The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำรับรองปฏิบัติราชการ ปี 66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mon, 2023-02-07 00:50:42

คำรับรองปฏิบัติราชการ ปี 66

คำรับรองปฏิบัติราชการ ปี 66

คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีปงบประมาณ พ.ศ.2566 ก คำนำ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีโดยกลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข ไดจัดทํา คํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อใหบุคลากรที่รับผิดชอบตัวชี้วัดใชเปนคูมือ ในการดําเนินงานและการประเมินประสิทธิภาพหนวยงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจํา ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ซึ่งเนื้อหาของคูมือประกอบดวย ความเปนมาและความสำคัญ วัตถุประสงค กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ สรุปคำรับรองการปฏิบัติราชการ รายละเอียดตัวชี้วัด และแบบ ฟอรมการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหนวยงาน กลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือฉบับนี้จะชวยใหเจาหนาที่ ผูรับผิดชอบตัวชี้วัดและบุคลากรที่เกี่ยวของทุกทานเขาใจรายละเอียดตัวชี้วัด และสามารถใชเปนแนวทางใน การดำเนินงาน อันสงผลใหคํารับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ตอไป งานนิเทศและประเมินผล กลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มกราคม 2566


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 ข สารบัญ หนา คำนำ ก สารบัญ ข สวนที่ 1 คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี 1 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สวนที่ 2 บทนำ 8 - ความเปนมาและความสำคัญ 8 - วัตถุประสงค 12 - กรอบการประเมิน 12 สวนที่ 3 สรุปคำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี 17 - นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีกับ รองนายแพทยสาธารณสุข และหัวหนากลุมงานในสำนักงานสาธารณสุข 19 - นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีกับ ผูอำนวยการโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน 22 - นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีกับ สาธารณสุขอำเภอ 27 สวนที่ 4 รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ภาคผนวก คณะทำงาน 29


ririu :a { nr :rJfr ffi :rs n 1: 9a r a,0 rlu :r4'r : n :uvr :? { 6t 1 0 1 : 6u6t u rJ : v qirfl t u il : s u r ru n. FI.bdbb q, I :vra'ir.t dvvdvdvv.l ulutty'lug6l16'l:6ud1o.114?oafltt6uul nu :0{u1utt?'{Ylu6116"l:6udtJo{14?9av{:lfuul '-- --a - - i I c I I vytoovvgd ua s ratraul -9qlqfl a il {']u Lu 6 1 u n { 1u d 1 0 1 I 6u 6l u o { 14 ? o d 1'l :t6uu : OU o.FI151J50{1U14?'ld qdollvvd o. uruiSua t'lva:fuq5 01[14u{ uluuY{vlu61D.l:6uqta{u?nqfl::fuq: frrirririu:a.r t Io. urufinfinlri oqj4:::ru siruuilr uruunvdrdurtrry(6'rutrtn::uflolriu) UI Gn. uluorufi nfiinrj si'rL[uilr ururrvrmdrdurtrry(drutrtn::tflotrYu) d. urrarrrfir:rioa ntryrr.ior siruyilr rinimnr:aror:ruqtrdarmry (drueimBufi'ruur) - eluri3vd si'rttuilr u-nitrnr:aror:rrqttdurtrrg(druuinr:vxitrnr:) -- {-e u l b. ururafiuna nrasnrd sfrLryilr rinirn:rvriuTuu''ruuauLL,.rudrurrynr:fitnu 6'r. urloiur ayfiatnn siruuilr fi:rarirna'rruvr'eruruilonraniaror:ruAci ttl d. urlaTarBlu fi3am:airrr sr'ruyilr fr':yrirndlmurYerurarunruuastilttlulinr: UIlU a<oruVtv c(. ul{fir{o: qruil n1[114u{ 14?vu1nqil{'luvuna101:fuqt Y ^ d o t u Y t - Jl, oo. ururfgg{u tLn?t05fu6ivl0{ nlltvu{ 14?vu1nq}J{1u1J:14'l:vl?[lJ o,o,. ur{a1?afifi1 olnrm#t si'tuvilt ri":rarirndllrur.i:vrYuAclnril -9 ll d a -a e-"--!- -'----"rneilrudln:o.rfrr3lnnuravm#taror:ruat olo. u1{qUL:OU tQ:rUA?Ao mluuu{ 14214u' i r u i u 6 u dd o I v v t v a v d u o6n. uluqiguu quaylfiuu fl1Lt14u{ 14?14u1nqxr{1u0u'DJUa{L[?oaoil[au01t?0u13JU od. utarrufia riru:u siruvill rirr,trirndunfluillu o -d d o t u od. UlULflnfinfl 01!01:91 nl$UU{ 14?14U' "tndutun:un:r1:nfinsio i , ob. uldfl:a;'t-a vrorfi3r,{rr{ sr'ruvrir firrarirn{umunrrqul:ntrifiosio qtnrnin uasurtafl6el oe'rl. uxrfuSuvri lnivwr{ sr"ruryil.: ri'rrarirn{lmunrul,Mrittriulfluffiun'E![ylvttivnt6on od. urrl:vuou nrrgourfitd sfruuill rirrariTnd:rlrudlta3t4tnru tl -j4otuYtaq oc(. U1{UUyl1 Ul.l0Udn 01U14U{ 14?}ru1nqil{1U1J:14TvEv{U1n:qnnA 9UOV 4:UA1:u:a{l ta, r, d d rv qvo - u io. driuodr[Judriu:olr.lru6u: fitti#ryrytnst{ritaYu:vuut?41 o fl d'rursiiufi o {arnil tedbd ,o fiuuruu tedbb d o v \ Y I qq - d 6n. :ruaurduoro{ri1i1r:0.: louri frfinr:rJ:vrfiurua#uqvrB fr'rfiirrruanr:rJfrtfi:rtnr: drufin u . qy < J io a r v o v 3 rulrurnu rnruyinrrlfinuLLuuL[au:luaurduaAu 1 nrufiriruuqlutonar:rJ:vnaufrrurir5l:o$ fl{ /a.rirvr16'r.


a. cjrv{16'r uruigvra urvra:ruq6 siruvril uraunvtiartr:ruqto-lraiorqu::ruq:' "Lugruv v v u a - "- :^ur: 16'fior:rurruavufiutorfi'u do en u#: uavrirvru6'r0un''1fr'nr:ariuarlu ryu{n!!futl$autlu:14'l: [9lYI1'l)tul[bclubvlu-uuurru uu brr bbbrd bbbruu [rou ruETro . w1:vtrru n".rrruvdr nr:rirrYlfiprrrl! rr:?oaolzuanr:rJfll-6:1{n1:n1iltnruc{ nr:il:vrfiuara#lqvrB r,fi orJ:vlutdqlqnrrrirl:vtrtuuas tntor.iruuinr:qtnrvr a. dinrd'r uruuyryrtirr'r.,:t',rp (riruurtn::lflo.rriu) u-nittnt:41[1:6uq1rt'u?t'rru (d'ruairra:-urfi'syur) rinirrnr:aror:ruqru6u?r'rrU (druuinr:uxitrnr:) urutaf;uua nrasl"lld riniun:rsduluuru16asur.rurirurrgnr:riunu uavra-:v#rnqurrulueiru-nlruarsr:ruqto-lrairt d '[t v o rrdr'lonuririu:olnudo * tolfr'ririr:olriu uruiJvra trua:ruq6 sl'r[uill qfl5:tul-l: [9ty1n?1iltt'l[Q911]Jn1:U'rir{el'lJJ"ou. 6n "tJutvrr rr u rL . - 4 uruunuriaror:ruqtd'rraiorqn::rur1t 'jrovrjrrlurJfrrim:rtnr:1#ufior.ra#uqrdda nrutflruurutol d'.ld'.:-ou,riasn'rtu:yoilaranrfiolrfrrfioil:vTuujuasrflulilnrutflrurrutola'ru:rtnr:uacuilrulru *r y o u ulY n1!vlLvnl:!:0{ L? u. {ilrir;u:or ruav{l4rr{riu:oltriurirlorirYl:olnr:rJfrffi:rtnr:uacrfiufrosriur,rfrrdilfral a A uv d, o v alu!010 [?t!ua1nru (uruigvra rrvra:ruq6) sr'r uuilr ur a ur v tia r or : ru qt 6'l uirr q vl :: rurlt frdrr{riu:or ;ufi F! iln, h$b (urufi mfi vwri oqlqr::ru) sir uu,trjr ur u urvrvr ritd u?t'tru (dru trt n::1fl o': rTu) (uruotufi nfiin{) si'r ru,trir ur u un vr d tfi u?t 1 rU (dru r,:t n::1fl o I rTu) 'luvr riiuririu: u 5 u.n. v :un1:u:o{ 0{ ?uvl il 6E iln,. Mbh . \f{ (urram tfi t:rio u rrirynr.io,l) air urarjr rinitr nr:aror:ruqt t6ortrry (drurilrilri'suur) Yv o u 9.r:!n1:u:0{ i,d !P:5 iln, h$! (uruuafiuua nravnlri) sl'r rturj.: rini rn : r v riu1u u't u tta u tur',I urirur ry n r :fi unu frirririu:ar b"5 t.n. bffib- (uruulcg quri3udl j siruuul unitrnr:a151:ilqtttu?t1ru (6'ruli nr :v rlicJr nr: ) friuririr:or ;rfi F5 il.,0, .hftb. (uxoiar avfurno) vYtvi sir ttvilr v'rvur n duruvl etur u il ofl 1 a n :a 1 01 :ruqfl $'#^i,:,: :0{ ?uvl . hdhh ?uvl ..


