
ราชาศพั ท์ซง่ึ ไดแ้ ก่ ระเบยี บการใช้ถอ้ ยคาให้เหมาะแกช่ ัน้ ของบคุ คล ก็เปน็ เรอื่ ง
เกยี่ วกบั ระดบั ภาษาดว้ ย

“ภาษาไทยนนั้ มีหลายระดับ
คณานบั ใชผ้ ดิ เป็นหม่นื แสน

หลายเช้ือหลากสายทั่วดนิ แดน
อยา่ ดแู คลนท่ีผิดพลาดให้บรรเทา

คนรุ่นใหมใ่ ส่ใจการสอื่ สาร
ดสู นานกาลพดู คุยกบั ใครเขา

คิดสนกุ มเี สน่หต์ ่อตัวเรา
อย่าดูเบาเลือกระดับภาษาเอย”

สรไกร เปรมวงษ์

ประเภทของระดับภาษา

ระดับภาษาไทย แบง่ ออกเปน็ ๕ ระดับดงั นี้

๑. ภาษาระดบั พิธกี าร เปน็ ภาษาท่ี
สมบรู ณ์แบบ รปู ประโยคถกู ตอ้ งตามหลัก
ไวยากรณ์ มคี วามประณตี งดงาม อาจใช้
ประโยคทซ่ี บั ซ้อน และใช้คาระดบั สงู
ภาษาระดบั นี้ จะใชใ้ นโอกาสสาคญั ๆ เชน่
งานราชพธิ ี วรรณกรรมชัน้ สงู เปน็ ตน้

๒. ภาษาระดบั ทางการ หรือ ภาษา
ทางการ/ภาษาราชการ เป็นภาษาท่ี
สมบรู ณ์แบบ รูปประโยคถกู ต้องตามหลกั
ไวยากรณ์ เนน้ ความชดั เจน ตรงประเด็น
ใชใ้ นโอกาสสาคัญที่เปน็ ทางการ เชน่
หนงั สอื ราชการ วทิ ยานิพนธ์ รายงานทาง
วชิ าการ การกลา่ วปราศรัย การกล่าวเปดิ
งานสาคญั ๆ เปน็ ต้น

๓. ภาษาระดับกึง่ ทางการภาษาระดบั นี้
คลา้ ยกบั ภาษาระดบั ทางการ แตล่ ดความ
เป็นการเป็นงานลงบา้ ง มกั ใชใ้ นการประชุม
กลมุ่ ท่เี ลก็ กว่าการประชมุ ท่ตี อ้ งใช้
ภาษาระดบั ทางการ เชน่ ในการประชมุ กล่มุ
ย่อย การบรรยายในหอ้ งเรียน เนอื้ หาข่าว
และบทความในหนงั สอื พมิ พ์ มกั ใชภ้ าษาท่ี
ทาใหร้ ูส้ กึ คนุ้ เคยมากกวา่ ภาษาในระดบั
ทางการ และใชศ้ พั ทเ์ ฉพาะเทา่ ท่จี าเป็น

ประเภทของระดบั ภาษา

ระดับภาษาไทย แบง่ ออกเปน็ ๕ ระดับดังนี้

๔. ภาษาระดบั ไม่เปน็ ทางการ เป็นภาษาที่ไม่
เครง่ ครดั ตามแบบแผน เพือ่ ใช้ในการสอื่ สารทัว่ ไป
ในชีวติ ประจาวนั หรอื โอกาสทัว่ ๆ ไปท่ีไม่เป็น
ทางการ ใช้ในการสนทนาระหวา่ งบุคคลหรอื กล่มุ
เล็กๆ ในสถานท่แี ละโอกาสท่ไี ม่เปน็ การส่วนตัว
เช่น ในการเขยี นจดหมายระหวา่ งเพอ่ื น ภาษาที่
ใชอ้ าจมีถ้อยคาท่เี คยใชก้ ันเฉพาะกล่มุ

