คำ นำ การแพทย์แผนไทย เป็นป็การแพทย์ที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาตั้งแต่อดีต แม้ว่าในระยะหลัง การแพทย์แผนไทยจะถูกแทนที่ด้วยการแพทย์แผนปัจปัจุบัน ขาดการพัฒนากว่า 100 ปี แต่ การแพทย์แผนไทยก็ยังไม่ สูญหายไปจากสังคมไทย เนื่องจากยังมีการใช้ในการรักษาดูแล สุขภาพของคนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข เป็นป็หน่วยงานหลักในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และ ผลักดันให้การแพทย์แผนไทยเป็นป็ส่วนหนึ่งในระบบบริการสุขภาพของประเทศ เพื่อให้ประชาชน มีทางเลือกในการรับบริการและเกิดประโยชน์สูงสุดในการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง เอกสารฉบับนี้ได้กล่าวถึงภารกิจต่างๆของกลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ที่ได้มีการทำ งานร่วมกันเป็นป็ทีม ได้รับความร่วมมือ ความช่วยเหลือจากทีมสห วิชาชีพ และเครือข่าย ภายใต้การบริการที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน เป็นป็ที่ยอมรับของ ประชาชน คณะผู้จัดทำ ขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ และยินดีรับคำ แนะนำ คำ วิจารณ์ ต่างๆที่จะช่วยให้เอกสารฉบับนี้ และแนวทางการทำ งาน ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไข อันจะเป็นป็ ประโยชน์ต่อไป กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลบางพลี ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๖
สารบัญ เรื่อง หน้า โรงพยาบาลบางพลี ๑ หมวดด้านบริหาร สิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ ๔ การนำ องค์กร ๑๑ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ๑๕ ระบบข้อมูล สารสนเทศ ๒๒ การวิเคราะห์ต้นทุนการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก ๒๓ บุคลากร ๒๔ การมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย ๓๐ หมวดด้านบริการ การจัดบริการ ๓๒ มาตรฐานบริการ ๔๐ ผลลัพท์ของการจัดบริการ ๔๒ หมวดด้านวิชาการ นวัตกรรม/งานวิจัย ๔๔ การจัดการความรู้ ๕๙ รวมรวมองค์ความรู้ และคุ้มครองภูมิปัญปัญา ๖๐ แพทย์แผนไทย ภาคผนวก จัดทำ คู่มือ CPG ระดับอำ เภอ ๖๕ ภาพกิจกรรม ๗๑
๑ ความเป็นมาของโรงพยาบาลบางพลี เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ โรงพยาบาลบางพลีได้เริ่มสร้างสถานีอนามัยชั้นสอง จน พ.ศ. ๒๔๙๘ นับเป็นเวลา ๑๙ ปี ได้มีผู้ใจบุญบริจาคและกรมอนามัยรวมทั้ง ก.ศ.ส. ได้ร่วมกันสร้างเป็น อาคารคอนกรีตโดยใช้ระยะเวลา ในการก่อสร้าง นับเป็นเวลา ๔ ปี และเปิดดำ เนินการเป็น สถานีอนามัยชั้นหนึ่ง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๒ ต่อ มา ได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นศูนย์การแพทย์และอนามัยบางพลี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ และยกฐานะขึ้นเป็น โรงพยาบาล ๑๐ เตียง ในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ขยายขนาดครั้งที่ ๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ต่อมาได้ขยายเป็นโรงพยาบาล ๓๐ เตียง เพื่อให้ เหมาะสมกับจำ นวนผู้ป่วยที่มาขอรับบริการ โดยได้รับการสนับสนุนตัวอาคาร OPD ตลอดจนบ้านพัก ของเจ้าหน้าที่ ซึ่งเปิดดำ เนินการให้บริการให้บริการอย่างเป็นทางการในวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๒๖ และ ปรับเป็น โรงพยาบาลขนาด ๖๐ เตียง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ขยายขนาดครั้งที่ ๒ ได้รับการสนับสนุนอาคารขนาด ๙ ชั้น และได้เปิด ทำ การในอาคารใหม่ เมื่อเดือน มกราคม ๒๕๕๓ และได้รับการปรับขนาดโรงพยาบาลเป็น รพช. ๑๕๐ เตียง เมื่อเดือน ก.พ. ๒๕๕๓ ขยายขนาดครั้งที่ ๓ ปี ๒๕๕๘ ยกฐานะเป็นโรงพยาบาลทั่วไป (M๑) ขนาด ๒๐๐ เตียง