(urramarBlu friauq:nilrt) v Y n1 LL14U{ 14?14U1nqil{',rUY'r9}rUlqrunlil ttaU3tJututr:inr: frir hib dfu/ (urrnfio: r5gfi) ofuYtu n1 Lr14U.i 14??1U1nAil{lufl UnA1o1:ilAt ,- 'o - I &{5pi'l:1r:o{ ;rri PP il,.0' bffib d- Gt (uxar:qfim ornrmd't) vy sir uurir rirvrir na'umuil:cfiuatnrfl fiiun'rir:or B b il.n. bdbb 0 u n1:u:0d fl bdbb ?uyl il, s{ (uruning'tla ufriroirgf,ror) rir uu,rrir rirrarir n{r muuivr :mt'rhi ya o u J,I:UN1:U:O{ i,fi p--b- ll,n, -b(.bb AJ: turrejLriou d u 46\ (uluq?euu 0uail6uu) orvvtvAv n1 u14U{ 14?14U1 nqil{',lU0U','l1l UA{ tt?Oa0]J "1 friur{r tl"5 U ?uvr - -J. o:rud?ao) orvYt9gal n1u14u.i vlruurnqrrluqiln:0{ryu: mn"l riirririu:or ;ro bl[ il,n, b$b. -/ ?uvr :u:a{ ,n. (urrar':un-a n'ruru) or'r urvilr ri'rurirn{l nfl vil'ru riiuririu:or b"b I.n. hdbb (urut orqorim) o I a Y'runrunuT:nfinrio Fl1Ltvu.i 14?v1u1nqil{ i riSurirYu:o u b- il,n. { ?uvr ?uvr (urrvr:afia vrorfiSrwr{) o r u Y r S X la I nruuur fi?14u1nail{1un?unil L:n lilnon0"l ll \ (uru,l'tiuvri u nint ri) c.ir uvilt ri'r rarir n a'rx r u n r : utr u riuzu utv u r t oiYuririu:or irfi ..b" !. ..ll,n,.. .hftb....... 01- ?uvl nt:u il.fl. zu:lJ bb :o{ bffib .r"Jry (urrtJ:vuor nrryourritti) oruY rl1 Lt14U{ 14?14U1 nA}J{1UA{ [A:ilatfl 1vr il (uxfiuur filoutri) vyu m ttm] { u?ln Jlna }.1{'ru1j:14'r5?Hvruln:u nna 9l ririu:or il.n, bdbb ?uvr fiiuriTiu:or u b r.n. bdbb 'tuvt riil E'b


ririu :a.: nr :rJfr ti6 :rt n 1: tu o r rluBu r t n r u vr :'t .t d 1 o 1 t ru a t rJ : s drtJ t u rJ : s u I ru v{ . Fl. b db b -- -ii- - q IUfi?1{ d v v 4 u yo l. ur a unuti61E1:fuat o{14? oAv{:l6u1ll nu il01u? u fl 1: [:{v{ u1u1a r.ririu:ol:vv'irl o. uruigna nma:ru46 or'rurarir uruunvrjaror:ruqu6'lraioqvr::ruli " , o o d willn'l:uro{r te. uradyBna oialoxr: si'rttuilr {o'ruranr:T:lvlulurat6'ril:vulutJ:1t Gn. uruisuild'u o?ru?::ouu s{rttuill ry'o'ru:unr:1:{v'tulutaalt6or.:v#ts:rtolvifi oe'l d. urlaufrs sirlrrtu sr"rLryxil {tirurunr:I:uarlraqirol d. urlar':fit:rn:ni iiur:tqa sl"ruyill {tiruranr:1:{v{u1u1aA1ilqn b. uluLotl vtldqn::ru er'rtufiilt 4'druranr:1:luurlraoirudrl o '| 'dru':unr:T:tnarurat6ilu1{u't{u?t 6'r. U1UAilt1U InlUn fl1LL14U{ 4 d. urufirflvru fiarroiry siruuill {dru:unr:T:{v'tulurarlirl:v6'ud c(. uruouitd Yndr::ruxr{ siruyilr {tirurunr:T:{YtuluraurlrJarfir d oo. uluran rirrJ:vraig sr'rLryilr {druranr:T:{Ytu'rulanouuodti oo. uru6or: oxiunr sr'r[yilr {eiruranr:1:.iflululavuolrarf,rtt 9vcv 45Un1:U:O{ rr. ririr.noldrfluririu:oslruro'ar fitri#rgryruavtdaitaiu:savnar , fl steltrriiufi o Qa'lFltr ledDd fir *o riuurau tedbb 4 o u t v t a' { - 3- 13-9,i- -'"- ---.1- 6n. :luaurdunroln"ril:ol ldruri frfinr:rJ:vrfiurlad'uqmB fi'rfiioraranr:rJfrflfr:rtnr: rirv{n il q qv a J io q ------r- -- -.^y^^.^o. - t rulrutru rn6uflnt: h4nu[LuuLLav:ruavrorJedu 1 rrrufiriT r,turrlutonar:rJ:snoufr'ruririu:olil v Y u do I ' a - <. drn16r uruigua t?ila:ruqd n1[14ud u'ru$Ytvual5'l:6uqfl0{v?9141'{:: ifllui'lutruY . 4 vv u v v a I 9a 4 V I v v I a dq ' {flnnurutr ua yil usyr: Lnyr 0 r:ful ua u luutou fIU t 0 en Llff ? ttaul 1Y,l [0 1 u ua tY n1:AuuAUu 'r)-.''---d-'--'-'t--'' I lurJ:cilrru riruuvrir nr:rirn-uonn1il n:?laour.ranr:rJfrrifi:ltn'l:n1iltnruryi nr:rJ:vrfiuzua#uqud Js6r,dl rvr ail : v I u tua { a n LLn! : v t 1 t u Lla s tn : 0 t'l u u : n 1 5 at n 1 v{ -ull a. rirvrr{r ridrurunr:I:{yru1u1a kilirnrruudrlosrun"riu:owrudo m tolfr'ririu:olfii U, v I o | 6 u u 4 I I u 13 ue o I a uruiry{a -' r?ya:ilad airuuur u'rurLTrygalor:ruatdrviqan::ruu5 ?14uil{ilu!flurt:1tn1: Lvtnnr,la --dI - --''-i- ----a- - t t I d Alqm6fi6 nurflryuru$orsr-:diorriav6'rtu:v6'uqrqnrfiiot#rfionJ:vlutriuavtflulilnutflrvrrutol riru:rrnr: uauuil? u{lunruffLririr;u:0il{ /u. rfirririu:or ..


