The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลสำรวจ Health Survey 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mon, 2023-10-01 23:00:37

ผลสำรวจ Health Survey 2566

ผลสำรวจ Health Survey 2566

ผลส ำรวจสภำวะสุขภำพ และควำมรอบรู้ประชำชนอำยุ 15 ปีขึ้นไป ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปี งบประมาณ 2566


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 ก คำนำ การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและความรอบรู้ของประชาชน อายุ 15 ปี ขึ้นไป จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2566 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพ ของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไปที่อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในจังหวัด สุพรรณบุรีซึ่งแบบสำรวจข้อมูลสภาวะสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2566 ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพ ขอขอบคุณผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี สาธารณสุขอำเภอทุก อำเภอ บุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบล ที่สนับสนุนและร่วมลงพื้นที่สำรวจข้อมูล และขอขอบคุณประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกท่านที่เสียสละ เวลาในการให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ในครั้งนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลจากการสำรวจครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ในการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนงาน โครงการ เพื่อส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี รวมทั้งการพัฒนาระบบการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ในการเสริมสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ พฤติกรรมสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้ และพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมต่อไป คณะทำงานสำรวจข้อมูลสภาวะสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพฯ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี กันยายน 2566


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 ข สารบัญ หน้า ❖ คำนำ ก ❖ สารบัญ ข ❖ ผลการสำรวจสำรวจข้อมูลสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้าน สุขภาพ ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป o ข้อมูลทั่วไป 1 o สถานะสุขภาพ 28 o พฤติกรรมสุขภาพ 47 o ความรอบรู้ด้านสุขภาพ 62 ❖ สรุปผลการสำรวจข้อมูลสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพ ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป และข้อเสนอแนะ 76 ❖ ภาคผนวก o คำสั่งคณะทำงานสำรวจข้อมูลสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ ด้านสุขภาพของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรีปีงบประมาณ พ.ศ.2566 83 o เกณฑ์การให้คะแนน และแปลความหมายของแต่ละประเด็น 86


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 1 ตอนที่1 ข้อมูลทั่วไป ผู้ตอบแบบสำรวจ จำนวน 500 คน ส่วนใหญ่คือ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จำนวน 169 คน ร้อยละ 33.8 รองลงมา อำเภอสองพี่น้อง จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 13.0 ,อำเภออู่ทอง จำนวน 56 คน ร้อยละ 11.8,อำเภอ เดิมบางนางบวชและอำเภอศรีประจันต์จำนวน 34 คนร้อยละ 6.8,อำเภอบางปลาม้า จำนวน 33 คน ร้อยละ 6.6 อำเภอด่านช้าง จำนวน 31 คน ร้อยละ 6.2 อำเภอสามชุก จำนวน 28 คน ร้อยละ 5.6,อำเภอดอนเจดีย์ จำนวน 24 คน ร้อยละ 4.8 และอำเภอหนองหญ้าไซ จำนวน 23 คน ร้อยละ 4.6 ตามลำดับ โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่กลุ่มอายุ 15-59 ปี จำนวน 343 คน คิดเป็นร้อยละ 68.60และกลุ่มอายุ ≥ 60 ปี จำนวน 157 คน คิดเป็นร้อยละ 31.40 รายละเอียดตามตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ รายอำเภอและภาพรวมจังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูลทั่วไป เมือง สอง พี่น้อง อู่ทอง เดิมบาง นางบวช ศรี ประจันต์ ดอน เจดีย์ สามชุก บาง ปลาม้า ด่าน ช้าง หนอง หญ้าไซ รวม อายุ จำนวน 118 49 41 20 20 17 19 20 23 16 343 15-59 ปี ร้อยละ 23.6 9.8 8.2 4.0 4.0 3.4 3.8 4.0 4.6 3.2 68.6 อายุ จำนวน 51 16 18 14 14 7 9 13 8 7 157 ≥ 60 ปี ร้อยละ 10.2 3.2 3.6 2.8 2.8 1.4 1.8 2.6 1.6 1.4 31.4 รวม จำนวน 169 65 59 34 34 24 28 33 31 23 500 ร้อยละ 33.8 13.0 11.8 6.8 6.8 4.8 5.6 6.6 6.2 4.6 100 เพศ ผู้ตอบแบบสำรวจฯ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 293 คน คิดเป็นร้อยละ 58.6 รองลงมา เพศชาย จำนวน 201 คน คิดเป็นร้อยละ 40.2 ,LGBTQ (ชาย) จำนวน 6 คน ร้อยละ 1.2 และ LGBTQ (หญิง) จำนวน 5 คน ร้อยละ 1.0 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 2 ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามเพศ เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 201 40.2 หญิง 293 58.6 LGBTQ (ชาย) 1 0.2 LGBTQ (หญิง) 5 1.0 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 2 อายุผู้ตอบแบบสำรวจฯอายุต่ำสุด 16 ปี อายุสูงสุด 96 ปี อายุเฉลี่ย52.81 ปี โดยส่วนใหญ่อายุ 51 –60 ปี จำนวน 156 คน คิดเป็นร้อยละ 31.2 รองลงมา อายุ > 60 ปีขึ้นไป จำนวน 148 คน ร้อยละ 29.6, อายุ 41-50 ปี จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 22.4, อายุ 31-40 ปี จำนวน 48 คน ร้อยละ 9.6 และอายุ ≤ 30 ปีจำนวน 36 คน ร้อยละ 7.2 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 3 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามช่วงอายุ อายุ จำนวน ร้อยละ ≤ 30 ปี 36 7.2 31 – 40 ปี 48 9.6 41 – 50 ปี 112 22.4 51 – 60 ปี 156 31.2 > 60 ปี ขึ้นไป 148 29.6 รวม 500 100.0 สถานภาพสมรสผู้ตอบแบบสำรวจฯ ส่วนใหญ่มีสถานภาพ สมรส/คู่ จำนวน 312 คน คิดเป็นร้อยละ 62.4 รองลงมา สถานภาพโสด จำนวน 109 คน คิดเป็นร้อยละ 21.8 สถานภาพหม้าย จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 9.6 สถานภาพแยกกันอยู่ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 4.4 และสถานภาพหย่า จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 1.8 รายละเอียดตามตารางที่ 4 ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามสถานภาพสมรส สถานภาพสมรส จำนวน ร้อยละ สมรส/คู่ 312 62.4 โสด 109 21.8 หม้าย 48 9.6 แยกกันอยู่ 22 4.4 หย่า 9 1.8 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 3 ศาสนา ผู้ตอบแบบสำรวจฯ โดยส่วนใหญ่ศาสนาพุทธ จำนวน 499 คน คิดเป็นร้อยละ 99.8 รองลงมา ศาสนาอิสลาม จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.2 รายละเอียดตามตารางที่ 5 ตารางที่ 5 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามศาสนา ศาสนา จำนวน ร้อยละ พุทธ 499 99.8 อิสลาม 1 0.2 รวม 500 100.0 การศึกษาสูงสุด ผู้ตอบแบบสำรวจฯ โดยส่วนใหญ่การศึกษา ระดับประถมศึกษา จำนวน 250 คน คิดเป็น ร้อยละ 50.0 รองลงมาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. จำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 17.6, ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น 67 คน คิดเป็นร้อยละ 13.4, ระดับปริญญาตรีขึ้นไป 65 คน คิดเป็นร้อยละ 13.0, ระดับอนุปริญญา/ปวส. 20 คน คิดเป็นร้อยละ 4.0 และระดับไม่ได้เรียนหนังสือ 10 คน คิดเป็นร้อยละ 2.0 รายละเอียดตามตารางที่ 6 ตารางที่ 6 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามระดับการศึกษา การศึกษา จำนวน ร้อยละ ประถมศึกษา 250 50.0 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 88 17.6 มัธยมศึกษาตอนต้น 67 13.4 ปริญญาตรีขึ้นไป 65 13.0 อนุปริญญา/ปวส. 20 4.0 ไม่ได้เรียนหนังสือ 10 2.0 รวม 500 100.0 อาชีพหลัก ผู้ตอบแบบสำรวจฯ โดยส่วนใหญ่อาชีพเกษตรกร จำนวน 170 คน คิดเป็นร้อยละ 34.0 รองลงมา รับจ้างทั่วไป จำนวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 23.0, ไม่ได้ประกอบอาชีพ/แม่บ้าน/พ่อบ้าน (ดูแลบ้าน ไม่มีรายได้) จำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 18.0, ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ/ลูกจ้างของรัฐ จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 10.2, ค้าขาย จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 9.6, ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 10 คน ร้อยละ 2.0, พนักงานบริษัท/บริษัทเอกชน/โรงงาน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 1.2, นักเรียน/นักศึกษา จำนวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 1.0, ข้าราชการบำบาญ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.6 และพนักงานรัฐวิสาหกิจ จำนวน 2 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.4 รายละเอียดตามตารางที่ 7


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 4 ตารางที่ 7 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอาชีพหลัก อาชีพ จำนวน ร้อยละ เกษตรกร 170 34.0 รับจ้างทั่วไป 115 23.0 ไม่ได้ประกอบอาชีพ/แม่บ้าน/พ่อบ้าน (ดูแลบ้าน ไม่มีรายได้) 90 18.0 ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ/ลูกจ้างของรัฐ 51 10.2 ค้าขาย 48 9.6 ธุรกิจส่วนตัว 10 2.0 พนักงานบริษัท/บริษัทเอกชน/โรงงาน 6 1.2 นักเรียน/นักศึกษา 5 1.0 ข้าราชการบำนาญ 3 0.6 พนักงานรัฐวิสาหกิจ 2 0.4 รวม 500 100.0 ลักษณะงาน ผู้ตอบแบบสำรวจฯ โดยส่วนใหญ่อาชีพใช้แรงงาน จำนวน 299 คน คิดเป็นร้อยละ 59.8 รองลงมาอาชีพทำงานบ้าน จำนวน 151 คน คิดเป็นร้อยละ 30.2 และอาชีพงานเอกสาร วิชาการ จำนวน 50 คน ร้อยละ 10.0 รายละเอียดตามตารางที่ 8 ตารางที่ 8 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามลักษณะงาน ลักษณะงาน จำนวน ร้อยละ ใช้แรงงาน 299 59.8 ทำงานบ้าน 151 30.2 งานเอกสาร วิชาการ 50 10.0 รวม 500 100.0 รายได้ต่อเดือน ผู้ตอบแบบสำรวจฯ มีรายได้ต่อเดือน โดยไม่หักค่าใช้จ่ายต่ำสุด 0 บาท สูงสุด 60,000 บาท เฉลี่ย 9,260.61 บาท โดยส่วนใหญ่รายได้≤ 5,000 บาท จำนวน 224 คน คิดเป็นร้อยละ 44.8 รองลงมารายได้ 5,001 – 10,000 บาท จำนวน 166 คน คิดเป็นร้อยละ 33.2, รายได้ > 20,000 บาท จำนวน 42 คน คิดเป็น ร้อยละ 8.4,รายได้10,001 – 15,000 บาท จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 8.0 และรายได้15,001 – 20,000 บาท จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 5.6 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 9