ข้อมูลที่สำ คัญของหน่วยงาน ๑.ข้อมูลทั่วไป โรงพยาบาลบางพลี เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด ๒๐๐ เตียง ตั้งอยู่ในเขตการ ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำ บลบางพลีใหญ่ มีคณะกรรมการบริหาร นำ ทีมโดย นายแพทย์สกล สุขพรหม เป็นผู้อำ นวยการโรงพยาบาล ตั้งอยู่เลขที่ ๘๘/๑ หมู่ ๘ ตำ บล บางพลีใหญ่ อำ เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีพื้นที่ ๑๑ ไร่เศษ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก เฉียงเหนือของจังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากจังหวัดสมุทรปราการ ประมาณ ๑๗ กิโลเมตร ความหนาแน่น ๕๙๔.๙๑ คนต่อตารางเมตร แบ่งออกเป็นเทศบาล 1 แห่งและเขตองค์การ บริหารส่วนตำ บล ๖ แห่ง พื้นที่ส่วนใหญ่มีโรงงานอุตสาหกรรม อำ เภอบางพลี เป็นที่ราบลุ่ม มีการชลประทานทั่วถึง ประชากรประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม รับจ้างทำ งานในโรงงาน อุตสาหกรรม ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่แปรสภาพเป็นแหล่งอุตสาหกรรมและ หมู่บ้านจัดสรร ๒
๓ การปกครอง ประกอบด้วย องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ๗ แห่ง ๖ ตำ บล และ ๘๓ หมู่บ้าน ได้แก่ • เทศบาลตำ บลบางพลี ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำ บลบางพลีใหญ่ ตำ บลบางปลา และ ตำ บลบางโฉลง • องค์การบริหารส่วนตำ บลบางพลีใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำ บลบางพลีใหญ่ มี ๒๓ หมู่บ้าน • องค์การบริหารส่วนตำ บลบางแก้ว ครอบคลุมพื้นที่ตำ บลบางแก้วทั้งตำ บล มี ๑๖ หมู่บ้าน • องค์การบริหารส่วนตำ บลบางปลา ครอบคลุมพื้นที่ตำ บลบางปลา มี ๑๕ หมู่บ้าน • องค์การบริหารส่วนตำ บลบางโฉลง ครอบคลุมพื้นที่ตำ บลบางโฉลง มี ๑๑ หมู่บ้าน • องค์การบริหารส่วนตำ บลราชาเทวะ ครอบคลุมพื้นที่ตำ บลราชาเทวะทั้งตำ บล มี ๑๕ หมู่บ้าน • องค์การบริหารส่วนตำ บลหนองปรือ ครอบคลุมพื้นที่ตำ บลหนองปรือทั้งตำ บล มี ๓ หมู่บ้าน ชาย : ๗๕,๕๐๑ คน หญิง : ๙๗,๖๙๘ คน รวม ๑๗๓,๑๙๙ คน ที่มา : สำ นักทะเบียนราษฎร์จังหวัดสมุทรปราการ กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๖
หมวดบริหาร ๑.๑ สิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ โรงพยาบาลบางพลีมีการจัดภูมิทัศน์ ให้สอดคล้องกับโรงพยาบาล GREEN AND CLEAN ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยการจัดสถานที่ สิ่งแวดล้อม ให้เป็นระบบระเบียบ สะอาด เจ้าหน้าที่ทำ งาน มีความสุข ผู้มารับบริการพึงพอใจ ๑.๑.๑ สถานที่ให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ ได้มาตรฐานเหมาะสมกับการให้บริการ สถานที่ให้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในโรงพยาบาลบางพลี เปิดให้ บริการ ที่อาคาร ๙ ชั้น บริเวณชั้น๔ ของอาคาร เปิดให้บริการเมื่อปี ๒๕๕๓ เดือนตุลาคม ๒๕๖๐ ดำ เนินการปรับปรุงสถานที่ให้ได้ตามมาตรฐาน แบ่งพื้นที่เป็นสัดส่วน เหมาะสมกับการให้บริการ ๔
๕ สิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ภายในหน่วยงาน พื้นที่บริเวณโดยรอบโรงพยาบาลมีความร่มรื่น สบายตา กลุ่มงานแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกตั้งอยู่ บริเวณ ชั้น 4 บริเวณห้องตรวจแยกห้องตรวจแผนไทย-จีน บริเวณเก็บยาสมุนไพรแห้ง บริเวณปรุงยาเฉพาะราย บริเวณให้บริการอบไอน้ำ สมุนไพร บริเวณให้บริการนวด ประคบ บริเวณให้บริการนวดเท้า
๖ พื้นที่ให้บริการสะอาด เป็นระเบียบ แยกเป็นสัดส่วน เพียงพอต่อการใช้งาน มีแสงสว่างที่เหมาะสม บริเวณพื้นที่ให้บริการแพทย์แผนจีน มีจำ นวน 3 เตียง ให้บริการฝังเข็ม ครอบแก้ว กระตุ้นไฟฟ้าฟ้ส่องโคมร้อน