vv o u vo o u ,vvq o u laoE c y u v 4uv b. ,{:un1:uro{ rau{tilririu:ollducl1[oririu:olnr:ilflU6:rtnr:uavtuuflo{nuLta']Q{ Loa{ -'ri-- I a A uv c, o u a'rur.l010 [?[!ualnru (uruigvra r:vra:ruq6) sir tuudr u.r u ttt,l vl tia 1 5 T : ruqt 6'{ uio qn : : ruu$ ?uvl fr'll'rririu:or l& b il.n. bdbb CT S-/ (uraduBna oialoNr:) yo s Y siruvilt {drurunr: L:ltryurlra te1il:eu1uu:'lt (uruieu{t'u o;rgr::ouv) uo a d 9a sir uvilt {dru: o nr : L:lvl u ruraail Lrloil: ua{fl :11 olr{fi oe'l oiYu Ub n1:u il.n. bftb L*- (urramr{t:rn:ni i3urrtqa) sr'r uvilr {tirur u nr:T:{ilu1u'tad.liltn o,iYrrirYu ;,a H l ll,fl, rirYu:or il.n. bdbb :0{ ?uvl ,.r:1J ti'b ?uvr t (urlarfin 'itjrrtu) vo sir uvu.i r.rorur u nr: L:dYIU1lJ''la 0m0{ " -- '-- V U (uratntr uniqvr::ru) s.ir urailr {tiru': a nr:1:lnu rlrariru{x :0{ (uruailtru tnrv4) si'r uvilr {o'rur u nr:T:ln a rr: ra tGil!'l {u1{1-l?fl ?uvr fiir b"b ririr:or r n hdbb tr b" :un1:u:0{ ?uvr riYu Ub ririu:or et 0 hfhh ?uvl b Ia hdhh d* (urunirJtvru "tfi arroirg) sl"r uvilr {o'rur a n r :1:{v! u 1lJ 1a fltrJ: vo'usi 'tuvl .. riil 65 hdhh I J- J ) dv utan u1u:uLa:g) uo s dd n1 LLvU{ 20',]u'lunl: L:w\u'lu1aq0ut00u U (uraouitd inrir::ruxr{) sr"r uvil.l r,idrur u n r :1: { fl u 1lJ I a u r I r.J a rrir 'r-oq ,{:!n1:u:0{ ;m E !-. il,n" b(bh q* (uru6nr: o':l6uon) n'r rrr,trir {tirur u nr:1:{T u 1u 1auualrarfrtt ?uvr rirYu:or il.fl. b(bb n1:u:0.i n1:u:o{ ?uvr L.0, h(bb fr'Yu 'u* b frYu Eb


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 8 บทนำ 1. ความเปนมาและความสำคัญ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 บัญญัติไววา “การบริหารราชการตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐความมี ประสิทธิภาพ ความคุมคาในเชิงภารกิจแหงรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหนวยงาน ที่ไมจำเปน การกระจายภารกิจและทรัพยากรใหแกทองถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความตองการของประชาชน มีผูรับผิดชอบตอผลของงาน การปรับปรุงคุณภาพ การใหบริการ จึงเปนแนวทางหนึ่งที่จำเปนอยางยิ่ง เพื่อใหการบริหารราชการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและสามารถ ตอบสนองความตองการของประชาชนในการปฏิบัติหนาที่ของสวนราชการตองใชวิธีการบริหารกิจการบานเมือง ที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งใหคำนึงถึงความรับผิดชอบของผูปฏิบัติราชการการมีสวนรวมของประชาชน การเปดเผย ขอมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแตละภารกิจ” มติคณะรัฐมนตรี 6 พฤศจิกายน 2561 เห็นชอบเรื่องการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามที่สำนักงาน ก.พ.ร.เสนอ โดยมีกรอบ การประเมินสวนราชการและจังหวัด 5 องคประกอบ แบงเกณฑการประเมินเปน 3 ระดับ ไดแก ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน และระดับตองปรับปรุง โดยพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมทุกองคประกอบ กำหนดให มีการประเมินสวนราชการและจังหวัด ปละ 1 ครั้ง (รอบการประเมินตั้งแต วันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 30 กันยายน ของทุกป) โดยในรอบ 6 เดือนกำหนดใหสวนราชการตองรายงานผลการดำเนินงาน (ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 31 มีนาคม) เพื่อเปนการติดตาม (monitor) ความกาวหนาในการดำเนินงานรอบระยะเวลา ดังกลาว สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)กำหนดใหสวนราชการมีการถายทอดตัวชี้วัด และเปาหมายระดับองคการ ลงสูระดับหนวยงาน เพื่อรองรับการบริหารจัดการภายในสวนราชการเองและ ระดับบุคคล โดยมีกระบวนการในการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายจากระดับองคการ สูระดับหนวยงานและ ระดับบุคคล ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการติดตามความกาวหนาของการปฏิบัติราชการและการ ประเมินผลการดำเนินงานอยางเปนระบบ สอดคลองกับมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ การถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายระดับองคการลงสูระดับหนวยงานและบุคคลครอบคลุมถึง 1. การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร (Strategy Map) ระดับองคการและการแสดงใหเห็นถึงระบบ ในการถายทอดตัวชี้วัด และเปาหมายจากระดับองคการสูระดับหนวยงานและระดับบุคคล เพื่อผลักดันใหเกิด ความสำเร็จตามยุทธศาสตรและเปาประสงคที่ตั้งไว


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 9 2. มีการสื่อสาร ทำความเขาใจอยางทั่วถึงและภายในระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อใหบุคลากรในองค การทราบถึงวิธีการ/กระบวนการในการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายจากระดับองคการสูระดับหนวยงานและ บุคคล เพื่อใหบุคลากรมีความรูความเขาใจและมีสวนรวมในการดำเนินการตามระบบการถายทอดตัวชี้วัด และ เปาหมายของสวนราชการไดอยางถูกตอง 3. มีการผูกมัด (Commitment) ตอความสำเร็จตามเปาหมายขององคการและมีความรับผิดชอบ ตออผลงานที่ไดรับการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายมาอยูในความรับผิดชอบโดยตรง 4. มีการจัดทำขอตกลงที่เปนลายลักษณอักษรในทุกระดับ โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด และ เปาหมาย รวมถึงเกณฑการประเมินผลความสำเร็จที่สามารถวัดผลไดอยางเปนรูปธรรม 5. มีระบบในการติดตามความกาวหนาในการปฏิบัติราชการและการประเมินผลสำเร็จตามตัวชี้วัด และเปาหมายที่ถายทอดลงไปในแตละระดับ เพื่อติดตาม กํากับใหมีการดำเนินการใหบรรลุเปาหมายโดยรวม ขององคการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีไดจัดแผนยุทธศาสตรการพัฒนาสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ระยะ 5 ป (พ.ศ.2566-2570) โดยมีเปาประสงค (1) ประชาชนไดรับการดูแลสุขภาพอยางมีคุณภาพ และ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได(2) ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ลดแออัด ลดเวลารอคอย ลดการปวยและ ลดการตาย (3) หนวยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบบริหารจัดการ และ (4) ระบบบริการสุขภาพที่เปนเลิศ บุคลากรในระบบสาธารณสุขมีความสุขในการทำงาน ประเด็นยุทธศาสตรการพัฒนาสุขภาพ :ซึ่งประกอบดวย ประเด็นยุทธศาสตรการพัฒนาสุขภาพ 4 ประเด็น ไดแก (1) การอภิบาลระบบสุขภาพระดับพื้นที่อยางไร รอยตอหลังถายโอนภารกิจ สอน./รพ.สต.ไป อบจ. (2) พัฒนาระบบบริหารและบริการสุขภาพที่กาวหนา ทันสมัย (3) พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผูสูงอายุแบบครบวงจรและยั่งยืน (4) พัฒนาบุคลากรในระบบสุขภาพ ใหมีสมรรถนะสูง และมีความสุขในการทำงาน ปงบประมาณ 2566 นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีไดกำหนดประเด็นมุงเนน ดังนี้ 1.พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิแบบไรรอยตอหลังการถายโอนภารกิจ สอน.และ รพ.สต. ไป อบจ. 2 ยกระดับและปรับโฉมระบบบริการสุขภาพกาวหนาดวยเทคโนโลยีลดแออัด ลดรอคอย และอัตรา การตายดวยโรคสำคัญ รวมถึงการใหบริการระบบ telemedicine เพื่อเปนโรงพยาบาลของประชาชนคนสุพรรณ 3. การบูรณาการระบบการดูแลสุขภาพผูสูงอายุแบบครบวงจรอยางยั่งยืน 4. เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารที่เขาถึงและทันสมัย เพื่อยกระดับการสรางความรอบรูดานสุขภาพ ของประชาชน 5.พัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก สมุนไพร ภูมิปญญาทองถิ่น กัญชาทาง การแพทย และสงเสริมการทองเที่ยวเชิงสุขภาพพื้นที่อำเภออูทอง