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 5 ตารางที่ 9 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามรายได้ รายได้ จำนวน ร้อยละ ≤ 5,000 บาท 224 44.8 5,001 – 10,000 บาท 166 33.2 10,001 – 15,000 บาท 40 8.0 15,001 – 20,000 บาท 28 5.6 > 20,000 บาท 42 8.4 รวม 500 100.0 จำนวนสมาชิกในครอบครัว ผู้ตอบแบบสำรวจฯ มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว ต่ำสุด 1 คน สูงสุด 9 คน เฉลี่ย 4 คน โดยส่วนใหญ่จำนวนสมาชิก 4 คน จำนวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 25.2 รองลงมาสมาชิก 3 คน จำนวน 116 คน คิดเป็นร้อยละ 23.2, สมาชิก 5 คน จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 15.0, สมาชิก 2 คน จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 14.4, สมาชิก 6 คน จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 9.4, สมาชิก 1 คน จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 5.4, สมาชิก 7 คน จำนวน 22คน คิดเป็นร้อยละ 4.4,สมาชิก 8 คน จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2, สมาชิก 9 คน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.8 รายละเอียดตามตารางที่ 10 ตารางที่ 10 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามจำนวนสมาชิกในครอบครัว จำนวนสมาชิกในครอบครัว จำนวน ร้อยละ 1 คน 27 5.4 2 คน 72 14.4 3 คน 116 23.2 4 คน 126 25.2 5 คน 75 15.0 6 คน 47 9.4 7 คน 22 4.4 8 คน 11 2.2 9 คน 4 0.8 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 6 การหาข้อมูลสุขภาพ ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ▪ การรับทราบข้อมูลสุขภาพ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่รับทราบข้อมูลสุขภาพ จำนวน 437 คน คิดเป็นร้อยละ 87.4 และไม่เคย ได้รับข้อมูลจากแหล่งใดเลยจำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 12.6 รายละเอียดตามตารางที่ 11 ตารางที่ 11 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพ การรับทราบ ข้อมูลสุขภาพ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ เคย 304 88.6 133 84.7 437 87.4 ไม่เคย 39 11.4 24 15.3 63 12.6 รวม 343 100 157 100.0 500 100.0 โดยผู้ที่รับทราบข้อมูลสุขภาพ มีการรับข้อมูลสุขภาพทางช่องทางต่างๆในหนึ่งสัปดาห์ดังนี้ 1.การรับทราบข้อมูลทางโทรทัศน์ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่รับทราบข้อมูลสุขภาพทางโทรทัศน์6-7 วัน จำนวน 158คน คิดเป็นร้อยละ 36.16 รองลงมาปฏิบัติ1-2 วัน จำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 19.22, ไม่ปฏิบัติ จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 18.08, ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 16.02, ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 10.53 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 12 ตารางที่ 12 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพทางโทรทัศน์ การปฏิบัติต่อ สัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 96 31.58 62 46.62 158 36.16 4-5 วัน 56 18.42 14 10.53 70 16.02 3 วัน 38 12.50 8 6.02 46 10.53 1-2 วัน 59 19.41 25 18.08 84 19.22 ไม่ปฏิบัติ 55 18.09 24 18.05 79 18.08 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 7 2 การรับทราบข้อมูลทางวิทยุผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่ปฏิบัติ จำนวน 266 คน คิดเป็นร้อยละ 60.87 รองลงมาปฏิบัติ 1-2 วัน จำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 13.96, ปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 47คน คิดเป็นร้อยละ 10.76, ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 42คน คิดเป็นร้อยละ 9.6 และปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 21คน คิดเป็นร้อยละ 4.81 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 13 ตารางที่ 13 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพทางวิทยุ การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 35 11.51 12 9.02 47 10.76 4-5 วัน 27 8.88 15 11.28 42 9.61 3 วัน 15 4.93 6 4.51 21 4.81 1-2 วัน 42 13.82 19 14.29 61 13.96 ไม่ปฏิบัติ 185 60.86 81 60.90 266 60.87 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00 3.การรับทราบข้อมูลทางหนังสือพิมพ์/วารสาร/แผ่นพับ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่ปฏิบัติ จำนวน 281 คน คิดเป็น ร้อยละ 64.30 รองลงมารับทราบข้อมูลสุขภาพทางหนังสือพิมพ์/วารสาร/แผ่นพับ 1-2 วันต่อ สัปดาห์ จำนวน 67คน คิดเป็นร้อยละ 15.33, ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 8.24, ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 7.09 และปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 5.03 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 14 ตารางที่ 14จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพทางหนังสือพิมพ์/ วารสาร/แผ่นพับ การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 17 5.59 5 3.76 22 5.03 4-5 วัน 27 8.88 9 6.77 36 8.24 3 วัน 22 7.24 9 6.77 31 7.09 1-2 วัน 51 16.78 16 12.03 67 15.33 ไม่ปฏิบัติ 187 61.51 94 70.68 281 64.30 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 8 4.การรับทราบข้อมูลทาง Facebook/Instagram/Twitter ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่ปฏิบัติ จำนวน 125 คน คิดเป็นร้อยละ 28.60 รองลงมารับทราบข้อมูล Facebook/Instagram/Twitter 6-7 วัน จำนวน 151คน คิดเป็นร้อยละ 34.55, ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 67คน คิดเป็นร้อยละ 15.33, ปฏิบัติ 1-2 วัน จำนวน 55คน คิดเป็นร้อยละ 12.59 และปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 39คน คิดเป็นร้อยละ 8.92 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 15 ตารางที่ 15 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพทาง Facebook/Instagram/Twitter การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 123 40.46 28 21.05 151 34.55 4-5 วัน 51 16.78 16 12.03 67 15.33 3 วัน 34 11.18 5 3.76 39 8.92 1-2 วัน 42 13.82 13 9.77 55 12.59 ไม่ปฏิบัติ 54 17.76 71 53.38 125 28.60 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00 5.การรับทราบข้อมูลทาง Line ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่รับทราบข้อมูลสุขภาพทาง Line 6-7 วัน จำนวน 154 คน คิดเป็นร้อยละ 35.24 รองลงมาไม่ปฏิบัติ จำนวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 27.00, ปฏิบัติ 1-2 วัน จำนวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 14.19, ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 13.73 และปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 9.84 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 16 ตารางที่ 16 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพทาง Line การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 116 38.16 38 28.57 154 35.24 4-5 วัน 48 15.79 12 9.02 60 13.73 3 วัน 30 9.87 13 9.77 43 9.84 1-2 วัน 50 16.45 12 9.02 62 14.19 ไม่ปฏิบัติ 60 19.74 58 43.61 118 27.00 รวม 304 100.00 133 100 437 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 9 6.การรับทราบข้อมูลทาง YouTube/TikTok ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่ปฏิบัติ จำนวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 33.18 รองลงมารับทราบข้อมูลสุขภาพทาง YouTube/TikTok 6-7 วัน จำนวน 135 คน คิดเป็น ร้อยละ 30.89 ,ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 16.70,ปฏิบัติ 1-2 วัน จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 12.81 และปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 6.41 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 17 ตารางที่ 17จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพทางYouTube/TikTok การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 112 36.84 23 17.29 135 30.89 4-5 วัน 56 18.42 17 12.78 73 16.70 3 วัน 20 6.58 8 6.02 28 6.41 1-2 วัน 40 13.16 16 12.03 56 12.81 ไม่ปฏิบัติ 76 25.00 69 51.88 145 33.18 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00 7.การรับทราบข้อมูลทาง Google search ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่ปฏิบัติ จำนวน 185 คน คิดเป็นร้อยละ 42.33 รองลงมารับทราบข้อมูลสุขภาพทาง Google search 6-7 วัน จำนวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 21.5, ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 14.42, ปฏิบัติ 1-2 วัน จำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 13.96 และปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 8.24 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 18 ตารางที่ 18จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพทาง Google search การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 77 25.33 15 11.28 92 21.5 4-5 วัน 52 17.11 11 8.27 63 14.42 3 วัน 27 8.88 9 6.77 36 8.24 1-2 วัน 52 17.11 9 6.77 61 13.96 ไม่ปฏิบัติ 96 31.58 89 66.92 185 42.33 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 10 8.การรับทราบข้อมูลจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ รับทราบข้อมูลสุขภาพจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. 1-2 วัน จำนวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 26.32 รองลงมาปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 95คน คิดเป็นร้อยละ 21.24, ปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 85คน คิดเป็นร้อยละ 19.45, ไม่ปฏิบัติ จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 16.93 และปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 15.56 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 19 ตารางที่ 19 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพจากบุคลากร สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์. 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 56 18.42 29 21.80 85 19.45 4-5 วัน 67 22.04 28 21.05 95 21.74 3 วัน 50 16.45 18 13.53 68 15.56 1-2 วัน 74 24.34 41 30.83 115 26.32 ไม่ปฏิบัติ 57 18.75 17 12.78 74 16.93 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00 9.การรับทราบข้อมูลจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ ไม่ปฏิบัติ จำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 29.52 รองลงมารับทราบข้อมูลสุขภาพจากบุคลากรสาธารณสุขที่ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล 1-2 วัน จำนวน 114 คน คิดเป็นร้อยละ 26.09,ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 73 คน คิดเป็น ร้อยละ 16.70,ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 15.33 และ ปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 54 คน คิดเป็น ร้อยละ 12.36 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 20 ตารางที่ 20 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพจากบุคลากร สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 34 11.18 20 15.04 54 12.36 4-5 วัน 42 13.82 25 18.80 67 15.33 3 วัน 59 19.41 14 10.53 73 16.70 1-2 วัน 73 24.01 41 30.83 114 26.09 ไม่ปฏิบัติ 96 31.58 33 24.81 129 29.52 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 11 10.การรับทราบข้อมูลจากบุคลากรสาธารณสุขที่ออกไปเยี่ยมบ้าน ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่รับทราบ จากบุคลากรสาธารณสุขที่ออกไปเยี่ยมบ้าน 1-2 วัน จำนวน 116 คน คิดเป็นร้อยละ 26.54 รองลงมาไม่ปฏิบัติ จำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 25.40,ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 19.45,ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 14.87,ปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 13.73 ตามลำดับรายละเอียด ตามตารางที่ 21 ตารางที่ 21 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลจากบุคลากรสาธารณสุข ที่ออกไปเยี่ยมบ้าน การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 37 12.17 23 17.29 60 13.73 4-5 วัน 60 19.74 25 18.80 85 19.45 3 วัน 46 15.13 19 14.29 65 14.87 1-2 วัน 79 25.99 37 27.82 116 26.54 ไม่ปฏิบัติ 82 26.97 29 21.80 111 25.40 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00 11.การรับทราบข้อมูลจาก อสม./อสค. ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่รับทราบข้อมูลจาก อสม./อสค. ส่วนใหญ่ 6-7 วัน จำนวน 121 คน คิดเป็นร้อยละ 27.69 รองลงมาปฏิบัติ 4-5 วันและ 1-2 วัน จำนวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 23.11 ,ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 17.62 และไม่ปฏิบัติ จำนวน 37 คน คิดเป็น ร้อยละ 8.47 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 22 ตารางที่ 22 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลจาก อสม./อสค. การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 74 24.34 47 35.34 121 27.69 4-5 วัน 73 24.01 28 21.05 101 23.11 3 วัน 58 19.08 19 14.29 77 17.62 1-2 วัน 71 23.36 30 22.56 101 23.11 ไม่ปฏิบัติ 28 9.21 9 6.77 37 8.47 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 12 12. การรับทราบข้อมูลจากสมาชิกในครอบครัว ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่การรับทราบข้อมูลจาก สมาชิกในครอบครัว 6-7 วัน จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 25.63 รองลงมาปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 20.37, ปฏิบัติ4-5 วัน จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 19.91, ปฏิบัติ 1-2 วัน จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 18.08 และไม่ปฏิบัติ จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 16.02 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 23 ตารางที่ 23 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลจากสมาชิกในครอบครัว การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 63 20.72 49 36.84 112 25.63 4-5 วัน 71 23.36 16 12.03 87 19.91 3 วัน 64 21.05 25 18.80 89 20.37 1-2 วัน 60 19.74 19 14.29 79 18.08 ไม่ปฏิบัติ 46 15.13 24 18.05 70 16.02 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00 13. การรับทราบข้อมูลจากเพื่อน/เพื่อนบ้าน ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่รับทราบข้อมูลจากเพื่อน/เพื่อนบ้าน 4-5 วัน จำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 22.20 รองลงมาปฏิบัติ3 วันและไม่ปฏิบัติ จำนวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05, ปฏิบัติ1-2 วัน จำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 20.14 และปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 15.56 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 24 ตารางที่ 24 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลจากเพื่อน/เพื่อนบ้าน การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 44 14.47 24 18.05 68 15.56 4-5 วัน 70 23.03 27 20.30 97 22.20 3 วัน 64 21.05 28 21.05 92 21.05 1-2 วัน 58 19.08 30 22.56 88 20.14 ไม่ปฏิบัติ 68 22.37 24 18.05 92 21.05 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 13 14. การรับทราบข้อมูลจากเสียงตามสาย/หอกระจายข่าว ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่ปฏิบัติ จำนวน 128 คน คิดเป็นร้อยละ 29.29 รองลงมารับทราบข้อมูลเสียงตามสาย/หอกระจายข่าว 1-2 วัน จำนวน 84 คน คิด เป็นร้อยละ 19.22, ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 18.99, ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 78 คน คิดเป็น ร้อยละ 17.85 และปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 14.65 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 25 ตารางที่ 25 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับทราบข้อมูลสุขภาพทางรัเสียงตาม สาย/หอกระจายข่าว การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 39 12.83 25 18.80 64 14.65 4-5 วัน 57 18.75 26 19.55 83 18.99 3 วัน 54 17.76 24 18.05 78 17.85 1-2 วัน 61 20.07 23 17.29 84 19.22 ไม่ปฏิบัติ 93 30.59 35 26.32 128 29.29 รวม 304 100.00 133 100.00 437 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 14 การรับทราบข้อมูลสุขภาพ ผู้ตอบแบบสำรวจรับทราบข้อมูลภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ โดยช่องทางที่ผู้ตอบแบบสำรวจได้การรับ ข้อมูลสุขภาพเรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ 1.อสม.หรืออสค. (̅= 3.38) 2. โทรทัศน์ (̅= 3.33) 3. สมาชิกในครอบครัว (̅= 3.21) 4. Line (̅= 3.16) 5. Facebook/ Instagram/ Twitter (̅= 3.15) 6. บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. (̅= 3.00) 7. You Tube, Tik Tok (̅= 2.99) 8. เพื่อน /เพื่อน บ้าน (̅= 2.91) 9. เสียงตามสาย /หอกระจายเสียง (̅= 2.70) 10. บุคลากรเยี่ยมบ้าน (̅= 2.70) 11. Googlesearch(̅= 2.58) 12. บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน โรงพยาบาล (̅= 2.55) 13. วิทยุ (̅= 1.95) 14. หนังสือพิมพ์/วารสาร/แผ่นพับ (̅= 1.74) เมื่อจำแนกตามกลุ่มอายุพบว่า อายุ 15-59 ปีการรับทราบข้อมูลภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ (̅= 2.86) โดยช่องทางที่ผู้ตอบแบบสำรวจ ได้การรับข้อมูลสุขภาพเรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้1. Facebook/ Instagram/ Twitter (̅= 3.48) 2. โทรทัศน์(̅= 3.36) 3. Line (̅= 3.36) 4. อสม.หรืออสค. (̅= 3.31) 5. You Tube, Tik Tok (̅= 3.29) 6. สมาชิกในครอบครัว (̅= 3.15) 7. บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในรพ.สต. (̅= 2.97) 8. Google search และเพื่อน/เพื่อนบ้าน (̅= 2.88) 9. บุคลากรสาธารณสุขที่ออกไปเยี่ยมบ้าน (̅= 2.64) 10. เสียงตามสาย/ หอกระจายเสียง (̅= 2.63) 11. บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล (̅= 2.49) 12. วิทยุ (̅= 1.96) 13. หนังสือพิมพ์/วารสาร/แผ่นพับ (̅=1.80) อายุ ≥60 ปีขึ้นไป การรับทราบข้อมูลภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ (̅= 2.69) โดยช่องทางที่ผู้ตอบแบบ สำรวจได้การรับข้อมูลสุขภาพเรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้1.อสม. หรืออสค. (̅= 3.56) 2. โทรทัศน์ (̅= 3.49)3.สมาชิกในครอบครัว (̅= 3.35)4. บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. (̅= 3.08)5. เพื่อน /เพื่อนบ้าน (̅= 2.98) 6. เสียงตามสาย/หอกระจายเสียง (̅= 2.87) 7. บุคลากรสาธารณสุขที่ออกไปเยี่ยมบ้าน (̅= 2.82) 8. Line (̅= 2.70) 9. Facebook/ Instagram/ Twitter (̅= 2.38) 10. บุคลากรสาธารณสุขที่ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล (̅= 2.68) 11. You Tube, Tik Tok (̅= 2.32) 12. วิทยุ (̅= 1.93) 13. Google search. (̅=1.90)14. หนังสือพิมพ์/วารสาร/แผ่นพับ (̅=1.61) รายละเอียดตามตารางที่ 26