๗ ๑.๑.๒ จัดให้มีมุมความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ได้แก่ ความรู้เรื่องสมุนไพร การใช้ยาสมุนไพร การนวดตนเอง ธาตุเจ้าเรือน งานวิจัยที่ เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย การรักษาด้วยการฝังเข็ม ท่ากายบริหาร จัดแบ่งพื้นที่ในการใช้ งานเป็นสัดส่วน สะดวก มีที่นั่งรอเพียงพอ มุมเผยแพร่ความรู้ และ มุมนั่งพักคอยสำ หรับรอเรียกตรวจและรอทำ หัตถการแผนไทย แผนจีน มุมผ่อนคลายด้านหน้าแผนกระหว่างรอทำ การรักษาในแผนกต่างๆ เช่นแผนกไตเทียม แผนกกายภาพบำ บัด เป็นนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ “พรมหินนวดเท้า” ที่กลุ่มงานจัดทำ ขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้ใช้งานระหว่างรอพบแพทย์
๘ ๑.๑.๓ มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการบริการการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และ การแพทย์ทางเลือกโรงพยาบาลบางพลี ทั้งภายและภายนอกหน่วยบริการมากกว่า ๒ ช่องทาง ผ่านสื่อ สิ่งพิมพ์ มีการประชาสัมพันธ์ขั้นตอนการให้บริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกในหน่วยบริการไว้ อย่างชัดเจน ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์
๙ ผ่านสื่อ Social
๑๐ ผ่านสื่อบุคคล ผ่านสื่อกิจกรรม
๑๑ ๑.๒ การนำ องค์กร ๑.๒.๑ ผู้บริหารหน่วยบริการมีการกำ หนดวิสัยทัศน์ มีการกำ หนดทิศทางและเป้าหมายระยะ ยาวและถ่ายทอดวิสัยทัศน์ และค่านิยม สู่การปฏิบัติงานด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือกของหน่วยงานให้บุคลากรรับทราบ
๑๒ ๑.๒.๒ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือกระดับอำ เภอ
๑๓
๑๔ ๑.๒.๓ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทาง เลือกระดับระดับหน่วยงาน
๑๕ ผู้บริหารประชุมถ่ายทอดนโยบาย ประชุมในระดับเครือข่าย / รพ.สต. เพื่อขับเคลื่อนงาน ๑.๓ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ๑.๓.๑ การวิเคราะห์ปัญหา และการจัดลำ ดับความสำ คัญของปัญหา จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้านสุขภาพของผู้รับบริการในจังหวัดสมุทรปราการที่มารับบริการทางการ แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกในโรงพยาบาลบางพลี ได้แบ่งเป็น ๒ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่รักษา ด้วยหัตถบำ บัดและกลุ่มที่รักษาด้วยยาสมุนไพร พบว่า ๕ ลำ ดับแรกที่มารับบริการมากที่สุดดังนี้ กลุ่มโรคสำ คัญที่พบมาก
แผนการปฏิบัติงานในการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทยและแนวทางการดำ เนินงานตาม แผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับทิศทางของจังหวัดและกระทรวงสาธารณสุข จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ทางโรงพยาบาลบางพลี จึงได้จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนา งานแพทย์แผนไทย และจัดทำ แผนปฏิบัติงานด้านการแพทย์แผนไทย ประจำ ปี ๒๕๖๗ ไว้ในแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบสุขภาพโรงพยาบาลบางพลี โดยใช้กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนและกำ กับ ทิศทางการดำ เนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การดำ เนินงานดังนี้ ๑. แต่งตั้งคณะทำ งานพัฒนาโรงพยาบาลบางพลี ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายสหวิชาชีพ ๒. กำ หนดผู้รับผิดชอบหลัก ๓. ถ่ายทอดนโยบายด้านการแพทย์แผนไทยให้แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล สหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ๔. จัดทำ แผนพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทยให้มีความสอดคล้องกับปัญหาที่พบและมีความเชื่อม โยง ด้านการให้บริการจากโรงพยาบาลจนถึงระดับชุมชน จากสภาพแวดล้อมของอำ เภอบางพลี ซึ่งเป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่ การจราจรหนาแน่น ผู้คนใช้ชีวิตแบบเร่งรีบ จึงไม่มีเวลามามาเลือกสรรอาหาร ขาดการออกกำ ลังกาย ขาดการดูแล สุขภาพตนเอง ทำ ให้ง่ายต่อความเสี่ยง ที่ทำ ให้เกิดโรค เนื่องจากปัจจัยอาชีพ วิถีการดำ เนินชีวิต ๑๖