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 10 6. พัฒนาและยกระดับหนวยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ใหมีสมรรถนะสูง ดวยแนวทาง 4T (Trust, Teamwork & Talent, Technology และ Targets) เพื่อใหการขับเคลื่อนนโยบายนมุงเนน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 มีประสิทธิภาพและบรรลุผลสัมฤทธิ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ไดนำตัวชี้วัดในการ ควบคุม กำกับ ติดตาม และประเมินผลนโยบายมุงเนนทั้ง 6 ประเด็นมาเปนตัวชี้วัดคำรับรองปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 รายละเอียด ดังนี้ นโยบายมุงเนน ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ตัวชี้วัด เปาหมาย งบประมาณ พ.ศ.2566 กลุมงานที่ รับผิดชอบ ประเมิน หมายเหตุ สสจ. รพ. สสอ. 1. พัฒนาและอภิบาล ระบบสุขภาพปฐมภูมิ แบบไรรอยตอหลังการ ถายโอนภารกิจ สอน.และรพ.สต. ไปยัง อบจ. 1.รพ.สต.ประเมินตนเองตาม เกณฑคุณภาพมาตรฐานบริการ สุขภาพปฐมภูมิ รอยละ 100 พัฒนาคุณภาพฯ 2 รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตาม ขอตกลงผานเกณฑ รอยละ 80 พัฒนา ยุทธศาสตรฯ 2. ยกระดับและปรับ โฉมระบบบริการ สุขภาพกาวหนาดวย เทคโนโลยีลดแออัด ลดรอคอย และอัตรา ตายดวยโรคสำคัญ รวมถึงการใหบริการ ระบบ telemedicine เพื่อเปนโรงพยาบาล ของประชาชนคน สุพรรณ 3. รอยละสถานบริการมีการ พัฒนาตามนโยบาย EMS ในแต ละกลุมผานเกณฑการประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน The must) ทุกแหง รอยละ 100 อนามัย สิ่งแวดลอมฯ 4. รพ. มีบริการการแพทย ทางไกลตามเกณฑที่กำหนด รอยละ 100 พัฒนา ยุทธศาสตรฯ 5. รพ.มีการใชงานระบบ IPD paperless รอยละ 60 พัฒนา ยุทธศาสตรฯ 3. การบูรณาการ ระบบการดูแลสุขภาพ ผูสูงอายุแบบครบ วงจรอยางยั่งยืน 6. รอยละของประชาชนสูงอายุ มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค ≤ รอยละ 52 สงเสริมฯ 7. รอยละผูสูงอายุและผีมีภาวะ พึ่งพิงที่ไดรับการดูแลตาม CP มี ADL ดีขึ้น ≤ รอยละ 22 สงเสริมฯ 8. รอยละของโรงพยาบาลทุก ระดับมีการจัดตั้งมีคลินิก ผูสูงอายุ รอยละ 100 สงเสริมฯ


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 11 นโยบายมุงเนน ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ตัวชี้วัด เปาหมาย งบประมาณ พ.ศ.2566 กลุมงานที่ รับผิดชอบ ประเมิน หมายเหตุ สสจ. รพ. สสอ. 4. เพิ่มประสิทธิภาพ การสื่อสารที่เขาถึง และทันสมัยเพื่อ ยกระดับการสราง ความรอบรูดาน สุขภาพของประชาชน 9. รอยละของประชาชนที่เขาถึง ชองทางสื่อสาธารณะที่เชื่อถือได นำสูประชาชนมีความรอบรูดาน สุขภาพ NCD 10.รอยละของชุมชนมีการ ดำเนินการจัดการสุขภาพที่ เหมาะสมกับประชาชน รอยละ 75 พัฒนาคุณภาพฯ 5. พัฒนาการแพทย แผนไทยและ การแพทยทางเลือก สมุนไพรภูมิปญญา ทองถิ่น กัญชาทาง การแพทย และ สงเสริมการ ทองเที่ยวเชิง สุขภาพพื้นที่อำเภอ อูทอง 11. โรงพยาบาลอูทองไดรับ อนุญาตเปนสถานที่ผลิต ผลิตภัณฑสมุนไพร แผนไทยฯ รพ. อูทอง 12 จำนวนนักทองเที่ยวที่เขารับ บริการการแพทยแผนฯจากการ ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ รอยละ 10 แผนไทยฯ รพ. อูทอง 6. พัฒนาและ ยกระดับหนวยงานใน สังกัดกระทรวง สาธารณสุขจังหวัด สุพรรณบุรีใหมี สมรรถนะสูงดวย แนวทาง 4T (Trust, Teamwork & Talent, Technology และ Targets) 13.รอยละของหนวยงานใน สังกัดมีการดำเนินงาน 4 T รอยละ 80 พัฒนา ยุทธศาสตรฯ การบริหารจัดการ งบดำเนินงาน 14. รอยละของการเบิก จายงบดำเนินงาน รอยละ 100 บริหารฯ รพศ./รพท. *** รวม 14 10 7 รพ.อูทอง 12 ตชว.


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 12 2.วัตถุประสงค เพื่อใหหนวยงานระดับ ผูบริหาร โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน สำนักงาน สาธารณสุขอำเภอ และกลุมงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ทราบถึงแนวทางการจัดทำ คำรับรองและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 รายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) และแนวทางการประเมินผล ตลอดจนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนของการดำเนินงาน และบทบาทหนาที่ของหนวยงานในการบริหารตัวชี้วัด และการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการของหนวยงาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 รวมทั้งรายงานผลการดำเนินงาน ใหผูบริหารทราบ ผานกลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข ตามเวลาที่กำหนดตอไป 3.กรอบการประเมินผล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีไดกำหนดกรอบการประเมินการปฏิบัติราชการระดับ หนวยงานประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 ขึ้น เพื่อใหหนวยงานใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน โดยไดดำเนินการ ถายทอดนโยบายและเปาหมายตัวชี้วัดคำรับรองปฏิบัติราชการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี สูระดับหนวยงาน และคาดหวังวา หากหนวยงานสามารถดำเนินการไดตามเกณฑที่กำหนดจะสงผลใหผลงาน ตามตัวชี้วัดคำรับรองปฏิบัติราชการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 บรรลุตามเปาหมายได โดยการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี และหนวยงานในสังกัดอางอิงตามกรอบการประเมิน ผลการปฏิบัติราชการของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ภายใตกรอบการประเมินผล 2 มิติหลัก คือ มิติภายนอก และมิติภายใน น้ำหนักรวมรอยละ 100 แบงน้ำหนักการประเมินผลเปน 4 ดานดังนี้ มิติภายนอก ไดแก 1.ดานประสิทธิผล 2.ดานคุณภาพ มิติภายใน ไดแก 3.ดานประสิทธิภาพ 4.การพัฒนาองคกร โดยกรอบการประเมินผล แบงตามระดับหนวยงาน ดังนี้ • คำรับรองปฏิบัติราชการ ระหวางนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี กับรองนายแพทย สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีและหัวหนากลุมงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มิติภายนอก : น้ำหนักรอยละ 50 ประกอบดวย การประเมินประสิทธิผล น้ำหนักรอยละ 25 และการประเมินดานคุณภาพ น้ำหนักรอยละ 25 มิติภายใน : น้ำหนักรอยละ 50 ประกอบดวย การประเมินประสิทธิภาพ น้ำหนักรอยละ 25 และการประเมินการพัฒนาองคการ น้ำหนักรอยละ 25


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 13 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก หมายเหตุ มิติภายนอก (รอยละ 50) 1.ดานประสิทธิผล (รอยละ 25) 1. รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตามขอตกลงผานเกณฑ 3 มุงเนน 1 2 รอยละของประชาชนที่เขาถึงชองทางสื่อสาธารณะ ที่เชื่อถือได นำสูประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ 5 มุงเนน 4 3. จำนวนนักทองเที่ยวที่เขารับบริการการแพทยแผนฯ จากการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 5 มุงเนน 5 4. รอยละของประชาชนสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค 7 มุงเนน 3 5.รอยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่ เหมาะสมกับประชาชน 5 มุงเนน 4 2.ดานคุณภาพ (รอยละ 25) 6.รพ.สต.ประเมินตนเองตามเกณฑคุณภาพมาตรฐาน บริการสุขภาพปฐมภูมิ 5 มุงเนน 1 7.โรงพยาบาลอูทองไดรับอนุญาตเปนสถานที่ผลิต ผลิตภัณฑสมุนไพร 5 มุงเนน 5 8. โรงพยาบาลมีบริการการแพทยทางไกลตามเกณฑ ที่กำหนด 10 มุงเนน 2 9.โรงพยาบาลทุกระดับมีคลินิกผูสูงอายุตามเกณฑ มาตรฐานของกรมการแพทย 5 มุงเนน 3 มิติภายใน (รอยละ 50) 3.ดานประสิทธิภาพ (รอยละ 25 ) 10. โรงพยาบาลมีการใชงานระบบ IPD paperless 10 มุงเนน 2 11. รอยละผูสูงอายุและผีมีภาวะพึ่งพิงที่ไดรับการดูแล ตาม CP มี ADL ดีขึ้น 5 มุงเนน 3 12. รอยละของการเบิกจายงบดำเนินงาน 10 การบริหารงาน 4.ดานพัฒนาองคกร (รอยละ 25 13.รอยละสถานบริการมีการพัฒนาตามนโยบาย EMS ในแตละกลุมผานเกณฑการประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน The must) ทุกแหง 15 มุงเนน 2 14.รอยละของหนวยงานในสังกัดมีการดำเนินงาน 4 T 10 มุงเนน 6 น้ำหนักรวม 100