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 15 ตารางที่ 26 ระดับการรับทราบข้อมูลสุขภาพ จำแนกเป็นรายข้อ ช่องทางการรับทราบข้อมูล 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป X̅แปลผล X̅แปลผล X̅แปลผล 1.โทรทัศน์ 3.36 พอใช้ 3.49 ดี 3.33 พอใช้ 2.วิทยุ 1.96 น้อย 1.93 น้อย 1.95 น้อย 3.หนังสือพิมพ์/วารสาร/แผ่นพับ 1.80 น้อยที่สุด 1.61 น้อยที่สุด 1.74 น้อยที่สุด 4.สื่อสังคมออนไลน์ - Facebook/ Instagram/Twitter 3.48 ดี 2.38 น้อย 3.15 พอใช้ - Line 3.36 พอใช้ 2.70 พอใช้ 3.16 พอใช้ - YouTube, Tik Tok 3.29 พอใช้ 2.32 น้อย 2.99 พอใช้ - Google search 2.88 พอใช้ 1.90 น้อย 2.58 น้อย 5.บุคลากรสาธารณสุขที่ ปฏิบัติงานใน รพ.สต. 2.97 พอใช้ 3.08 พอใช้ 3.00 พอใช้ 6.บุคลากรสาธารณสุขที่ ปฏิบัติงานใน รพ. 2.49 พอใช้ 2.68 พอใช้ 2.55 น้อย 7.บุคลากรสาธารณสุข ที่ออกไปเยี่ยมบ้าน 2.64 พอใช้ 2.82 พอใช้ 2.70 พอใช้ 8.อสม.หรือ อสค. 3.31 พอใช้ 3.56 ดี 3.38 พอใช้ 9.สมาชิกในครอบครัว 3.15 พอใช้ 3.35 พอใช้ 3.21 พอใช้ 10.เพื่อน/เพื่อนบ้าน 2.88 พอใช้ 2.98 พอใช้ 2.91 พอใช้ 11.เสียงตามสาย/หอกระจายเสียง 2.63 พอใช้ 2.87 พอใช้ 2.70 พอใช้ รวม 2.86 พอใช้ 2.69 พอใช้ 2.81 พอใช้ หมายเหตุ การแปลผลค่าเฉลี่ย ระดับดีมาก 4.21 - 5.00 ระดับดี 3.41 - 4.20 ระดับพอใช้ 2.61 - 3.40 ระดับน้อย 1.81 - 2.60 ระดับน้อยที่สุด 1.00 - 1.80