๑๗ แผนปฏิบัติการ
๑๘
๑๙ ๑.๓.๒ แผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการในการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย และการ แพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกที่สอดคล้องกับทิศทางของจังหวัด กรม และกระทรวง เป้าหมายระยะ ๕ ปี (ปี ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) แผนย่อยภายใต้แผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี
๒๐ ๑.๓.๓ มีกระบวนการในการแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาวิชาการ องค์ความรู้ และนวัตกรรมการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทาง เลือกและสมุนไพร เพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุขและสร้างมูลค่าเพิ่ม เป้าประสงค์ : พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ดั้งเดิม ให้มีความทันสมัย ใช้งานได้จริง และสามารนำ ไปสร้าง รายได้ทางเศรษฐกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาบริการการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรไทย ในระบบ บริการที่เป็นเลิศและการรับมือกับความต้องการทางสุขภาพของประชาชน เป้าประสงค์ : การบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกมีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ ของประชาชน
๒๑ ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการแพทย์แผนไทย นวดไทย สมุนไพรไทย การแพทย์ทางเลือก เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สร้างงาน สร้างอาชีพเสริมสร้างเศรษฐกิจ ชุมชนและคุณภาพชีวิตประชาชน เป้าประสงค์ : ประชาชนสามารถผลิต ผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากสมุนไพรเพื่อใช้ดูแลตนเอง หรือนำ ไป พัฒนาต่อยอดสร้างรายได้ในครอบครัวและชุมชน ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาทีม บุคลากร วิชาการ การบริการและการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อ ความเป็นเลิศและทันสมัย เป้าประสงค์ : บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการแพทย์แผนไทย มีความรู้ความชำ นาญ ในมาตรฐานวิชาชีพ
๒๒ ๑.๔ ระบบข้อมูล สารสนเทศ ๑.๔.๑ โรงพยาบาลบางพลีใช้ระบบคอมพิวเตอร์บันทึกข้อมูลผู้ป่วยแทนการใช้แบบบันทึกผู้ ป่วยในแฟ้มฟ้ ประวัติ ทำ ให้สามารถบันทึกกิจกรรมบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทาง เลือกได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา และมีการประมวลผลข้อมูลสาระสนเทศเพื่อใช้ในการ วางแผนพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รายไตรมาส และมีการส่งข้อมูล ๔๓ แฟ้มฟ้ทุกเดือน บันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูลระบบ HOS XP ๑.๔.๒ มีการประมวลผลข้อมูล สารสนเทศ จากฐานข้อมูล HDC ทุก ๑ เดือน เพื่อใช้ในการ วางแผนพัฒนางานการแพทย์แผนไทยการแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก และการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