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 14 • คำรับรองปฏิบัติราชการ ระหวางนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี กับผูอำนวยการ โรงพยาบาลศูนยผูอำนวยโรงพยาบาลทั่วไป มิติภายนอก : น้ำหนักรอยละ 40 ประกอบดวย การประเมินประสิทธิผล น้ำหนักรอยละ 20 และการประเมินดานคุณภาพ น้ำหนักรอยละ 20 มิติภายใน : น้ำหนักรอยละ 60 ประกอบดวย การประเมินประสิทธิภาพ น้ำหนักรอยละ 35 และการประเมินการพัฒนาองคการ น้ำหนักรอยละ 25 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก หมายเหตุ มิติภายนอก (รอยละ 40) 1.ดานประสิทธิผล (รอยละ 20) 1. รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตามขอตกลงผานเกณฑ 5 มุงเนน 1 2 รอยละของประชาชนที่เขาถึงชองทางสื่อสาธารณะ ที่เชื่อถือได นำสูประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ 5 มุงเนน 4 3. รอยละของประชาชนสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค 10 มุงเนน 3 2.ดานคุณภาพ (รอยละ 20 ) 4. โรงพยาบาลมีบริการการแพทยทางไกลตามเกณฑ ที่กำหนด 10 มุงเนน 2 5.โรงพยาบาลทุกระดับมีคลินิกผูสูงอายุตามเกณฑ มาตรฐานของกรมการแพทย 10 มุงเนน 3 มิติภายใน (รอยละ 60) 3.ดานประสิทธิภาพ (รอยละ 35 ) 6. โรงพยาบาลมีการใชงานระบบ IPD paperless 15 มุงเนน 2 7. รอยละผูสูงอายุและผีมีภาวะพึ่งพิงที่ไดรับการดูแล ตาม CP มี ADL ดีขึ้น 5 มุงเนน 3 8. รอยละของการเบิกจายงบดำเนินงาน 15 การบริหารงาน 4.ดานพัฒนาองคกร (รอยละ 25) 9.รอยละสถานบริการมีการพัฒนาตามนโยบาย EMS ในแตละกลุมผานเกณฑการประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน The must) ทุกแหง 15 มุงเนน 2 10.รอยละของหนวยงานในสังกัดมีการดำเนินงาน 4 T 10 มุงเนน 6 น้ำหนักรวม 100


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 15 • คำรับรองปฏิบัติราชการ ระหวางนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี กับ ผูอำนวยการโรงพยาบาลชุมชน มิติภายนอก : น้ำหนักรอยละ 50 ประกอบดวย การประเมินประสิทธิผล น้ำหนักรอยละ 20 และการประเมินดานคุณภาพ น้ำหนักรอยละ 30 มิติภายใน : น้ำหนักรอยละ 50 ประกอบดวย การประเมินประสิทธิภาพ น้ำหนักรอยละ 25 และการประเมินการพัฒนาองคการ น้ำหนักรอยละ 25 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก หมายเหตุ มิติภายนอก (รอยละ 50) 1.ดานประสิทธิผล (รอยละ 20) 1. รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตามขอตกลงผานเกณฑ 5 มุงเนน 1 2 รอยละของประชาชนที่เขาถึงชองทางสื่อสาธารณะ ที่เชื่อถือได นำสูประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ 5 มุงเนน 4 3. จำนวนนักทองเที่ยวที่เขารับบริการการแพทยแผนฯ จากการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ(เฉพาะโรงพยาบาลอูทอง) 5 มุงเนน 5 4. รอยละของประชาชนสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค 5 มุงเนน 3 2.ดานคุณภาพ (รอยละ 30) 5.โรงพยาบาลอูทองไดรับอนุญาตเปนสถานที่ผลิต ผลิตภัณฑสมุนไพร (เฉพาะโรงพยาบาลอูทอง) 5 มุงเนน 5 6. โรงพยาบาลมีบริการการแพทยทางไกลตามเกณฑ ที่กำหนด 15 มุงเนน 2 7.โรงพยาบาลทุกระดับมีคลินิกผูสูงอายุตามเกณฑ มาตรฐานของกรมการแพทย 10 มุงเนน 3 มิติภายใน (รอยละ 50) 3.ดานประสิทธิภาพ (รอยละ 25) 8. โรงพยาบาลมีการใชงานระบบ IPD paperless 8 มุงเนน 2 9. รอยละผูสูงอายุและผีมีภาวะพึ่งพิงที่ไดรับการดูแล ตาม CP มี ADL ดีขึ้น 5 มุงเนน 3 10. รอยละของการเบิกจายงบดำเนินงาน 12 การบริหารงาน 4.ดานพัฒนาองคกร (รอยละ 25) 11.รอยละสถานบริการมีการพัฒนาตามนโยบาย EMS ในแตละกลุมผานเกณฑการประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน The must) ทุกแหง 15 มุงเนน 2 12.รอยละของหนวยงานในสังกัดมีการดำเนินงาน 4 T 10 มุงเนน 6 น้ำหนักรวม 100


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 16 • คำรับรองปฏิบัติราชการ ระหวางนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี กับสาธารณสุขอำเภอ มิติภายนอก : น้ำหนักรอยละ 50 ประกอบดวย การประเมินประสิทธิผล น้ำหนักรอยละ 30 และการประเมินดานคุณภาพ น้ำหนักรอยละ 20 มิติภายใน : น้ำหนักรอยละ 50 ประกอบดวย การประเมินประสิทธิภาพ น้ำหนักรอยละ 25 และการประเมินการพัฒนาองคการ น้ำหนักรอยละ 25 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก หมายเหตุ มิติภายนอก (รอยละ 50) 1.ดานประสิทธิผล (รอยละ 30) 1. รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตามขอตกลงผานเกณฑ 6 มุงเนน 1 2 รอยละของประชาชนที่เขาถึงชองทางสื่อสาธารณะ ที่เชื่อถือได นำสูประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ 7 มุงเนน 4 3. รอยละของประชาชนสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค 7 มุงเนน 3 4.รอยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่ เหมาะสมกับประชาชน 10 มุงเนน 3 2.ดานคุณภาพ (รอยละ 20) 5.รพ.สต.ประเมินตนเองตามเกณฑคุณภาพมาตรฐาน บริการสุขภาพปฐมภูมิ 20 มุงเนน 1 มิติภายใน (รอยละ 50) 3.ดานประสิทธิภาพ (รอยละ 25 ) 6. รอยละของการเบิกจายงบดำเนินงาน 25 การบริหารงาน 4.ดานพัฒนาองคกร (รอยละ 25 7.รอยละของหนวยงานในสังกัดมีการดำเนินงาน 4 T 25 มุงเนน 6 น้ำหนักรวม 100