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 16 ▪ การค้นหาข้อมูลสุขภาพ โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ค้นหาข้อมูลสุขภาพ จำนวน 311 คน คิดเป็นร้อยละ 62.2 และไม่เคย สอบถาม/ค้นหาข้อมูลจำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 37.8 รายละเอียดตามตารางที่ 27 ตารางที่ 27 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการค้นหาข้อมูลสุขภาพ การค้นหาข้อมูลสุขภาพ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ เคย 224 65.3 87 55.4 311 62.2 ไม่เคยสอบถาม/ค้นหา 119 34.7 70 44.6 189 37.8 รวม 343 100.0 157 100.0 500 100.0 โดยผู้ที่ค้นหาข้อมูลสุขภาพมีการค้นหาข้อมูลสุขภาพทางช่องทางต่างๆในหนึ่งสัปดาห์ ดังนี้ 1.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเองจากสื่อออนไลน์ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ค้นหาข้อมูลการ ดูแลสุขภาพด้วยตนเองจากสื่อออนไลน์6-7 วัน จำนวน 78 คน คิดเป็น ร้อยละ 25.08 รองลงมาปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 23.15, ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 21.54, ปฏิบัติ 1-2 วัน จำนวน 58คน คิดเป็นร้อยละ 18.56 และไม่ปฏิบัติ จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 11.58 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 28 ตารางที่ 28 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง จากสื่อออนไลน์ เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์ แอฟพิเคชั่น เป็นต้น การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 65 29.02 13 14.94 78 25.08 4-5 วัน 53 23.66 19 21.84 72 23.15 3 วัน 53 23.66 14 16.09 67 21.54 1-2 วัน 41 18.30 17 19.54 58 18.56 ไม่ปฏิบัติ 12 5.36 24 27.59 36 11.58 รวม 224 100.00 87 100.00 311 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 17 2.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเองจากหนังสือ แผ่นพับ เอกสารต่างๆ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ ไม่ปฏิบัติ จำนวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 39.55 รองลงมาค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเองจากหนังสือ แผ่น พับ เอกสารต่างๆ 1-2 วัน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 21.22,ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 18.01, ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 12.22 และปฏิบัติ6-7 วัน จำนวน 28 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.00 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 29 ตารางที่ 29 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง จากหนังสือ แผ่นพับ เอกสารต่างๆ การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 16 7.14 12 13.79 28 9.00 4-5 วัน 30 13.39 8 9.20 38 12.22 3 วัน 45 20.09 11 12.64 56 18.01 1-2 วัน 48 21.43 18 20.69 66 21.22 ไม่ปฏิบัติ 85 37.39 38 43.68 123 39.55 รวม 224 100.00 87 100.00 311 100.00 3.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพโดยการสอบถามจาก อสม./อสค. ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่ปฏิบัติ จำนวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 39.55 รองลงมาค้นหาข้อมูลสอบถามจาก อสม./อสค. 1-2 วัน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ21.22, ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 56คน คิดเป็นร้อยละ18.01, ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 12.22 และปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 28 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.00 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 30 ตารางที่ 30จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพโดย การสอบถามจาก อสม./อสค. การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 34 15.18 25 28.74 59 18.97 4-5 วัน 45 20.09 18 20.69 63 20.26 3 วัน 64 28.57 20 22.99 84 27.01 1-2 วัน 48 21.43 18 20.69 66 21.22 ไม่ปฏิบัติ 33 14.73 6 6.90 39 12.54 รวม 224 100.00 87 100.00 311 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 18 4.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพโดยการสอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ปฏิบัติ1-2 วัน จำนวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 26.37 รองลงมาปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 24.44,ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 21.86, ปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 43 คน คิด เป็น ร้อยละ 13.83 และไม่ปฏิบัติ จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 13.50 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 31 ตารางที่ 31 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพโดย การสอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 28 12.50 15 17.24 43 13.83 4-5 วัน 48 21.43 20 22.99 68 21.86 3 วัน 57 25.45 19 21.84 76 24.44 1-2 วัน 57 25.45 25 28.74 82 26.37 ไม่ปฏิบัติ 34 15.18 8 9.20 42 13.50 รวม 224 100.00 87 100.00 311 100.00 5.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพโดยการสอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ปฏิบัติ 1-2 วัน จำนวน 91คน คิดเป็นร้อยละ 29.26 รอลลงมาไม่ปฏิบัติ จำนวน 81 คน คิด เป็นร้อยละ 25.05,ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 20.26,ปฏิบัติ 4-5 วัน จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อย ละ 14.15 และปฏิบัติ 6-7 วัน จำนวน 32 คน คิดเป็น ร้อยละ 10.29 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 32 ตารางที่ 32 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพโดยการ สอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 22 9.82 10 11.49 32 10.29 4-5 วัน 25 11.16 19 21.84 44 14.15 3 วัน 49 21.88 14 16.09 63 20.26 1-2 วัน 66 29.46 25 28.74 91 29.26 ไม่ปฏิบัติ 62 27.68 19 21.84 81 26.05 รวม 224 100.00 87 100.00 311 100


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 19 6.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพโดยการสอบถามจากวิชาชีพอื่นๆ เช่น ครู ตำรวจ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วน ใหญ่ไม่ปฏิบัติ จำนวน 179 คน คิดเป็นร้อยละ 57.56 รองลงมาปฏิบัติ1-2 วัน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 21.22,ปฏิบัติ 3 วัน จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 12.22 ,ปฏิบัติ 6-7 วัน และ 4-5 วัน จำนวน 14 คน คิดเป็น ร้อยละ 4.50 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 33 ตารางที่ 33 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพโดยการ สอบถามจากวิชาชีพอื่นๆ เช่น ครู ตำรวจ การปฏิบัติ ต่อสัปดาห์ 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 6-7 วัน 7 3.13 7 8.05 14 4.50 4-5 วัน 9 4.02 5 5.75 14 4.50 3 วัน 30 13.39 8 9.20 38 12.22 1-2 วัน 51 22.77 15 17.24 66 21.22 ไม่ปฏิบัติ 127 56.70 52 59.77 179 57.56 รวม 224 100.00 87 100.00 311 100 การค้นหาข้อมูลสุขภาพ ผู้ตอบแบบสำรวจมีการค้นหาข้อมูลสุขภาพ ภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ( ̅= 2.53) โดยการค้นหาข้อมูล สุขภาพเรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ 1.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเองจากสื่อออนไลน์ (̅=3.32) 2. สอบถามจากอสม./อสค.(̅= 3.12) 3. สอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. (̅= 2.96) 4. ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเองจากหนังสือ แผ่นพับ เอกสารต่างๆ (̅= 2.30) 5. บุคลากรสาธารณสุขที่ ปฏิบัติงานในสอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล (̅= 2.27) และ6.สอบถามจากวิชาชีพ อื่นๆ เช่น ครู ตำรวจ (̅= 1.20) เมื่อจำแนกตามกลุ่มอายุพบว่า อายุ 15-59 ปี การค้นหาข้อมูลสุขภาพ ภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ (̅= 2.67) โดยการค้นหาข้อมูลสุขภาพ เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ 1.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเองจากสื่อออนไลน์ (̅=3.53) 2. สอบถามจากอสม./อสค.(̅= 3.00) 3. สอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. (̅= 2.90) 4. สอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล (̅= 2.46) 5. ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพ ด้วยตนเองจากหนังสือ แผ่นพับ เอกสารต่างๆ (̅= 2.30) 6. สอบถามจากวิชาชีพอื่นๆ เช่น ครู ตำรวจ (̅= 1.74)


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 20 อายุ ≥ 60 ปีขึ้นไป การค้นหาข้อมูลสุขภาพ ภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ (̅= 2.71) โดยการค้นหาข้อมูล สุขภาพเรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ 1.สอบถามจาก อสม./อสค.(̅= 3.62) 2. สอบถามจากบุคลากร สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. (̅= 3.10) 3. ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเองจากสื่อออนไลน์ (̅= 2.77) 4. สอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล (̅= 2.72) 5. ค้นหาข้อมูลการดูแล สุขภาพด้วยตนเองจากหนังสือ แผ่นพับ เอกสารต่างๆ (̅= 2.29) 6. สอบถามจากวิชาชีพอื่นๆ เช่น ครู ตำรวจ (̅= 1.85) รายละเอียดตามตารางที่ 34 ตารางที่ 34 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับการค้นหาข้อมูลสุขภาพ ช่องทางการค้นหาข้อมูล 15-59 ปี ≥ 60 ปีขึ้นไป 15 ปีขึ้นไป ̅ แปลผล ̅ แปลผล ̅ แปลผล 1.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วย ตนเองจากสื่อออนไลน์ 3.53 ดี 2.77 พอใช้ 3.32 พอใช้ 2.ค้นหาข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง จากหนังสือ แผ่นพับ เอกสารต่างๆ 2.30 น้อย 2.29 น้อย 2.30 น้อย 3.สอบถามจาก อสม./อสค. 3.00 พอใช้ 3.62 ดี 3.12 พอใช้ 4.สอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ ปฏิบัติงานในรพ.สต. 2.9 พอใช้ 3.10 พอใช้ 2.96 พอใช้ 5.สอบถามจากบุคลากรสาธารณสุขที่ ปฏิบัติงานในรพ. 2.46 น้อย 2.72 พอใช้ 2.27 น้อย 6.สอบถามจากวิชาชีพอื่นๆ เช่น ครู ตำรวจ 1.74 น้อย ที่สุด 1.85 น้อย 1.20 น้อยที่สุด รวม 2.67 พอใช้ 2.71 พอใช้ 2.53 น้อย หมายเหตุ การแปลผลค่าเฉลี่ย ระดับดีมาก 4.21 - 5.00 ระดับดี 3.41 - 4.20 ระดับพอใช้ 2.61 - 3.40 ระดับน้อย 1.81 - 2.60 ระดับน้อยที่สุด 1.00 - 1.80