๒๓ แผนภูมิแสดงผลการดำ เนินงานจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทย ประจำ ปีงบ ๒๕๖๔-๒๕๖๖ ที่มา : ฐานข้อมูล HDC ของโรงพยาบาลบางพลี ตารางแสดงการวิเคราะห์ต้นทุนการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและ การแพทย์ทางเลือก ปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๖
๒๔ ๑.๕ บุคลากรงานแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
๒๕ ๑.๕.๑ มีการสำ รวจ วางแผนและดำ เนินการพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการแบบสำ รวจความต้องการของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในงานแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลบางพลี ในแต่ละปีงบประมาณจะมีการสำ รวจความต้องการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร โดยทีมงาน HRD (Human Rrsource Development) ของโรงพยาบาล มีทั้งการสำ รวจความต้องการการ พัฒนาศักยภาพที่เป็นการพัฒนาศักยภาพด้านความรู้พื้นฐานของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องมี การพัฒนา และพัฒนาศักยภาพที่เป็นการพัฒนาศักยภาพด้านวิชาชีพ ๑.๕.๒ .มีการจัดทำ แผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติ การต่อเนื่องทุกปี หลังจากที่บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านวิชาชีพ จะมีการจัดทำ บันทึกผลการพัฒนา ศักยภาพ และวางแผนแนวทางการนำ ความรู้ที่ได้จากการพัฒนาศักยภาพไปใช้ประโยชน์ในการ ดำ เนินงาน โดยจัดทำ เป็นเอกสารส่งฝ่ายวิชาการของโรงพยาบาล และเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการ พัฒนาศักยภาพผ่านการประชุมประจำ เดือน โดยจะมีสหวิชาชีพเข้าร่วมรับฟังฟั
๒๖ ตารางพัฒนาศักยภาพรายบุคคล นางสาวรัชนีวรรณ บุญศรี แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ
๒๗
๒๘ นางสาวปานทิพย์ พุฒซ้อน แพทย์แผนไทย
๒๙ นางสาวชยาภา ชัยประสิทธิ์ แพทย์แผนไทย นางสาวกุสุมา ประจักษเศรณี นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ (แพทย์แผนจีน)
๓๐ ๑.๕.๓ มีบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการเพียงพอต่อการให้บริการประชากรในชุมชน (ตามเกณฑ์ ๑ : ๕,๐๐๐ คน ) ตารางแสดงกำ ลังบุคลากร เปรียบเทียบกรอบอัตรากำ ลังตามประชากรในเขตรับผิดชอบ ปี ๒๕๖๗ ๑.๖ การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและภาคีเครือข่าย ๑.๖.๑ มีแผนงาน โครงการแบบบูรณาการทั้งในเชิงร่วมดำ เนินการ และการสนับสนุนงบ ประมาณจากชุมชนและภาคีเครือข่าย มีการร่วมดำ เนินการโดยถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผน ไทยและการแพทย์ทางเลือกให้กับชุนชมและภาคีเครือข่าย ส่งเสริมอาชีพให้กับผู้สูงอายุและเด็กวัยเรียน สามารถนำ ไปต่อยอดทำ เป็นอาชีพได้ ดังตัวอย่างกิจกรรมดังต่อไปนี้ ๑.เมืองสมุนไพรนำ ร่องอำ เภอบางพลี ๒.หมอยาน้อย
๓๑ ๓.โรงเรียนผู้สูงอายุ หลักสูตรการทำ น้ำ มันเหลือง ๔.โรงเรียนผู้สูงอายุ หลักสูตรการสุมยา การใช้ยาสมุนไพรรอบตัว เพื่อการพึ่งพาตนเอง ๕.การดูแลตนเองด้วยการออกกำ ลังกายแบบฤาษีดัดตน ๖.การดูแลผู้สูงอายุด้วยการนวดเท้าเพื่อสุขภาพ ๗.การทำ ยาดมเครื่องหอมสมุนไพร ๘.สอน CARE GIVER
๓๒ ๑.๖.๒ เครือข่ายในพื้นที่ ที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุน หมวดด้านบริการ ๒.๑ การจัดบริการ ๒.๑.๑ การจัดบริการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลบางพลีจัดให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยครบทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านเวชกรรมไทย ด้านเภสัชกรรมไทย ด้านหัตถเวชกรรมไทย ด้านผดุงครรภ์ไทย โดยมีการจัดตารางการให้บริการไว้ อย่างชัดเจน ดังนี้ ตารางการปฏิบัติงานคลินิกแพทย์แผนไทย