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีปงบประมาณ พ.ศ.2566 17 สรุปคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหวาง นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีกับ ผูบริหารในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ประเด็น ตัวชี้วัด เปาหมาย กลุมงาน ที่รับผิดชอบ ประเมิน สสจ. รพ. สสอ. 1. พัฒนาและอภิบาล ระบบสุขภาพปฐมภูมิ แบบไรรอยตอหลังการ ถายโอนภารกิจ สอน. และรพ.สต.ไปยัง อบจ. 1.รพ.สต. ประเมินตนเอง ตามเกณฑคุณภาพมาตรฐาน บริการสุขภาพปฐมภูมิ รอยละ 100 พัฒนาคุณภาพฯ 2 รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตาม ขอตกลงผานเกณฑ รอยละ 80 พัฒนายุทธศาสตรฯ 2. ยกระดับและปรับ โฉมระบบบริการ สุขภาพกาวหนาดวย เทคโนโลยี ลดแออัด ลดรอคอย และอัตรา ตายดวยโรคสำคัญ รวมถึงการใหบริการ ระบบ telemedicine เพื่อเปนโรงพยาบาล ของประชาชน คนสุพรรณ 3.รอยละสถานบริการมีการพัฒนา ตามนโยบาย EMS ในแตละกลุม ผานเกณฑการประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน The must) ทุกแหง รอยละ 100 อนามัยสิ่งแวดลอมฯ 4.โรงพยาบาลมีบริการการแพทย ทางไกลตามเกณฑที่กำหนด รอยละ 100 พัฒนายุทธศาสตรฯ 5. โรงพยาบาลมีการใชงานระบบ IPD paperless รอยละ 60 พัฒนายุทธศาสตรฯ 3. การบูรณาการระบบ การดูแลสุขภาพ ผูสูงอายุแบบครบวงจร อยางยั่งยืน 6.รอยละของประชาชนสูงอายุมี พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค ≤ รอยละ 52 สงเสริมฯ 7.รอยละผูสูงอายุและผีมีภาวะ พึ่งพิงที่ไดรับการดูแลตาม CP มี ADL ดีขึ้น ≤ รอยละ 22 สงเสริมฯ 8.รอยละของโรงพยาบาลทุกระดับ มีการจัดตั้งคลินิกผูสูงอายุ รอยละ 100 สงเสริมฯ 4. เพิ่มประสิทธิภาพ การสื่อสารที่เขาถึง และทันสมัยเพื่อ ยกระดับการสราง ความรอบรูดาน สุขภาพของประชาชน 9.รอยละของประชาชนที่เขาถึง ชองทางสื่อสาธารณะที่เชื่อถือได นำสูประชาชนมีความรอบรูดาน สุขภาพ NCD


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีปงบประมาณ พ.ศ.2566 18 ประเด็น ตัวชี้วัด เปาหมาย กลุมงาน ที่รับผิดชอบ ประเมิน สสจ. รพ. สสอ. 10.รอยละของชุมชนมีการ ดำเนินการจัดการสุขภาพที่ เหมาะสมกับประชาชน รอยละ 75 พัฒนาคุณภาพฯ 5. พัฒนาการแพทย แผนไทยและ การแพทยทางเลือก สมุนไพรภูมิปญญา ทองถิ่น กัญชาทาง การแพทย และ สงเสริมการทองเที่ยว เชิงสุขภาพพื้นที่ อำเภออูทอง 11.โรงพยาบาลอูทองไดรับอนุญาต เปนสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสมุนไพร แผนไทยฯ รพ. อูทอง 12.จำนวนนักทองเที่ยวที่เขารับ บริการการแพทยแผนฯจากการ ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ รอยละ 10 แผนไทยฯ รพ. อูทอง 6. พัฒนาและยกระดับ หนวยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี ใหมี สมรรถนะสูงดวย แนวทาง 4T (Trust, Teamwork & Talent, Technology และTargets) 13.รอยละของหนวยงานใน สังกัดมีการดำเนินงาน 4 T รอยละ 80 พัฒนายุทธศาสตรฯ 7. การบริหารจัดการ งบดำเนินงาน 14.รอยละการเบิกจาย งบดำเนินงาน รอยละ 100 บริหารฯ/ รพศ./รพท. รวม 14 10 7 หมายเหตุ : รพ.อูทอง 12 ตัวชี้วัด


คูมือตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปงบประมาณ พ.ศ.2566 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี คำรับรองการปฏิบัติราชการสำนักงานสาธารณสุขจังหวันายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี กับ รองนายแพทยสาธารณประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 มิติภายนอก 1.ดานประสิทธิผล 1.รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตามขอตกลงผานเกณฑ 3 รอยละ 60 (รอยละ 25) 2.รอยละของประชาชนที่เขาถึงชองทางสื่อสาธารณะ ที่เชื่อถือไดนำสูประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ 5 มีการกำหนด นโยบาย/แตงตั้ง คณะกรรมการ /จัดทำแผนงาน 3.จำนวนนักทองเที่ยวที่เขารับบริการการแพทยแผนฯ จากการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 5 รอยละ 3 4.รอยละของประชาชนสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค 7 ขั้นตอนที่1


19 วัดสุพรรณบุรี ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหวาง ณสุข และหัวหนากลุมงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย ผูรับผิดชอบ 2 3 4 5 รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 พัฒนายุทธศาสตรฯ มีการพัฒนา บุคลากรในการ สรางความรอบรู ดานสุขภาพ พัฒนา/เพิ่มชอง ทางการสื่อสาร สาธารณะ เผยแพรความรู ที่ประชาชน เขาใจไดงาย อยางทั่วถึงตรง กลุมเปาหมาย บูรณาการสราง การรับรูดาน สุขภาพใหกับภาคี เครือขายเกี่ยวกับ ปญหาสุขภาพที่ สำคัญของจังหวัด กำกับ ติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานจาก - การเฝาระวัง สถานการณโรคที่ สำคัญ/KPI - ประเมินผลการ เขาถึงสื่อประเภท ตางๆของประชาชน (เชน จำนวนผูเขาชม Website/Facebook ของ สสจ.) NCD รอยละ 5 รอยละ 7 รอยละ 9 รอยละ 10 แผนไทยฯ ขั้นตอนที่1-2 ขั้นตอนที่1-3 ขั้นตอนที่1-4 ขั้นตอนที่ 1-5 สงเสริมฯ


คูมือตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปงบประมาณ พ.ศ.2566 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 5.รอยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่ เหมาะสมกับประชาชน 5 รอยละ 55 2.ดานคุณภาพ (รอยละ 25) 6.รพ.สต.ประเมินตนเองตามเกณฑคุณภาพมาตรฐาน บริการสุขภาพปฐมภูมิ 5 รอยละ 60 7.โรงพยาบาลอูทองไดรับอนุญาตเปนสถานที่ผลิต ผลิตภัณฑสมุนไพร 5 รพ.อูทองประสาน กับ ปลัด กระทรวงฯ เพื่อใหทานยื่นขอ อนุญาตฯ สถานที่ ผลิตยา รพ.อูทอง/ มอบอำนาจ (สสจ/ผอ.) 8.โรงพยาบาลมีบริการการแพทยทางไกลตามเกณฑที่ กำหนด 10 รอยละ 20 9.โรงพยาบาลทุกระดับมีคลินิกผูสูงอายุตามเกณฑ มาตรฐานของกรมการแพทย 5 ระดับพื้นฐาน จำนวน 2 แหง มิติภายใน 3.ดานประสิทธิภาพ 10.โรงพยาบาลมีการใชงานระบบ IPD paperless 10 รอยละ 20 (รอยละ 25) 11.รอยละผูสูงอายุและผีมีภาวะพึ่งพิงที่ไดรับการดูแล ตาม CP มี ADL ดีขึ้น 5 <รอยละ 19


20 คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย ผูรับผิดชอบ 2 3 4 5 รอยละ 65 รอยละ 75 รอยละ 85 รอยละ 95 พัฒนาคุณภาพฯ รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 พัฒนาคุณภาพฯ รพ.อูทอง MOU รวมกับสหกรณ บริการรพ.อูทอง จำกัด เพื่อ ดำเนินการ ขึ้น ทะเบียนตำรับ ยาผลิตภัณฑ ขึ้นทะเบียน ผลิตภัณฑ สมุนไพรที่อยูใบ บัญชียาหลัก แหงชาติ กำหนดรายการ ผลิตภัณฑฯ มูลคาจำหนาย ผลิตภัณฑ แพทยแผนไทยฯ รอยละ 40 รอยละ 60 รอยละ 80 รอยละ 100 พัฒนายุทธศาสตรฯ ระดับพื้นฐาน จำนวน 4 แหง ระดับพื้นฐาน จำนวน 6 แหง ระดับคุณภาพ จำนวน 1 แหง ระดับพื้นฐาน จำนวน 8 แหง ระดับคุณภาพ จำนวน 2 แหง ระดับพื้นฐาน จำนวน 10 แหง ระดับคุณภาพ จำนวน 3 แหง สงเสริมฯ รอยละ 30 รอยละ 40 รอยละ 50 รอยละ 60 พัฒนายุทธศาสตรฯ <รอยละ 20 <รอยละ 21 <รอยละ 22 ≥รอยละ 22 สงเสริมฯ


คูมือตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปงบประมาณ พ.ศ.2566 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 12.รอยละการเบิกจายเงินงบลงทุน 10 ไตรมาส 1 - 2 รอยละ 51 ไตรมาส 3 - 4 รอยละ 60 4.ดานพัฒนา องคกร (รอยละ 25) 13.รอยละสถานบริการมีการพัฒนาตามนโยบาย EMS ในแตละกลุมผานเกณฑการประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The must) ทุกแหง 15 นอยกวา รอยละ 50 14.รอยละของหนวยงานในสังกัดมีการดำเนินงาน 4 T 10 รอยละ 60 รวม (14 ตัวชี้วัด) 100


21 คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย ผูรับผิดชอบ 2 3 4 5 บริหารฯ รอยละ 54 รอยละ 57 รอยละ 60 รอยละ 63 รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 รอยละ 50-69 รอยละ 70-79 รอยละ 80-89 รอยละ 90-100 อนามัยสิ่งแวดลอมฯ รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 พัฒนายุทธศาสตรฯ


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 คำรับรองการปฏิบัติราชการสำนักงานสาธารณสุขจังหวันายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี กับ ผูประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติภายนอก 1.ดานประสิทธิผล 1.รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตามขอตกลงผานเกณฑ 5 ร (รอยละ 20) 2.รอยละของประชาชนที่เขาถึงชองทางสื่อสาธารณะที่เชื่อถือ ได นำสูประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ 5 มีการกนโยบาคณะก/จัดทำ3.รอยละของประชาชนสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค 10 ขั2. ดานคุณภาพ (รอยละ 20) 4.โรงพยาบาลมีบริการการแพทยทางไกลตามเกณฑที่กำหนด 10 <=


22 วัดสุพรรณบุรี ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหวาง อำนวยการโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย 1 2 3 4 5 รอยละ 60 รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 กำหนด าย/แตงตั้ง กรรมการ ำแผนงาน มีการพัฒนา บุคลากรในการ สรางความรอบรู ดานสุขภาพ พัฒนา/เพิ่มชอง ทางการสื่อสาร สาธารณะ เผยแพรความรูที่ ประชาชนเขาใจได งาย อยางทั่วถึง ตรงกลุมเปาหมาย บูรณาการสรางการ รับรูดานสุขภาพ ใหกับภาคีเครือขาย เกี่ยวกับปญหา สุขภาพที่สำคัญของ จังหวัด กำกับ ติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานจาก - การเฝาระวัง สถานการณโรคที่ สำคัญ/KPI - ประเมินผลการ เขาถึงสื่อประเภท ตางๆของประชาชน (เชน จำนวนผูเขาชม Website/Facebook ของ สสจ.) ขั้นตอนที่1 ขั้นตอนที่1-2 ขั้นตอนที่1-3 ขั้นตอนที่1-4 ขั้นตอนที่ 1-5 = รอยละ 10 <= รอยละ 20 <= รอยละ 40 <= รอยละ 60 รอยละ 60 ขึ้นไป


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก 5.โรงพยาบาลทุกระดับมีคลินิกผูสูงอายุตามเกณฑมาตรฐาน ของกรมการแพทย 10 ผานเก< 10 มิติภายใน 3.ดานประสิทธิภาพ (รอยละ 35) 6.โรงพยาบาลมีการใชงานระบบ IPD paperless 15 มีการใIPD p1-2 w7.รอยละผูสูงอายุและผีมีภาวะพึ่งพิงที่ไดรับการดูแลตาม CP มี ADL ดีขึ้น 5 <รอย8.รอยละของการเบิกจายงบดำเนินงาน 15 ไตรมาส 1 - 2 รไตรมาส 3 - 4 ร4.ดานพัฒนาองคกร (รอยละ 25) 9.รอยละสถานบริการมีการพัฒนาตามนโยบาย EMS ในแตละ กลุมผานเกณฑการประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The must) ทุกแหง 15 ไมเปนประเมิ10.รอยละของหนวยงานในสังกัดมีการดำเนินงาน 4 T 10 1.หนวคณะกคณะทพัฒนาหนวยสมรรถแนวทรวม (10 ตัวชี้วัด) 100


23 คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย 1 2 3 4 5 กณฑประเมิน คะแนน ผานเกณฑประเมิน > 11-15 คะแนน ผานเกณฑประเมิน > 15-20 คะแนน ผานเกณฑประเมิน > 20-25 คะแนน ผานเกณฑประเมิน > 25 คะแนน ใชงานระบบ paperless ward มีการใชงานระบบ IPD paperless 3-4 ward มีการใชงานระบบ IPD paperless 5-6 ward มีการใชงานระบบ IPD paperless 7-8 ward มีการใชงานระบบ IPD paperless 9 ward ขึ้นไป ละ 19 <รอยละ 20 <รอยละ 21 <รอยละ 22 ≥รอยละ 22 รอยละ 51 รอยละ 54 รอยละ 57 รอยละ 60 รอยละ 63 รอยละ 60 รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 นไปตามเกณฑ มิน ต่ำกวารอยละ 50 มากกวาหรือเทากับ รอยละ 50-69 มากกวาหรือเทากับ รอยละ 70 มากกวาหรือเทากับ รอยละ 80 วยงานมีคำสั่ง กรรมการ/ ทำงานการ าและยกระดับ ยงานใหมี ถนะสูงดวย ทาง 4T 1+2 2.หนวยงานมี แผนงาน/ โครงการ/และ กิจกรรม ตอบสนองนโยบาย 4T หนวยงานมีการ ดำเนินงานเพื่อ ยกระดับหนวยงาน ใหมีสมรรถนะสูง ดวย แนวทาง 4T จำนวน 2 กิจกรรม หนวยงานมีการ ดำเนินงานเพื่อ ยกระดับหนวยงาน ใหมีสมรรถนะสูง ดวย แนวทาง 4T จำนวน 3 กิจกรรม หนวยงานมีการ ดำเนินงานเพื่อ ยกระดับหนวยงานให มีสมรรถนะสูงดวย แนวทาง 4T จำนวน มากกวา 3 กิจกรรม


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 คำรับรองการปฏิบัติราชการสำนักงานสาธารณสุขจังหวันายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติภายนอก 1.ดานประสิทธิผล 1.รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตามขอตกลงผานเกณฑ 5 ร (รอยละ 20) 2.รอยละของประชาชนที่เขาถึงชองทางสื่อสาธารณะที่เชื่อถือ ไดนำสูประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ 5 มีการกนโยบาคณะก/จัดทำ3.จำนวนนักทองเที่ยวที่เขารับบริการการแพทยแผนฯจากการ ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 5 4.รอยละของประชาชนสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึง ประสงค 5 ขั


24 วัดสุพรรณบุรี ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหวาง บุรี กับ ผูอำนวยการโรงพยาบาลชุมชน คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย 1 2 3 4 5 รอยละ 60 รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 กำหนด าย/แตงตั้ง กรรมการ ำแผนงาน มีการพัฒนา บุคลากรในการ สรางความรอบรู ดานสุขภาพ พัฒนา/เพิ่มชอง ทางการสื่อสาร สาธารณะ เผยแพรความรูที่ ประชาชนเขาใจได งาย อยางทั่วถึง ตรงกลุมเปาหมาย บูรณาการสรางการ รับรูดานสุขภาพ ใหกับภาคีเครือขาย เกี่ยวกับปญหา สุขภาพที่สำคัญของ จังหวัด กำกับ ติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานจาก - การเฝาระวัง สถานการณโรคที่ สำคัญ/KPI - ประเมินผลการ เขาถึงสื่อประเภท ตางๆของประชาชน (เชน จำนวนผูเขาชม Website/ Facebook ของ สสจ.) รอยละ 3 รอยละ 5 รอยละ 7 รอยละ 9 รอยละ 10 ขั้นตอนที่1 ขั้นตอนที่1-2 ขั้นตอนที่1-3 ขั้นตอนที่1-4 ขั้นตอนที่ 1-5