๕. ภาษาระดบั กนั เองหรือภาษาปาก เปน็ ภาษา
พดู ท่ใี ชส้ นทนากบั บุคคลทีส่ นทิ คุน้ เคย ใช้สถานท่ี
ส่วนตวั หรอื ในโอกาสทตี่ อ้ งการความสนกุ สนาน
คร้นื เครง ภาษาทใี่ ช้เปน็ ภาษาพูดท่ีไมเ่ คร่งครดั
อาจมคี าตัด คาสแลง คาด่า คาหยาบปะปน
โดยทว่ั ไปไม่นิยมใชใ้ นภาษาเขยี น ยกเว้นงานเขียน
บางประเภท เชน่ เรอ่ื งสั้น นวนยิ าย ภาษาขา่ ว
หนังสือพมิ พ์ ฯลฯ

ปจั จัยทก่ี าหนดระดบั ของภาษา

๑. โอกาสและสถานท่ี
ถ้าโอกาสและสถานทตี่ ่างกัน การใชภ้ าษาก็ตา่ งกนั ดว้ ย เชน่ ภาษาทใี่ ชใ้ นที่

ประชมุ ย่อมแตกต่างจากภาษาทีใ่ ชใ้ นตลาด ร้านคา้ และภาษาท่ใี ชใ้ นงานมงคลสมรสย่อม
ต่างจากภาษาทใ่ี ชใ้ นงานอวมงคล
๒. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล

บคุ คลอาจมีสมั พันธภาพกับบุคคลต่าง ๆ หลายลกั ษณะ เช่น บุคคลที่เปน็
ประธานกรรมการ ลกู จ้าง บุคคลทีเ่ คยรูจ้ ักมาก่อน บคุ คลท่ไี ม่เคยรู้จัก การพูดจะตอ้ งจดั
ระดับภาษาให้เหมาะสม แม้บคุ คลที่เป็นเพ่ือนสนทิ เมื่อมีการประชุมอย่างเป็นทางการก็ต้อง
ใช้ภาษาระดับทางการในการสอ่ื สาร
๓. ลักษณะของเนอ้ื หา

เน้ือหาของภาษาเกีย่ วขอ้ งกบั โอกาสในการสอ่ื สาร เช่น เนอ้ื หาเก่ยี วกบั เรื่อง
ส่วนตัว ก็ต้องใช้ภาษาระดับหนึง่ เน้อื หาเกี่ยวกับราชการ หรอื เนอื้ หาของเรอื่ งเก่ยี วกับพธิ ี
การตอ้ งจัดระดับของภาษาให้ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั เนอ้ื หานัน้ ๆ หากจดั ระดบั ภาษาไม่
เหมาะสมก็อาจทาให้การสอื่ สารไม่สัมฤทธ์ผิ ล
๔. สอื่ ท่ีใช้

ปจั จยั ทที่ าใหภ้ าษาเปลย่ี นระดับ คือ สอ่ื ท่ีใช้ ถ้าสือ่ คอื ไปรษณียบัตร จดหมาย
ส่วนตวั จดหมายราชการ ย่อมต้องใชภ้ าษาต่างประดับกนั ในการเขยี น การใช้ภาษาในการ
พูดวทิ ยกุ ระจายเสียงหรอื ทางโทรทศั น์ ย่อมใช้ระดบั ภาษาแตกตา่ งกบั การประกาศผา่ นเครอ่ื ง
ขยายเสยี ง ดังน้ัน ระดับภาษาต่าง ๆ จึงข้นึ อยู่กับสื่อที่ใชด้ ว้ ย

สแกนQR Code
เพอ่ื เขา้ เลน่ เกม

ระดบั ภาษา

วธิ กี ารเข้าเล่นเกม สามารถเลอื กเลน่ ได้ หลายรปู แบบ

แบบทดสอบหลงั เรียน

คาชีแ้ จง :ใหน้ ักเรียนเสอื กคาตอบทีถ่ กู ตอ้ งทสี่ ุดเพยี งขอ้ เดยี ว

1. ขอ้ ใดเป็นองค์ประกอบของการสือ่ สาร
1.สื่อ สาร การตอบสนอง
2.ผู้สง่ สาร ผรู้ ับสาร สือ่ สาร
3.ผู้สง่ สาร ผรู้ ับสาร สื่อ
4.ผูส้ ่งสาร ผู้รบั สาร การตอบสนอง