๓๓ ด้านเวชกรรมไทย ผู้ป่วยนอก ให้บริการตรวจวินิจฉัย รักษาโรคทั่วไป ที่รักษาได้ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ผู้ป่วยใน ให้บริการตรวจรักษา นวดพร้อมประคบ การใช้ยาสมุนไพร เช่น แผนกหลังคลอด อายุรกรรม Palliative Care ด้านผดุงครรภ์ไทย ให้บริการนวด อบ ประคบ ทับหม้อเกลือ สุขศึกษารายกลุ่ม ให้คำ ปรึกษารายบุคคล ด้านหัถตเวชกรรมไทย ให้บริการนวดเพื่อการรักษา นวดกระตุ้นพัฒนาการเด็ก นวดเพื่อสุขภาพ
๓๔ ด้านเภสัชกรรมไทย สั่งใช้ยาสมุนไพรยาเดี่ยว ยาตำ รับ และยาปรุงเฉพาะราย ยาปรุงเฉพาะราย มีดังนี้ ยาพอกเข่า ยาเผา พอกตา ยาต้มบำ รุงน้ำ นม พอกเข่า พอกยาในผู้ป่วยมะเร็ง เผายา พอกตา ยาต้มบำ รุงน้ำ นม ใช้ต้มให้กับผู้ป่วป่ยในมารดาหลังคลอด รับประทานเพื่อกระตุ้นการไหลของน้ำ นม ในช่วง 1-3 วันแรกที่นอนโรงพยาบาล ส่วนประกอบ แก่นฝาง เถาวัลย์เปรียง ขิง ชะเอม มะตูม ใบเตย ต้มเดือด
๓๕ รายการยาสมุนไพรในบัญชียาหลักมากกว่า 30 รายการ
๓๖ ๒.๑.๒ จัดบริการแบบผสมผสานระหว่างแพทย์แผนปัจจุบันและการแพทย์แผนไทย และการ แพทย์ทางเลือกในการรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟื้ ฟูสภาพผู้ป่วยและมีระบบ ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างแพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทย แพทย์แผนจีน ระบบบริการงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกโรงพยาบาลบางพลี ระบบการส่งต่อผู้ป่วยและการเชื่อมโยงข้อมูลบริการ งานกายภาพบำ บัด งานแพทย์แผนจีน และงานแพทย์แผนไทย ร่วมกันดำ เนินการด้านการฟื้นฟื้ ฟู จึงมี การประสานงาน ปรึกษาในการวางแผนดูแลร่วมกัน ในการออกเยี่ยม ส่งต่อการดูแลผู้ป่วยโรค อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคกล้ามเนื้อกระดูกและข้อ เป็นต้น งานผู้ป่วยใน มีการแจ้งหรือประสานงานหากมีผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัยว่าต้องได้รับการดูแลโดยแพทย์ แผนไทย หรือบางกรณีที่แพทย์แผนปัจจุบันปรึกษาหาทางรักษาผู้ป่วยด้วยวิธีการร่วมกัน โดยส่งต่อ case เพื่อให้เข้ารับบริการแพทย์แผนไทย นวด อบ ประคบสมุนไพร พอกยา และแนะนำ เกี่ยวกับการ ปฏิบัติตน งานผู้ป่วยนอก เมื่อผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกแล้วอาการ ไม่ดีขึ้น แพทย์แผนไทยจะเข้าปรึกษากับแพทย์แผนปัจจุบันเพื่อหาแนวทางการรักษา และส่งต่อเข้ารับ การรักษากับแพทย์แผนปัจจุบันต่อไป งานเวชกรรมสังคม ออกเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมงานเวชปฏิบัติเพื่อรับการฟื้นฟื้ ฟูสภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง งานเภสัชกรรม ร่วมกันปรึกษาและจัดซื้อยาสมุนไพรที่ได้มาตรฐาน เพื่อนำ มาใช้ในโรงพยาบาลบางพลี และเครือข่ายบริการสุขภาพ
ชื่อยา กลุ่มยา ทดแทน ๑. ขมิ้นชัน กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อฟ้ First line drug ๒.ฟ้าฟ้ทะลายโจร ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ บรรเทาอาการท้องเสีย First line drug ๓.มะขามแขก บรรเทาอาการท้องผูก ทดแทน Bisacodyl Laculose ๔.ยาอมมะแว้ง บรรเทาอาการไอ ทดแทน Acetylcystein ๕.ยาแก้ไอผสมมะขามป้อป้ม บรรเทาอาการไอ ทดแทน Brown mixture Flumucil Codesia ๓๗ ๒.๑.๓ ขั้นตอนการคัดกรอง มี ๓ ช่องทาง ๑.ผู้มารับบริการที่มาโรงพยาบาล ช่องทาง OPD จะมีพยาบาลคัดกรองที่ OPD คัดกรอง ตามคู่มือแนวทางการคัดกรอง การให้บริการแพทย์แผนไทยคู่ขนาน แผนกผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาล คัดกรองและส่งตัวผู้มารับบริการมาที่หน่วยงาน ๒.ผู้มารับบริการที่มารับบริการโดยตรงที่หน่วยงานแพทย์แผนไทย จะมีระบบคัดกรองโดย แพทย์แผนไทย ๓.ผู้มารับริการที่ถูกส่งต่อมาจากห้องตรวจอื่นๆจะถูกคัดกรองโดยแพทย์แผนปัจจุบันแล้ว เมื่อมารับบริการที่แพทย์แผนไทยจะถูกคัดกรองอีกครั้ง ๒.๑.๔ มีการใช้ยาสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบันอย่างน้อย ๕ รายการ ๒.๑.๕ จัดบริการคลินิกเฉพาะโรคเพื่อให้บริการป้องกัน รักษา ส่งเสริม ฟื้นฟื้ ฟูสภาพของผู้มารับบริการ คลินิกนมแม่ คลินิกกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