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 21 แหล่งน้ำดื่ม ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ดื่มน้ำจากน้ำบรรจุขวด จำนวน 258 คน คิดเป็น ร้อยละ 51.6, รองลงมาน้ำกรอง จำนวน 190 คน คิดเป็นร้อยละ 38.0,น้ำฝน จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 7.2 และ น้ำประปา จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 3.2 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 35 ตารางที่ 35 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามแหล่งน้ำดื่ม แหล่งน้ำดื่ม จำนวน ร้อยละ น้ำบรรจุขวด 258 51.6 น้ำประปา 16 3.2 น้ำฝน 36 7.2 น้ำกรอง 190 38.0 รวม 500 100.0 การแยกขยะในครัวเรือน ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีการแยกขยะ (รีไซเคิล,ขยะเปียก) จำนวน 389 คน คิดเป็นร้อยละ 77.8 และไม่มีการแยกขยะ จำนวน 111 คน คิดเป็น ร้อยละ 22.2 ตามลำดับรายละเอียดตาม ตารางที่ 36 ตารางที่ 36 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการแยกขยะในตรัวเรือน การแยกขยะ จำนวน ร้อยละ ไม่มี 111 22.2 มี 389 77.8 รวม 500 100.0 การกำจัดขยะในครัวเรือน ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่กำจัดขยะโดยอปท. เก็บ ขน ไปกำจัด จำนวน 332คน คิดเป็น ร้อยละ 66.4, รองลงมาเผาขยะเองบริเวณบ้าน จำนวน 144 คน คิดเป็นร้อยละ 28.8, ฝังกลบบริเวณบ้าน จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 4.6 และทิ้งบ่อหลังวัดจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.2 ตามลำดับรายละเอียดตาม ตารางที่ 37 ตารางที่ 37 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามวิธีการกำจัดขยะในครัวเรือน วิธีกำจัดขยะ จำนวน ร้อยละ อปท. เก็บ ขน ไปกำจัด 332 66.4 เผาขยะเองบริเวณบ้าน 144 28.8 ฝังกลบบริเวณบ้าน 23 4.6 ทิ้งบ่อหลังวัด 1 0.2 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 22 การกำจัดขยะเปียกในครัวเรือน ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่วิธีกำจัดขยะเปียกโดย อปท. เก็บ ขน ไปกำจัด จำนวน 200 คน คิดเป็น ร้อยละ 40.0 รองลงมาเลี้ยงสัตว์จำนวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 21.2, ทำปุ๋ยชีวภาพ จำนวน 98คน คิดเป็นร้อยละ 19.6, ฝังกลบบริเวณบ้าน 76คน คิดเป็นร้อยละ 15.2, ทิ้งข้างบ้าน/ในหมู่บ้าน 19 คน คิด เป็นร้อยละ 3.8 และทิ้งแม่น้ำ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.2 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 38 ตารางที่ 38 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามวิธีการกำจัดขยะเปียกในครัวเรือน วิธีกำจัดขยะ จำนวน ร้อยละ อปท. เก็บ ขน ไปกำจัด 200 40.0 เลี้ยงสัตว์ 106 21.2 ทำปุ๋ยชีวภาพ 98 19.6 ฝังกลบบริเวณบ้าน 76 15.2 ทิ้งข้างบ้าน/ในหมู่บ้าน 19 3.8 ทิ้งแม่น้ำ 1 0.2 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 23 การใช้พืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพรในการรักษาโรคหรือดูแลสุขภาพ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่เคยใช้พืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพร จำนวน 308 คน คิดเป็นร้อยละ 61.6 และไม่ เคยใช้จำนวน 192 คน คิดเป็น ร้อยละ 38.4, ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 39 ตารางที่ 39 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการใช้พืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพร การใช้พืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพร จำนวน ร้อยละ ไม่เคยใช้ 192 38.4 เคยใช้ 308 61.6 รวม 500 100.0 แหล่งของพืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพร โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ปลูกใช้เองในครัวเรือน จำนวน 143คน คิดเป็น ร้อยละ 46.28, รองลงมาซื้อรับประทานเองจากร้านขายยา หรือซื้อผ่านช่องทางออนไลน์อื่นๆ 93 คน คิดเป็นร้อยละ 30.10 ,ได้รับจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 16.50, ได้รับจาก โรงพยาบาลจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 7.12 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 40 ตารางที่ 40 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามแหล่งของพืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพร แหล่งของพืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพร จำนวน ร้อยละ ปลูกใช้เองในครัวเรือน 143 46.28 ได้รับจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 51 16.50 ได้รับจากโรงพยาบาล 22 7.12 ซื้อรับประทานเองจากร้านขายยา/ทางออนไลน์อื่นๆ 93 30.10 รวม 309 100.00 เหตุผลในการตัดสินใจเลือกใช้พืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพร ในการรักษาโรคหรือดูแลสุขภาพ โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่เลือกใช้พืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพรในการรักษาโรคหรือดูแลสุขภาพ เนื่องจากหาได้ง่ายในท้องถิ่น หรือบริเวณบ้านจำนวน 163 คน คิดเป็น ร้อยละ 27.96 รองลงมา คือ สามารถใช้ได้ เองที่บ้านโดยไม่ต้องพบแพทย์จำนวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 17.32, ราคาไม่แพง จำนวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 15.78, ประสิทธิภาพในการรักษาได้ผลดีจำนวน 83คน คิดเป็นร้อยละ 14.14 ,ได้รับจาก รพ./รพ.สต. จำนวน 78 คน คิด เป็นร้อยละ 13.38 และลดค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพและรักษาโรค จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 11.32 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 41


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 24 ตารางที่ 41 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามเหตุผลในการตัดสินใจเลือกใช้พืชสมุนไพร เหตุผลในการตัดสินใจเลือกใช้พืชสมุนไพร จำนวน ร้อยละ หาได้ง่ายในท้องถิ่น หรือบริเวณบ้าน 163 27.96 สามารถใช้ได้เองที่บ้านโดยไม่ต้องพบแพทย์ 101 17.32 ราคาไม่แพง 92 15.78 ประสิทธิภาพในการรักษาได้ผลดี 83 14.14 ได้รับจาก รพ./รพ.สต. 78 13.38 ลดค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพและรักษาโรค 66 11.32 รวม 583 100.00 การใช้พืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพรรักษาอาการ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ใช้พืชสมุนไพรหรือยาสมุนไพรรักษากลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ จำนวน 342 คน คิดเป็นร้อยละ 29.16 รองลงมากลุ่มโรคระบบทางเดินอาหาร จำนวน 273 คน คิดเป็นร้อยละ 23.27,กลุ่มโรคทั่วไป จำนวน 259 คน คิดเป็นร้อยละ 22.08 ,กลุ่มโรคระบบทางผิวหนัง จำนวน 219 คน คิดเป็นร้อยละ 18.67 และกลุ่ม โรคระบบทางเดินปัสสาวะ จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 6.82 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 42 ตารางที่ 42 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามกลุ่มโรค กลุ่มโรค จำนวน ร้อยละ กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ 342 29.16 กลุ่มโรคระบบทางเดินอาหาร 273 23.27 กลุ่มโรคทั่วไป 259 22.08 กลุ่มโรคระบบทางผิวหนัง 219 18.67 กลุ่มโรคระบบทางเดินปัสสาวะ 80 6.82 รวม 1173 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 25 โดยเมื่อจำแนกตามกลุ่มโรค พบรายละเอียด ดังนี้ ▪ กลุ่มโรคระบบทางเดินอาหาร ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ใช้รักษาอาการท้องอืด/ท้องเฟ้อ/อาหารไม่ย่อย จำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 47.25 รองลงมาอาการท้องผูก จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 23.44,โรคกระเพาะ จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 12.82, อุจจาระร่วง/ท้องเสีย จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 9.89 และอาการ คลื่นไส้/อาเจียน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 6.59 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 43 ตารางที่ 43 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอาการ อาการ จำนวน ร้อยละ 1.ท้องอืด/ท้องเฟ้อ/อาหารไม่ย่อย 129 47.25 2.ท้องผูก 64 23.44 3. โรคกระเพาะ 35 12.82 4.อุจจาระร่วง/ท้องเสีย 27 9.89 5.คลื่นไส้/อาเจียน 18 6.59 รวม 273 100.00 กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ใช้รักษาไข้หวัด จำนวน 137 คน คิดเป็นร้อยละ 40.06 รองลงมาอาการเจ็บคอ จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 23.10 , โควิด จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 22.81 และอาการคัดแน่นจมูก จำนวน 418 คน คิดเป็นร้อยละ 14.50 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 45 ตารางที่ 45 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอาการ อาการ จำนวน ร้อยละ ไข้หวัด 137 40.06 เจ็บคอ 79 23.10 โควิด 78 22.81 คัดแน่นจมูก 48 14.04 รวม 342 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 26 กลุ่มโรคระบบทางเดินปัสสาวะ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ใช้รักษาอาการปัสสาวะแสบขัดจำนวน 61 คน คิด เป็นร้อยละ 76.25 และอาการปัสสาวะไม่ออก จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 23.75 รายละเอียดตามตารางที่ 46 ตารางที่ 46 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอาการ อาการ จำนวน ร้อยละ ปัสสาวะแสบขัด 61 76.25 ปัสสาวะไม่ออก 19 23.75 รวม 80 100.00 กลุ่มโรคระบบทางผิวหนัง ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ใช้รักษาผื่นคัน จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 26.94 รองลงมา คือ แมลงกัดต่อย จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 26.48 ,แผลพุพองจากโดนน้ำร้อนลวก จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 19.18, งูสวัด จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 11.42,เริม จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 8.86 และผื่น จากลมพิษ จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 7.13 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 47 ตารางที่ 47 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอาการ อาการ จำนวน ร้อยละ ผื่นคัน 59 26.94 แมลสัตว์กัดต่อย 58 26.48 แผลพุพองจากโดนน้ำร้อนหรือไฟ 42 19.18 งูสวัด 25 11.42 เริม 19 8.68 ผื่นจากลมพิษ 16 7.31 รวม 219 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 27 กลุ่มโรคทั่วไป ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ใช้รักษาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ จำนวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 31.66 รองลงมาอาการปวดหัว จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 29.34 ,นอนไม่หลับ จำนวน 44คน คิดเป็นร้อยละ 16.99,ไมเกรน จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 9.27,รักษาเหา จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 7.72,เบาหวาน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.54 ,ความดัน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.16 และป้องกันมะเร็ง ไต ประจำเดือนมาไม่ ปกติ มดลูกกระชับ อย่างละ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.39 รายละเอียดตามตารางที่ 48 ตารางที่ 48 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอาการ อาการ จำนวน ร้อยละ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ 82 31.66 ปวดหัว 76 29.34 นอนไม่หลับ 44 16.99 ไมเกรน 24 9.27 รักษาเหา 20 7.72 เบาหวาน 4 1.54 ความดัน 3 1.16 ป้องกันมะเร็ง 1 0.39 ไต 1 0.39 ประจำเดือนมาไม่ปกติ 1 0.39 มดลูกกระชับ 1 0.39 สารเคมีในเลือด 1 0.39 ไขมัน 1 0.39 รวม 259 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 28 ตอนที่2 สถานะสุขภาพ ภาวะสุขภาพกายและภาวะสุขภาพจิต โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ภาวะสุขภาพกายและภาวะสุขภาพจิตปานกลาง 221 คน คิดเป็นร้อยละ 44.2 รองลงมาดีจำนวน 192 คน คิดเป็นร้อยละ 38.4,ดีมาก จำนวน 58คน คิดเป็น ร้อยละ 11.6, , ไม่ดี27คน คิด เป็นร้อยละ 5.4 และแย่มาก 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.4 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 49 ตารางที่ 49 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามภาวะสุขภาพ ภาวะสุขภาพ จำนวน ร้อยละ ดีมาก 58 11.6 ดี 192 38.4 ปานกลาง 221 44.2 ไม่ดี 27 5.4 แย่มาก 2 0.4 รวม 500 100.0 การตรวจวินิจฉัยจากแพทย์ ใน 1 ปีที่ผ่านมา โดยในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่เคยตรวจ แต่ไม่พบโรค จำนวน 194 คน คิดเป็น ร้อยละ 38.8 รองลงมา คือ เคยตรวจ พบโรคเรื้อรัง 186 คน คิดเป็นร้อยละ 37.2 และ ไม่เคยตรวจ จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 24.0 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 50 ตารางที่ 50 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์ การตรวจวินิจฉัยจากแพทย์ จำนวน ร้อยละ ไม่เคยตรวจ 120 24.0 เคยตรวจ ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมาแต่ไม่พบโรค 194 38.8 เคยตรวจ พบโรคเรื้อรัง 186 37.2 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 29 โรคเรื้อรัง โดยผู้ตอบแบบสำรวจที่เคยตรวจโดยแพทย์ พบโรคเรื้อรัง ส่วนใหญ่เป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 113 คน คิดเป็นร้อยละ 33.93, รองลงมาไขมันในเลือดผิดปกติ จำนวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 24.92, เบาหวาน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 17.72 กรดไหลย้อน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 3.60 โรคหลอดเลือดหัวใจ จำนวน 9 คน คิดเป็น ร้อยละ 2.70 ไทรอยด์จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.40 โรคหอบหืด จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.50 ภาวะ อ้วน/น้ำหนักเกิน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.50 ไตเรื้อรัง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.20 ข้อเข่าเสื่อม จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.20 ไมเกรน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.90 มะเร็ง จำนวน 3 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.90 ต่อมลูกหมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.60 เส้นเลือดในสมองตีบ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.60 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 51 ตารางที่ 51 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามโรคเรื้อรัง ที่ โรคเรื้อรัง จำนวน ร้อยละ 1 ความดันโลหิตสูง 113 33.93 2 ไขมันในเลือดผิดปกติ 83 24.92 3 เบาหวาน 59 17.72 4 กรดไหลย้อน 12 3.60 5 โรคหลอดเลือดหัวใจ 9 2.70 6 ไทรอยด์ 8 2.40 7 โรคหอบหืด 5 1.50 8 ภาวะอ้วน/น้ำหนักเกิน 5 1.50 9 ไตเรื้อรัง 4 1.20 10 ข้อเข่าเสื่อม 4 1.20 11 ไมเกรน 3 0.90 12 มะเร็ง 3 0.90 13 ต่อมลูกหมาก 2 0.60 14 เส้นเลือดในสมองตีบ 2 0.60 15 โรคอัมพฤกษ์/อัมพาต 1 0.30 16 เส้นโลหิตฝอยแตกซีกขวา 1 0.30 17 นิ่ว 1 0.30 18 ตับ 1 0.30 19 ตาต้อหิน 1 0.30