2. ในการจดั นทิ รรศการผลงานทางศลิ ปะข้อใดเปน็ ผ้สู ง่ สาร
1.นทิ รรศการ
2.ผจู้ ดั นิทรรศการ
3.ผชู้ มนทิ รรศการ
4.สถานท่ีจดั นิทรรศการ

3. จากขอ้ 2. ข้อใดผูร้ ับสาร
1.ผู้ชมนิทรรศการ
2.ผ้จู ดั นทิ รรศการ
3.สถานท่จี ัดนิทรรศการ
4.อุปกรณต์ ่างๆ ในการจดั นิทรรศการ

4. ขอ้ ใดจัดเปน็ สาร
1.จดหมาย
2.ผสู้ ่งจดหมาย
3.ขอ้ ความในจดหมาย
4.ผู้เขียนจดหมาย

5. การส่อื สารท่ดี ี นอกจากจะมอี งค์ประกอบของการสื่อสารแลว้ สิ่งท่ีจะต้อง
คานึงถงึ อกี ประการหนงึ่ คือ

1.ความชดั เจนของสาร
2.ความจริงใจของผู้สอ่ื สาร
3.ความเขา้ ใจของผู้รับ
4.กาลเทศะ และสภาพแวดล้อมเพอื่ ผ้รู บั สารจะได้เกดิ ความเข้าใจตรงกนั

แบบทดสอบหลังเรยี น (ตอ่ )

6. ภาษาระดบั พธิ กี าร ใชเ้ นอ่ื งในโอกาสใด
1.การประชุมกลมุ่ หรอื อภปิ รายกล่มุ
2.การกลา่ วรายงานในพธิ มี อบปรญิ ญาบัตร
3.การเขยี นจดหมายระหว่างเพอ่ื น
4.บทความในหนังสอื พมิ พ์ กิจธรุ ะตา่ ง ๆ

7. เฮอ้ ! เซ็ง เงินทองกไ็ มค่ ่อยจะมี จากขอ้ ความเป็นภาษาในระดับใด
1.ภาษาระดับทางการ
2.ภาษาระดบั กงึ่ ทางการ
3.ภาษาระดับไมเ่ ปน็ ทางการ
4.ภาษาระดับกันเอง

8. ข้อใดอธบิ ายความหมายของระดบั ภาษาไดช้ ัดเจนท่ีสดุ
1.การใช้ภาษาเป็นเครอื่ งมอื สือ่ สารความรู้ ความคดิ ความรสู้ กึ
2.การใช้ภาษาตามสัมพันธภาพของบุคคลโดยคานึงถงึ กาลเทศะ
3.การใชภ้ าษาแบบเปน็ ทางการ
4.การใชภ้ าษาแบบไม่เปน็ ทางการ

9. คาในข้อใดมกั จะใช้ในภาษาระดับสนทนาและระดบั กันเองเท่านั้น
1.อยา่ งนนั้ อย่างน้ี อย่างไร
2.บริโภค รับประทาน เสวย
3.กระผม
4.ฉัน กัน เรา

10. ขอ้ ใดใช้ภาษาระดับสนทนามากทส่ี ดุ
1.การประชมุ กลมุ่ หรอื อภปิ รายกลมุ่
2.การพูดจากันระหวา่ งบคุ คลภายในครอบครวั
3.การเขียนจดหมายระหวา่ งเพอ่ื น
4.การเปดิ ประชมุ รฐั สภา

เฉลย

1. 2 2. 2 3. 1 4. 3 5. 4

6. 2 7. 4 8. 2 9. 4 10. 3

อยากดดู ีดรู า้ ยเลือกได้เอง
คาพูดออกจากปากใคร
กเ็ ปน็ เงาสะทอ้ นภาพลักษณข์ อง

คนน้ัน
เพราะคาพูดบง่ บอกจติ ใจและ

สติปญั ญาของผ้พู ูด
มากกวา่ ของผูท้ ่ถี กู พาดพิง

“ชลุ พี ร ชว่ งรังษี”


Click to View FlipBook Version