๓๘ คลินิกข้อเข่าเสื่อม คลินิกกัญชาทางการแพทย์ คลินิกบุหรี่
๓๙ ๒.๑.๖ การมีส่วนร่วมกับทีมสหวิชาชีพในการให้บริการผู้ป่วย และการจัดบริการเชิงรุก โรงพยาบาลบางพลีมีการจัดบริการเชิงรุกร่วมกับทีมสหวิชาชีพ มีการเยี่ยมบ้าน รวมถึงการ ให้บริการแพทย์แผนไทยผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย เช่น การดูแลผู้ป่วย Stroke ในชุมชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง Palliative Care เป็นต้น และออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ในชุมชน
๔๐ ๒.๒ มาตรฐานบริการ ๒.๒.๑ ผลการประเมินเกณฑ์มาตรฐาน พื้นที่ต้นแบบดีเด่น ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ประเภทโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป “ระดับเขต ” ประจำ ปี ๒๕๖๓ ผ่านการประเมินมาตรฐาน รพ.สส.พท. ประจำ ปี ๒๕๖๕-๒๕๖๖ อยู่ในระดับ “ดีเยี่ยม” ได้รับการรับรองให้เป็นป็ศูนย์เวลเนส ประเภทสถานพยาบาล ประจำ ปี ๒๕๖๖
๔๑ ๒.๒.๒ ใช้วัตถุดิบสมุนไพรเพื่อนำ มาประกอบการปรุงยาสำ หรับผู้ป่วยเฉพาะรายที่มีคุณภาพและ สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาของสมุนไพรได้ ๒.๒.๓ ยาสมุนไพร ที่จ่ายให้สำ หรับผู้ป่วยมีคุณภาพ และสามารถตรวจสอบแหล่งที่มา สถานที่ผลิต ยาสมุนไพรได้มาตรฐาน
๔๒ ๒.๓ ผลลัพธ์ของการจัดบริการ ๒.๓.๑ แผนภูมิแสดงผลการดำ เนินงาน ร้อยละการบริการด้านการแพทย์แผนไทย และ การแพทย์ทางเลือก ประจำ ปีงบ ๒๕๖๔-๒๕๖๖ ๒.๓.๒ ผลการดำ เนินงานคลินิกนมแม่ ประจำ ปีงบ ๒๕๖๔-๒๕๖๖ ๒.๓.๓ ผลการดำ เนินงานคลินิกข้อเข่าเสื่อม ประจำ ปีงบ ๒๕๖๔-๒๕๖๖
๔๓ ๒.๓.๔ ผลการดำ เนินงานคลินิกกัญชาทางการแพทย์ ประจำ ปีงบ ๒๕๖๔-๒๕๖๖ ๒.๓.๕ ผลการดำ เนินงานคลินิกลดความอยากบุหรี่ ประจำ ปีงบ ๒๕๖๔-๒๕๖๖ ที่มา : ฐานข้อมูล Hos xp ของโรงพยาบาลบางพลี
หมวดวิชาการ ๓.๑ นวัตกรรม/งานวิจัย ๓.๑.๑ มีนวัตกรรมงานวิจัย ด้านการแพทย์แผนไทย ( อยู่ระหว่างเริ่มดำ เนินการ ) เรื่อง ยาพอกสมุนไพรฤทธิ์เย็นลดปวด วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อศึกษาผลของการใช้ยาพอกสมุนไพรฤทธิ์เย็น ในการบรรเทาอาการปวด ในผู้ป่วยระยะประคับประคอง ๒.เพื่อเพิ่มทางเลือกในการบรรเทาอาการปวด ให้หลากหลายยิ่งขึ้น ๓.เพื่อเพิ่มความสุขสบายกายให้กับผู้ป่วย กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยระยะประคับประคอง สมมุติฐานการวิจัย การพอกยาสมุนฤทธิ์เย็นสามารถลดอาการปวด ในผู้ป่วยระยะประคับประคอง ตัวชี้วัด ๑.ผู้ป่วยระยะประคับประคอง ได้รับการพอกยาสมุนไพรฤทธิ์เย็น มีระดับความปวด ลดลงอย่างน้อย ๑ ระดับ ระยะเวลาการดำ เนินงาน ต.ค. ๖๖ –ธ.ค. ๖๖ กิจกรรมการดำ เนินงาน - ประสานทีม palliative care ในการทำ กิจกรรมร่วมกัน - กำ หนดแนวทางในการดูแลผู้ป่วย - กำ หนดแนวทางและแบบฟอร์มการประเมินผลก่อน และหลังทำ หัตถการ - มีการวางแผนคัดเลือกยาสมุนไพรที่ใช้สำ หรับพอกยา ตำ รับยาพอกสมุนไพรฤทธิ์เย็น ย่านาง ๒ ส่วน ใบตำ ลึง ๒ ส่วน รางจืด ๒ ส่วน ขิงสด ๑ ส่วน ดินสอพอง ๑ ส่วน และการบูร ๑/๒ ส่วน จากการวิเคราะห์ตัวยา สูตรนี้ สำ หรับคนที่มีอาการปวดท้อง มีความร้อนและลมในท้องเยอะ พิษร้อนไม่สามารถระบายออกได้ ดังนั้นตำ รับยาจะเน้นตัวยาสมุนไพรที่มีรสสุขุมเย็น ไม่ร้อน จนเกินไป เพื่อระบายพิษร้อนในร่างกาย โดยเฉพาะผู้ป่วยเป็นมะเร็งในช่องท้อง ผู้ป่วยโรคตับ ๔๔