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 30 ที่ โรคเรื้อรัง จำนวน ร้อยละ 20 เก๊าท์ 1 0.30 21 โรคกระเพาะอาหารอักเสบ 1 0.30 22 ไขมันพอกตับ 1 0.30 23 กระดูกคอเสื่อม 1 0.30 24 กระเพาะปัสสาวะ 1 0.30 25 ตับอักเสบบี 1 0.30 26 ถุงน้ำในรังไข่ 1 0.30 27 เนื้องอก(ภาวะเสี่ยงมะเร็ง) 1 0.30 28 ปอดอักเสบ 1 0.30 29 โรคลมชัก 1 0.30 30 ไส้เลื่อน 1 0.30 31 หมอนรองกระดูก 1 0.30 32 หัวใจเต้นช้า 1 0.30 33 หัวใจโต 1 0.30 34 Cystที่คอ 1 0.30 35 SLE 1 0.30 รวม 333 100.00 การพบแพทย์ของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยผู้ตอบแบบสำรวจที่มีโรคประจำตัว ส่วนใหญ่ไปพบแพทย์ตามนัด ทุกครั้ง จำนวน 163คน คิดเป็นร้อยละ 87.63, รองลงมาพบแพทย์เป็นส่วนใหญ่จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 5.38, แพทย์ไม่ได้นัด5คน คิดเป็นร้อยละ 2.69, พบแพทย์เป็นส่วนน้อย4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.15 และไม่ได้ไปพบแพทย์เลย 4คน คิดเป็น ร้อยละ 2.15ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 52


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 31 ตารางที่ 52 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการพบแพทย์ตามนัด การพบแพทย์ตามนัด จำนวน ร้อยละ ทุกครั้ง 163 87.63 เป็นส่วนใหญ่ 10 5.38 เป็นส่วนน้อย 4 2.15 ไม่ได้ไปเลย 4 2.15 แพทย์ไม่ได้นัด 5 2.69 รวม 186 100.00 การรับประทานยาตามแพทย์สั่งของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยผู้ตอบแบบสำรวจที่มีโรคประจำตัวส่วนใหญ่รับประทานยาตามแพทย์สั่ง ทุกครั้ง จำนวน 164 คน คิดเป็น ร้อยละ 88.17, รองลงมารับประทานยาตามแพทย์สั่งเป็นส่วนใหญ่ จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 6.99, แพทย์ไม่ได้ให้ยา/ ให้คำแนะนำ 4คน คิดเป็นร้อยละ2.15, ไม่ได้รับประทานยาเลย 3คน คิดเป็นร้อยละ 1.61และรับประทานยาตามแพทย์ สั่งเป็นส่วนน้อย 2คน คิดเป็นร้อยละ 1.08ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่52 ตารางที่ 52 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการรับประทานยาตามแพทย์สั่ง รับประทานยาตามแพทย์สั่ง จำนวน ร้อยละ ทำทุกครั้ง 164 88.17 ทำเป็นส่วนใหญ่ 13 6.99 ทำเป็นส่วนน้อย 2 1.08 ไม่ทำเลย 3 1.61 แพทย์ไม่ได้ให้ยา/ให้คำแนะนำ 4 2.15 รวม 186 100.00 การพบแพทย์นอกเหนือจากการนัดหมาย โดยใน 1 ปีที่ผ่านมา ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่มีอาการ เจ็บป่วยหรือไม่สบายจนต้องพบแพทย์นอกเหนือจากการนัดหมาย จำนวน 406คน คิดเป็น ร้อยละ 81.2 และมีอาการ เจ็บป่วยต้องพบแพทย์ จำนวน 94คน คิดเป็นร้อยละ 18.8 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 53 ตารางที่ 53 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการพบแพทย์นอกเหนือจากการนัดหมาย การพบแพทย์นอกเหนือจากการนัดหมาย จำนวน ร้อยละ ไม่มี 406 81.2 มี 94 18.8 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 32 อาการ/โรคที่ไปพบแพทย์นอกเหนือจากการนัดหมาย อาการ/โรคที่ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ที่ต้องไปพบแพทย์นอกเหนือจากวันนัด ได้แก่ ไข้หวัดใหญ่ จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 6.88 ,ปวดเมื่อยตามตัว จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 1.38, โควิด-19 และภูมิแพ้อย่างละ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 1.88, ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน อย่างละ 5 คน คิดเป็นร้อยละ 0.98,ปวดขา จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.79, ไข้ น้ำในหูไม่เท่ากัน ปวดท้อง ไมเกรน ลำไส้อักเสบ อย่างละ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.39 และ อื่นๆ อย่างละ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0,02 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 54 ตารางที่ 54 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอาการ/โรค อาการ/โรค จำนวน ร้อยละ ไข้หวัด 35 6.88 ปวดเมื่อยตามร่างกาย 7 1.38 โควิท-19 6 1.18 ภูมิแพ้ 6 1.18 ความดันโลหิตสูง 5 0.98 เบาหวาน 5 0.98 ปวดขา 4 0.79 ไข้ 2 0.39 น้ำในหูไม่เท่ากัน 2 0.39 ปวดท้อง 2 0.39 ปวดหลัง 2 0.39 ไมเกรน 2 0.39 ลำไส้อักเสบ 2 0.39 กรดไหลย้อน 1 0.20 ท้องเสีย 1 0.20 กระเพาะปัสสาวะอักเสบ 1 0.20 เกร็ดเลือดสูง 1 0.20 เบาหวาน 1 0.20 แขนขาอ่อนแรง 1 0.20 ไขมัน 1 0.20 ตา 1 0.20 ไต 1 0.20


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 33 อาการ/โรค จำนวน ร้อยละ ถุงน้ำในรังไข่ 1 0.20 ตรวจมะเร็งปากมดลูก 1 0.20 ปวดข้อ 1 0.20 เป็นนิ่ว 1 0.20 ผ่าตัดพังพืดที่แขน ที่ช่องคลอด 1 0.20 ผ่าตัดรังไข่ 1 0.20 ผ่าฝีข้างต่อมทอมซิล 1 0.20 มีน้ำมูก มีน้ำมูก 1 0.20 เวียนหัว 1 0.20 เหนื่อย อ่อนเพลีย 1 0.20 เอ็นร้อยหวาย 1 0.20 ไส้เลื่อน 1 0.20 ผึ้งต่อย 1 0.20 หมากัด 1 0.20 ไม่มี 406 79.76 รวม 509 100.0 อุบัติเหตุ โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่มีอุบัติเหตุจำนวน 454 คน คิดเป็น ร้อยละ 90.8, รองลงมา คือ อุบัติ จราจร จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 3.2 และอุบัติเหตุทั่วไป จำนวน 30 คน คิดเป็น ร้อยละ 6.0 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 55 ตารางที่ 55 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติเหตุ จำนวน ร้อยละ ไม่มี 454 90.8 อุบัติจราจร 16 3.2 อุบัติเหตุทั่วไป 30 6.0 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 34 โรคติดต่อ โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่มีโรคติดต่อ จำนวน 418 คน คิดเป็น ร้อยละ 83.6, รองลงมา คือโควิด จำนวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 12.4,ไข้หวัดใหญ่จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 2.6,อื่นๆ : ไข้หวัด ไอ น้ำมูกจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.0 ,วัณโรค จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.4 และไข้เลือดออก จำนวน 0 คน คิด เป็น ร้อยละ 0 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 56 ตารางที่ 56 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามโรคติดต่อ โรคติดต่อ จำนวน ร้อยละ ไม่มี 418 83.6 โควิด 62 12.4 ไข้หวัดใหญ่ 13 2.6 วัณโรค 2 0.4 ไข้เลือดออก 0 0 อื่นๆ : ไข้หวัด ไอ น้ำมูก 5 1.0 รวม 500 100.0 โรคจากการทำงาน โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่มีโรคจากการทำงาน จำนวน 416 คน คิดเป็น ร้อยละ 83.2, รองลงมา ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) เช่น นิ้วล็อค ปวดหลัง บ่าไหล่ จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 15.6 โรคจากฝุ่น เช่น โรคปอดฝุ่นหินทราย (silicosis) จำนวน 4 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.8 โรคประสาทหูเสื่อมจาก การทำงาน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.2 และสิ่งคุกคามทางเคมี ธาตุ โลหะต่างๆ เช่น ปรอท ตะกั่ว จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.2 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 57 ตารางที่ 57 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามโรคจากการทำงาน โรคจากการทำงาน จำนวน ร้อยละ ไม่มี 416 83.2 ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) 78 15.6 โรคปอดฝุ่นหินทราย (silicosis) 4 0.8 โรคประสาทหูเสื่อมจากการทำงาน 1 0.2 สิ่งคุกคามทางเคมี ธาตุ โลหะต่างๆ 1 0.2 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 35 การรับยา/รับการรักษา โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่รักษาที่โรงพยาบาล จำนวน 187 คน คิดเป็นร้อยละ 37.4 รองลงมารักษาที่ รพ. สต. จำนวน 149 คน คิดเป็นร้อยละ 29.8,ซื้อยาจากร้านขายยา จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 17.0,รักษาที่คลินิก จำนวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 12.2,ซื้อยาจากร้านชำ/ร้านสะดวกซื้อ จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 1.8, กินยาสมุนไพรที่ มีอยู่/หรือปลูกเอง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 1.4 และออกกำลังกายเองที่บ้าน จำนวน 1 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.2 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 58 ตารางที่ 58 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามโรคจากการรักษา การรักษา จำนวน ร้อยละ รักษาที่โรงพยาบาล 187 37.4 รักษาที่ รพ.สต. 149 29.8 ซื้อยาจากร้านขายยา 85 17.0 รักษาที่คลินิก 62 12.2 ซื้อยาจากร้านชำ/ร้านสะดวกซื้อ 9 1.8 กินยาสมุนไพรที่มีอยู่/หรือปลูกเอง 7 1.4 ออกกำลังกายเองที่บ้าน 1 0.2 รวม 500 100.0 ภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้ตอบแบบสำรวจไม่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 220 คน คิดเป็น ร้อยละ 28.13 โดยมีภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สูงสุดได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง จำนวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 16.62 รองลงมา คือ ไขมันในเลือดสูง จำนวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 13.55,.พ่อแม่/ปู่ย่า/ตายาย ป่วย/ตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน 72 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.21,รูปร่าง ท้วมหรืออ้วน จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 8.82 ,กินอาหารรสหวาน/มัน/เค็มจัด จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 8.06, ไม่ออก/แทบไม่ออกกำลังกาย จำนวน 52คน คิดเป็นร้อยละ 6.65,มีภาวะอ้วนลงพุง จำนวน 39คน คิดเป็นร้อยละ 4.99, อารมณ์แปรปรวนง่าย จำนวน 26คน คิดเป็นร้อยละ 3.32 ,โรคลิ้นหัวใจรั่วและมะเร็ง อย่างละ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.23 และเบาหวาน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.13 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 59


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 36 ตารางที่ 59 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน ร้อยละ 1. ภาวะความดันโลหิตสูง 130 16.62 2. ไขมันในเลือดสูง 106 13.55 3. พ่อแม่/ปู่ย่า/ตายาย ป่วย/ตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 72 9.21 4. รูปร่างท้วมหรืออ้วน 69 8.82 5.กินอาหารรสหวาน/มัน/เค็มจัด 63 8.06 6. ไม่ออก/แทบไม่ออกกำลังกาย 52 6.65 7. มีภาวะอ้วนลงพุง 39 4.99 8. อารมณ์แปรปรวนง่าย 26 3.32 9.โรคลิ้นหัวใจรั่ว 2 0.23 10.มะเร็ง 2 0.23 11.เบาหวาน 1 0.13 12. ไม่มีภาวะเสี่ยง 220 28.13 รวม 782 100.00 อุบัติเหตุทางการจราจร ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่เคยประสบอุบัติเหตุทางการจราจร จำนวน 466 คน คิด เป็น ร้อยละ 93.2, รองลงมาเคยประสบอุบัติเหตุทางการจราจร บาดเจ็บเล็กน้อย จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อย ละ 5.8 เคย และประสบอุบัติเหตุทางการจราจร บาดเจ็บต้องนอนโรงพยาบาล จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.0 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 60 ตารางที่ 60 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอุบัติเหตุทางการจราจร อุบัติเหตุทางการจราจร จำนวน ร้อยละ ไม่เคย 466 93.2 เคย บาดเจ็บเล็กน้อย 29 5.8 เคย บาดเจ็บต้องนอนโรงพยาบาล 5 1.0 รวม 500 100.00


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 37 การขับขี่หรือซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ โดยผู้ตอบแบบสำรวจ ส่วนใหญ่ขับขี่/ซ้อนท้าย สวมหมวกกันน็อคบางครั้ง จำนวน 211คน คิดเป็นร้อยละ 42.2 รองลงมาคือ ขับขี่/ซ้อนท้าย สวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง จำนวน 121 คน คิดเป็นร้อยละ 24.2,ไม่เคยขับขี่/ซ้อน ท้าย จำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 20.6 และขับขี่/ซ้อนท้าย ไม่สวมหมวกกันน็อค จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 13.0 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 61 ตารางที่ 61 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการขับขี่หรือซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ การขับขี่หรือซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ จำนวน ร้อยละ ไม่เคย 103 20.6 ขับขี่/ซ้อนท้าย ไม่สวมหมวกกันน็อค 65 13.0 ขับขี่/ซ้อนท้าย สวมหมวกกันน็อกคบางครั้ง 211 42.2 ขับขี่/ซ้อนท้าย สวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง 121 24.2 รวม 500 100.00 การขับขี่หรือโดยสารรถยนต์ โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ขับขี่/โดยสารคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้ง จำนวน 192 คน คิดเป็นร้อยละ 38.4 รองลงมา คือ ขับขี่/ โดยสาร คาดเข็มขัดนิรภัยบางครั้งจำนวน 141 คน คิดเป็น ร้อยละ 28.2 และไม่เคยขับขี่และ โดยสารรถยนต์ จำนวน 141คน คิดเป็นร้อยละ 28.2 และขับขี่/ โดยสาร ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย จำนวน 26คน คิดเป็น ร้อยละ 5.2 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 62 ตารางที่ 62 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการขับขี่หรือโดยสารรถยนต์ การขับขี่หรือโดยสารรถยนต์ จำนวน ร้อยละ ไม่เคย 141 28.2 ขับขี่/ โดยสาร ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย 26 5.2 ขับขี่/ โดยสาร คาดเข็มขัดนิรภัยบางครั้ง 141 28.2 ขับขี่/ โดยสาร คาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้ง 192 38.4 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 38 การใช้บริการในโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่เคยไปโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ จำนวน 152คน คิดเป็นร้อยละ 30.40 รองลงมา คือ ใช้บริการโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ 1 ครั้ง จำนวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 26.0 และ ใช้บริการโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ 2 ครั้ง จำนวน 128 คน คิดเป็นร้อยละ 25.60 ใช้ บริการโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอมากกว่า 2 ครั้ง จำนวน 90 คน คิดเป็น ร้อยละ 18.00 ตามลำดับ รายละเอียด ตามตารางที่ 63 ตารางที่ 63จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการใช้บริการในโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ การใช้บริการในโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ จำนวน ร้อยละ 1 ครั้ง 130 26.0 2 ครั้ง 128 25.60 มากกว่า 2 ครั้ง 90 18.00 ไม่เคยไป 152 30.40 รวม 500 100.0 ความพึงพอใจต่อโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ จากผู้ตอบแบบสำรวจที่ใช้บริการในโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ ส่วนใหญ่พึงพอใจมาก จำนวน 145คน คิด เป็นร้อยละ 41.67 รองลงมา พึงพอใจปานกลาง 125คน คิดเป็นร้อยละ 35.92, พึงพอใจมากที่สุด จำนวน 62คน คิด เป็นร้อยละ 17.82, พึงพอใจน้อย จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 3.45 และไม่พึงพอใจ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.15 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 64 ตารางที่ 64จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามความพึงพอใจต่อโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ ความพึงพอใจต่อโรงพยาบาล จำนวน ร้อยละ พึงพอใจมากที่สุด 62 17.82 พึงพอใจมาก 145 41.67 พึงพอใจปานกลาง 125 35.92 พึงพอใจน้อย 12 3.45 ไม่พึงพอใจ 4 1.15 รวม 348 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 39 ระยะเวลารอคอยของโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจที่ไปใช้บริการที่โรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอส่วนใหญ่มีระยะเวลารอคอยตั้งแต่ยื่น บัตรถึงเสร็จสิ้น ใช้เวลาระหว่าง 1 -3 ชั่วโมง จำนวน 107 คน คิดเป็นร้อยละ 30.75 รองลงมาใช้เวลามากกว่า 3 -ชั่วโมง จำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 25.29, ใช้เวลา 30 นาที - 1 ชั่วโมง จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 24.43 และใช้เวลา 1–30 นาที จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 19.54 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 65 ตารางที่ 65 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามระยะเวลารอคอยในโรงพยาบาลในเขตพื้นที่ อำเภอ ระยะเวลารอคอยในโรงพยาบาล จำนวน ร้อยละ 1–30 นาที 68 19.54 30 นาที - 1 ชั่วโมง 85 24.43 ระหว่าง 1 -3 ชั่วโมง 107 30.75 มากกว่า 3 -ชั่วโมง 88 25.29 รวม 348 100.0 การใช้บริการ รพ.สต ในเขตพื้นที่อำเภอ ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ไม่เคยไปใช้บริการ รพ.สต. ในเขตพื้นที่อำเภอ จำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 29.60 รองลงมา คือ ใช้บริการมากกว่า 2 ครั้ง จำนวน 136 คน คิดเป็น ร้อยละ 27.20, ใช้บริการ 2 ครั้ง จำนวน 122 คน คิดเป็นร้อยละ 24.40 และใช้บริการ 1 ครั้ง จำนวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 18.80 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 66 ตารางที่ 66 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกการใช้บริการ รพ.สต ในเขตพื้นที่อำเภอตาม การใช้บริการ รพ.สต. ในเขตพื้นที่อำเภอ จำนวน ร้อยละ 1 ครั้ง 94 18.80 2 ครั้ง 122 24.40 มากกว่า 2 ครั้ง 136 27.20 ไม่เคยไป 148 29.60 รวม 500 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 40 ความพึงพอใจต่อ รพ.สต.ในเขตพื้นที่อำเภอ จากผู้ตอบแบบสำรวจที่ใช้บริการใน รพ.สต.ในเขตพื้นที่อำเภอ ส่วนใหญ่พึงพอใจมาก จำนวน 152คน คิดเป็นร้อยละ 43.18 รองลงมา พึงพอใจมากที่สุด จำนวน 123คน คิดเป็นร้อยละ 34.94,พึงพอใจปานกลาง จำนวน 73คน คิดเป็นร้อยละ 20.74, , พึงพอใจน้อย จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.85 และไม่พึงพอใจ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.28 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 67 ตารางที่ 67 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามความพึงพอใจต่อรพ.สต. ในเขตพื้นที่อำเภอ ความพึงพอใจต่อ รพ.สต. จำนวน ร้อยละ พึงพอใจมากที่สุด 123 34.94 พึงพอใจมาก 152 43.18 พึงพอใจปานกลาง 73 20.74 พึงพอใจน้อย 3 0.85 ไม่พึงพอใจ 1 0.28 รวม 352 100.0 ระยะเวลารอคอยของ รพ.สต.ในเขตพื้นที่อำเภอ พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจที่ไปใช้บริการที่ รพ.สต.ในเขตพื้นที่อำเภอส่วนใหญ่มีระยะเวลารอคอยตั้งแต่ยื่นบัตร ถึงเสร็จสิ้น ใช้เวลา 1–30 นาที จำนวน 254 คน คิดเป็นร้อยละ 72.16 รองลงมา ใช้เวลา 30 นาที - 1 ชั่วโมง จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 16.48, ใช้เวลาระหว่าง 1 -3 ชั่วโมง จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 7.39 และใช้เวลา 3 ชั่วโมง จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3.98 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 68 ตารางที่ 68จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามระยะเวลารอคอยในโรงพยาบาลในเขตพื้นที่อำเภอ ระยะเวลารอคอย จำนวน ร้อยละ 1–30 นาที 254 72.16 30 นาที - 1 ชั่วโมง 58 16.48 ระหว่าง 1 -3 ชั่วโมง 26 7.39 มากกว่า 3 ชั่วโมง 14 3.98 รวม 352 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 41 การถ่ายโอน รพ.สต ไปสังกัด อบจ.สุพรรณบุรี โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ทราบว่า รพ.สต ในเขตพื้นที่อำเภอถ่ายโอนไปสังกัด อบจ.สุพรรณบุรีจำนวน 300คน คิดเป็น ร้อยละ 60.0และไม่ทราบ จำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ40.0 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 69 ตารางที่ 69 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการทราบเรื่องการถ่ายโอนรพ.สต.ไป อบจ. การถ่ายโอนรพ.สต.ไป อบจ. จำนวน ร้อยละ ทราบ 300 60.0 ไม่ทราบ 200 40.0 รวม 500 100.0 การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ โดยผู้ตอบแบบสำรวจ อายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 157 คน คิดเป็นร้อยละ 31.40 ส่วนใหญ่ได้รับการคัดกรอง สุขภาพ จำนวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 75.16 และไม่ได้รับการคัดกรอง จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 24.84 รายละเอียดตามตารางที่ 70 ตารางที่ 70 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการคัดกรองสุขภาพ การคัดกรองการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน ร้อยละ 1.เคย 118 75.16 2. ไม่เคย 39 24.84 รวม 157 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 42 การสำรวจภาวะอนามัยเจริญพันธ์ ( เฉพาะหญิงอายุ 15-49 ปี) ผู้ตอบแบบสำรวจอยู่ในภาวะอนามัยเจริญพันธ์ ได้แก่ เพศหญิงอายุ 15-49 ปี จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 22.4 รายละเอียดตามตารางที่ 71 ตารางที่ 71 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามภาวะอนามัยเจริญพันธ์ ภาวะอนามัยเจริญพันธ์ จำนวน (คน) ร้อยละ หญิงอายุ 15-49 ปี 112 22.4 ไม่ใช่ 388 77.6 รวม 500 100.0 อายุที่มีประจำเดือนครั้งแรก อายุที่มีประจำเดือนครั้งแรกต่ำสุดอายุ10 ปี สูงสุด 18 ปี อายุเฉลี่ย 13.66 ปีโดยส่วนใหญ่มีประจำเดือนครั้ง แรกอายุ12 ปี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 24.1 รองลงมาอายุ 15 ปีจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 19.6, อายุ 13 ปี จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 17.9,อายุ 16 ปี จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 13.4 ,อายุ 14 ปี จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 8.0 ,อายุ 11 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3 ,อายุ 18 ปี จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.6, อายุ 10 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 4.5 และอายุ 17 ปี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.7 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 72 ตารางที่ 72 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอายุที่มีประจำเดือนครั้งแรก อายุ (ปี) จำนวน (คน) ร้อยละ 10 5 4.5 11 7 6.3 12 27 24.1 13 20 17.9 14 9 8.0 15 22 19.6 16 15 13.4 17 3 2.7 18 4 3.6 รวม 112 100.0