๔๕ นวัตกรรมอุปกรณ์ทับหม้อเกลือ (ทับหม้อเกลือด้วยหินกรวด) ความเป็นมา งานแพทย์แผนไทยเปิดให้บริการฟื้นฟื้ ฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดบุตรด้วยการ นวด ประคบ อบสมุนไพร ทับหม้อเกลือ ในการทับหม้อเกลือนั้นจะต้องใช้เกลือตัวผู้ และหม้อทะนน (ซึ่งทำ มาจากดินเผา) ปัญหาที่พบ • หม้อทะนนที่เป็นดินเผาเกิดรอยร้าว เปื่อยยุ่ยและแตกไปในที่สุดหลังจากใช้งานได้ ประมาณ ๓ - ๕ ครั้ง เนื่องจากโดนความเค็มของเกลือกัดกร่อน • หม้อทะนนจะต้องบรรจุเกลือตัวผู้ไว้ด้านใน (เกลือเม็ดใหญ่ )เพื่อเป็นตัวนำ ความ ร้อน ซึ่งเกลือตัวผู้ จะหาซื้อยาก ต้องสั่งซื้อในปริมาณที่มาก บางครั้งหาซื้อไม่ได้ตามความ ต้องการ เก็บรักษายากเนื่องจากความชื้นทำ ให้เกลือละลายเสียหาย และเกลือที่มีความชื้นสูง จะต้องใช้เวลาในการตั้งไฟให้เกลือร้อนนานขึ้น อีกทั้งเก็บความร้อนได้ไม่นาน ขณะที่ตั้งไฟนั้น จะมีกลิ่นเหม็นจากการเผาไหม้ของเกลือ และระหว่างทำ การทับหม้อเกลือบางครั้งจะมีเสียงดัง จากการแตกตัวของเกลือที่โดนความร้อน ทำ ให้ ผู้มารับบริการตกใจเสียงที่ได้ยิน งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลบางพลี จึงคิดนวัตกรรม เปลี่ยนวัสดุที่ใส่ลงไปในหม้อขึ้น มาใหม่ จากเกลือตัวผู้เป็นหินเม็ดเล็ก (หินกรวด) ความสำ คัญของการศึกษา • ความคงทนของหม้อทะนน สามารถใช้งานได้นานขึ้น • ประสิทธิภาพของ“หินกรวด” ในการเก็บกักความร้อน • ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการทับหม้อเกลือ (หินกรวด) ในหญิงหลังคลอด ขอบเขตของการศึกษา สตรีหลังการคลอดบุตรในระหว่าง ๑๕ วันไม่เกิน ๓ เดือน ในรอบ ๑ ปี จำ นวน ๓๐ คน ในเขต พื้นที่โรงพยาบาลบางพลี
๔๖ นิยามศัพท์เฉพาะ • หินกรวด หมายถึง หินกรวดเม็ดเล็กที่ได้จากการร่อนทรายนำ มาใส่ลงไปในหม้อทะนน แทนเกลือ ตัวผู้เพื่อเป็นตัวเก็บกักความร้อนในหม้อและใช้ทำ การทับหม้อเกลือหญิงหลังคลอด • หม้อทะนน (หม้อตาล) หมายถึง หม้อดินเผาขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๐-๑๒ ซม. มีลายเซาะร่องเล็กๆที่คอ หม้อ มีฝาปิดไม่มีหู • ทับหม้อเกลือ หมายถึง วิธีการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอด ด้วยการใช้เกลือตัวผู้ใส่ลงไปในหม้อ ทะนนแล้วนำ ไปเผา นาน ๑๐ –๑๕ นาที จากนั้นนำ ผ้าด้ายดิบขนาด ๕๐ x ๕๐ ซม. วาง สมุนไพรสดบดหยาบลงบนผ้าโรยเกลือลงบนสมุนไพรเล็กน้อยวางใบพลับพลึงข้างบนจากนั้น ยกหม้อที่เผาไว้วางลงบนใบพลับพลึงห่อและมัดให้แน่น เพื่อนำ ไป ทับนาบบริเวณหน้าท้องใน หญิงหลังคลอด เป็นเวลา ๓๐ นาที • สตรีหลังคลอดมีสามารถทับหม้อเกลือได้ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ๑. หลังจากการคลอดปกติ ๑๕ วัน ๒. หลังจากการผ่าคลอด ๔๕ วัน การดำ เนินงาน ขั้นตอนที่ ๑ ทำ การทดสอบความคงทนของหม้อทะนน โดยการนำ วัสดุ ๒ ชนิด ได้แก่ ๑. เกลือตัวผู้ ๒. หินกรวด ขั้นตอนที่ ๒ ทำ การทดสอบการเก็บความร้อนของวัสดุ ๒ ชนิด ได้แก่ ๑. ทราย ๒. หินกรวด ๓. เปรียบเทียบกับเกลือตัวผู้ ขั้นตอนที่ ๓ ทำ การทับหม้อเกลือกับสตรีหลังคลอด ๓๐ คน จำ นวน ๖๐ ครั้ง ได้แก่ - สตรีหลังคลอดปกติ ๑๕ วันหลังคลอด - สตรีหลังผ่าคลอด ๔๕ วันหลังคลอด - สำ รวจความพึงพอใจในการทับหม้อหินกรวดและการทับหม้อเกลือ
๔๗ หม้อทะนนสำ หรับทับหม้อเกลือ ใส่หินกรวดในหม้อทะนนเพื่อเก็บกักความร้อน เดิมใช้เกลือตัวผู้ใส่ใน หม้อทะนนเพื่อเก็บกักความร้อน ตั้งหม้อทะนนบนเตาไฟฟ้าฟ้ให้ร้อน สมุนไพรสดสำ หรับทับหม้อเกลือ ใบพลับพลึงสำ หรับรองก้นหม้อทะนนพร้อมห่อหม้อทะนนให้เรียบร้อยพร้อมทำ การทับ ใช้หม้อทะนนทับบริเวณหน้าท้อง สะโพก ขา ในมารดาหลังคลอด