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 43 การหมดประจำเดือน หญิงวัยเจริญพันธุ์ยังไม่หมด จำนวน 106คน คิดเป็นร้อยละ 94.64และหมดประจำเดือนแล้ว จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 5.36 โดยหมดประจำเดือนอายุ 17 ปี เนื่องจากฝังยาคุม จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67, หมดประจำเดือนอายุ 30 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 , หมดประจำเดือนอายุ 37 ปีเนื่องจากผ่าตัดมดลูก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67,หมดประจำเดือนอายุ 45 ปีจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 , หมดประจำเดือนอายุ 46 ปี เนื่องจากผ่าตัดมดลูก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และหมดประจำเดือนอายุ 47 ปีจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 73 ตารางที่ 73 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอายุที่หมดประจำเดือน ประจำเดือน จำนวน (คน) ร้อยละ 1. ยังไม่หมด 106 94.64 2. หมดแล้ว 6 5.36 2.1 อายุ17 ปีฝังยาคุม 1 16.67 2.2 อายุ30 ปี 1 16.67 2.3 อายุ37 ปีตัดมดลูก 1 16.67 2.4 อายุ45 ปี 1 16.67 2.5 อายุ46 ปีตัดมดลูก 1 16.67 2.6 อายุ47 ปี 1 16.67 การตั้งครรภ์หญิงวัยเจริญพันธ์ ส่วนใหญ่เคยตั้งครรภ์ จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 60.7 และไม่เคย ตั้งครรภ์จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 39.3 รายละเอียดตามตารางที่ 74 ตารางที่ 74 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์ จำนวน (คน) ร้อยละ ไม่เคยตั้งครรภ์ 44 39.3 เคยตั้งครรภ์ 68 60.7 รวม 112 100.0 การตั้งครรภ์ครั้งแรก ต่ำสุดอายุ15 ปี สูงสุด 40 ปี อายุเฉลี่ย 23.47 ปีโดยส่วนใหญ่ตั้งครรภ์ครั้งแรกอายุ 21-25 ปีจำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 38.2 รองลงมาอายุ ปี ≤ 20 ปีจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 35.3 , อายุ 26-30 ปีจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 16.2 ,อายุ 31-35 ปีจำนวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 7.4 และอายุ 36-40 ปีจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.9 ตามลำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 75


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 44 ตารางที่ 75 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามอายุที่ตั้งครรภ์ครั้งแรก ตั้งครรภ์ครั้งแรกอายุ จำนวน (คน) ร้อยละ ≤ 20 ปี 24 35.3 21-25 ปี 26 38.2 26-30 ปี 11 16.2 31-35 ปี 5 7.4 36-40 ปี 2 2.9 รวม 68 100.0 จำนวนการตั้งครรภ์(ครั้ง) หญิงวัยเจริญพันธ์ ส่วนใหญ่ตั้งครรภ์ 2 ครั้ง จำนวน 33 คน รองลงมาตั้งครรภ์ 1 ครั้ง จำนวน 20 คน,ตั้งครรภ์ 3 ครั้ง จำนวน 14 คน และตั้งครรภ์ 4 ครั้ง จำนวน 1 คน ตามลำดับ รายละเอียด ตามตารางที่ 76 ตารางที่ 76 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามจำนวนการตั้งครรภ์ จำนวนการตั้งครรภ์(ครั้ง) จำนวน (คน) รวม (ครั้ง) 1 20 20 2 33 66 3 14 42 4 1 4 รวม 68 132 การแท้งบุตร หญิงวัยเจริญพันธ์ส่วนใหญ่ไม่เคยไม่เคยแท้ง จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 52.7 รองลงมา คือเคยแท้ง จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 8.0 และไม่เคยตั้งครรภ์จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 39.3 โดยหญิงวัยเจริญพันธ์มีประวัติการแท้งบุตรจำนวน 9 คน รวมบุตรที่แท้งจำนวน 11 คน ส่วนใหญ่มีประวัติแท้ง 1 ครั้ง จำนวน 7 คน จำนวนบุตรที่แท้ง 7 คน และมีประวัติแท้งบุตร 2 ครั้ง จำนวน 2 คน จำนวนบุตรที่แท้ง 4 คน ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 77 ตารางที่ 77 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามประวัติแท้งบุตร ประวัติแท้งบุตร จำนวน (คน) ร้อยละ ไม่เคยแท้ง 59 52.7 เคยแท้ง 9 8.0 ไม่เคยตั้งครรภ์ 44 39.3 รวม 112 100


ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพ และความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชน สสจ.สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2566 45 การแท้งบุตร (ครั้ง) จำนวน (คน) รวมบุตรที่แท้ง (คน) 1 ครั้ง 7 7 2 ครั้ง 2 4 รวม 9 11 การคุมกำเนิด หญิงวัยเจริญพันธ์ส่วนใหญ่คุมกำเนิดจำนวน 51คน คิดเป็นร้อยละ 45.5 ไม่เคยคุมกำเนิดจำนวน 30คน คิดเป็นร้อยละ 26.8 และโสดฝไม่มีคู่สมรส จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 27.7 รายละเอียดตามตารางที่ 78 ตารางที่ 78 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามการคุมกำเนิด การคุมกำเนิด จำนวน ร้อยละ เคย 51 45.5 ไม่เคย 30 26.8 โสด/ไม่มีคู่สมรส 31 27.7 รวม 112 100.0 วิธีการคุมกำเนิด หญิงวัยเจริญพันธ์ ส่วนใหญ่การคุมกำเนิด โดยใช้ยาฉีดจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 34.29 รองลงมา ยาเม็ด จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00, ทำหมัน จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 22.86 ,ถุงยางอนามัยจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 7.14 ,ยาฝังจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 4.29 และยาคุมฉุกเฉินจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.43 ตามลำดับรายละเอียดตามตารางที่ 79 ตารางที่ 79 จำนวนและร้อยละผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตามวิธีการคุมกำเนิด วิธีการคุมกำเนิด จำนวน ร้อยละ ยาฉีด 24 34.29 ยาเม็ด 21 30.00 ทำหมัน 16 22.86 ถุงยางอนามัย 5 7.14 ยาฝัง 3 4.29 ยาคุมฉุกเฉิน 1 1.43 รวม 70 100.00


Click to View FlipBook Version