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก 2. ดานคุณภาพ (รอยละ 30) 5.โรงพยาบาลอูทองไดรับอนุญาตเปนสถานที่ผลิตผลิตภัณฑ สมุนไพร 5 รพ.อูทกับ ปลเพื่อใหอนุญาผลิตยมอบอำผอ.) 6.โรงพยาบาลมีบริการการแพทยทางไกลตามเกณฑที่กำหนด 15 <= รอ7.โรงพยาบาลทุกระดับมีคลินิกผูสูงอายุตามเกณฑมาตรฐาน ของกรมการแพทย 10 ผานเก< 10 มิติภายใน 3.ดานประสิทธิภาพ (รอยละ 25) 8.โรงพยาบาลมีการใชงานระบบ IPD paperless 8 มีการใIPD p1-10 9.รอยละผูสูงอายุและผีมีภาวะพึ่งพิงที่ไดรับการดูแลตาม CP มี ADL ดีขึ้น 5 <รอย10.รอยละของการเบิกจายงบดำเนินงาน 12 ไตรมาส 1 - 2 รไตรมาส 3 - 4 ร


25 คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย 1 2 3 4 5 ทองประสาน ลัดกระทรวงฯ หทานยื่นขอ าตฯ สถานที่ า รพ.อูทอง/ อำนาจ (สสจ/ รพ.อูทอง MOU รวมกับสหกรณ บริการรพ.อูทอง จำกัด เพื่อ ดำเนินการ ขึ้น ทะเบียนตำรับยา ผลิตภัณฑ ขึ้นทะเบียน ผลิตภัณฑสมุนไพร ที่อยูใบบัญชียา หลักแหงชาติ กำหนดรายการ ผลิตภัณฑฯ มูลคาจำหนาย ผลิตภัณฑ อยละ 10 <= รอยละ 20 <= รอยละ 40% <= รอยละ 60 รอยละ 60 ขึ้นไป กณฑประเมิน คะแนน ผานเกณฑประเมิน > 10 คะแนน ผานเกณฑประเมิน > 12 คะแนน ผานเกณฑประเมิน > 14 คะแนน ผานเกณฑประเมิน > 15 คะแนน ใชงานระบบ paperless % ชอง ward มีการใชงานระบบ IPD paperless 11-20 % ชอง ward มีการใชงานระบบ IPD paperless 21-30 % ชอง ward มีการใชงานระบบ IPD paperless 31- 40 % ชอง ward มีการใชงานระบบ IPD paperless มากกวา 40 % ชอง ward ละ 19 <รอยละ 20 <รอยละ 21 <รอยละ 22 ≥รอยละ 22 รอยละ 51 รอยละ 54 รอยละ 57 รอยละ 60 รอยละ 63 รอยละ 60 รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก 4.ดานพัฒนาองคกร (รอยละ 25) 11.รอยละสถานบริการมีการพัฒนาตามนโยบาย EMS ในแต ละกลุมผานเกณฑการประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The must) ทุกแหง 15 ไมเปนประเมิ12.รอยละของหนวยงานในสังกัดมีการดำเนินงาน 4 T 10 1.หนวคณะกคณะทพัฒนาหนวยสมรรถแนวทรวม (12 ตัวชี้วัด) 100


26 คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย 1 2 3 4 5 นไปตามเกณฑ มิน ต่ำกวารอยละ 50 มากกวาหรือเทากับ รอยละ 50-69 มากกวาหรือเทากับ รอยละ 70 มากกวาหรือเทากับ รอยละ 80 วยงานมีคำสั่ง กรรมการ/ ทำงานการ าและยกระดับ ยงานใหมี ถนะสูงดวย ทาง 4T 1+2 2.หนวยงานมี แผนงาน/ โครงการ/และ กิจกรรม ตอบสนองนโยบาย 4T หนวยงานมีการ ดำเนินงานเพื่อ ยกระดับหนวยงาน ใหมีสมรรถนะสูง ดวย แนวทาง 4T จำนวน 2 กิจกรรม หนวยงานมีการ ดำเนินงานเพื่อ ยกระดับหนวยงาน ใหมีสมรรถนะสูง ดวย แนวทาง 4T จำนวน 3 กิจกรรม หนวยงานมีการ ดำเนินงานเพื่อ ยกระดับหนวยงานให มีสมรรถนะสูงดวย แนวทาง 4T จำนวน มากกวา 3 กิจกรรม


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 คำรับรองการปฏิบัติราชการสำนักงานสาธารณสุขจันายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติภายนอก 1.ดานประสิทธิผล (รอยละ 30) 1.รอยละของตัวชี้วัดสำคัญตามขอตกลงผานเกณฑ 6 2.รอยละของประชาชนที่เขาถึงชองทางสื่อสาธารณะที่เชื่อถือได นำสูประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ 7 มีกานโยคณะ/จัด3.รอยละของประชาชนสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค 7 4..รอยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสม กับประชาชน 10


27 จังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 พรรณบุรีกับ สาธารณสุขอำเภอ คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย 1 2 3 4 5 รอยละ 60 รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 ารกำหนด บาย/แตงตั้ง ะกรรมการ ทำแผนงาน มีการพัฒนา บุคลากรในการ สรางความรอบรู ดานสุขภาพ พัฒนา/เพิ่มชอง ทางการสื่อสาร สาธารณะ เผยแพร ความรูที่ประชาชน เขาใจไดงาย อยาง ทั่วถึงตรง กลุมเปาหมาย บูรณาการสรางการ รับรูดานสุขภาพ ใหกับภาคีเครือขาย เกี่ยวกับปญหา สุขภาพที่สำคัญของ จังหวัด กำกับ ติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานจาก - การเฝาระวัง สถานการณโรคที่ สำคัญ/KPI - ประเมินผลการ เขาถึงสื่อประเภท ตางๆของ ประชาชน (เชน จำนวนผูเขาชม Website/ Facebook ของ สสจ.) ขั้นตอนที่1 ขั้นตอนที่1-2 ขั้นตอนที่1-3 ขั้นตอนที่1-4 ขั้นตอนที่ 1-5 รอยละ 55 รอยละ 65 รอยละ 75 รอยละ 85 รอยละ 95


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก 2.ดานคุณภาพ (รอยละ 20) 5.รพ.สต.ประเมินตนเองตามเกณฑคุณภาพมาตรฐานบริการ สุขภาพปฐมภูมิ 20 มิติภายใน 3.ดานประสิทธิภาพ 6.รอยละของการเบิกจายงบดำเนินงาน 25 (รอยละ 25) ไตรมาส 1 - 2 ไตรมาส 3 - 4 4.ดานพัฒนาองคกร (รอยละ 25) 7.รอยละของหนวยงานในสังกัดมีการดำเนินงาน 4 T 25 1.หนคณะคณะพัฒนหนวสมรแนวรวม (7 ตัวชี้วัด) 100


28 คาคะแนนตามระดับคาเปาหมาย 1 2 3 4 5 รอยละ 60 รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 รอยละ 51 รอยละ 54 รอยละ 57 รอยละ 60 รอยละ 63 รอยละ 60 รอยละ 70 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100 นวยงานมีคำสั่ง ะกรรมการ/ ะทำงานการ นาและยกระดับ วยงานใหมี รรถนะสูงดวย วทาง 4T 1+2 2.หนวยงานมี แผนงาน/ โครงการ/และ กิจกรรมตอบสนอง นโยบาย 4T หนวยงานมีการ ดำเนินงานเพื่อ ยกระดับหนวยงาน ใหมีสมรรถนะสูง ดวย แนวทาง 4T จำนวน 2 กิจกรรม หนวยงานมีการ ดำเนินงานเพื่อ ยกระดับหนวยงาน ใหมีสมรรถนะสูงดวย แนวทาง 4T จำนวน 3 กิจกรรม หนวยงานมีการ ดำเนินงานเพื่อ ยกระดับหนวยงาน ใหมีสมรรถนะสูง ดวย แนวทาง 4T จำนวน มากกวา 3 กิจกรรม


คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปงบประมาณ พ.ศ.2566 29 คณะทำงานการจัดทำตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของหนวยงานในสังกัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ที่ปรึกษา 1. นพ.รัฐพล เวทสรณสุธี นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี 2. นพ.ธเนศ ตติรัตน รองนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด คณะทำงาน 1. นางจริยา ละมัยเกศ หัวหนากลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข 2. น.ส.สาธิมน ศิริสมบูรณเวช หัวหนากลุมงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ 3. นายสุวัฒน อุบลทัศนีย หัวหนากลุมงานอนามัยสิ่งแวดลอมและอาชีวอนามัย 4. นางพัชรินทร มณีพงศ หัวหนากลุมงานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 5. นางประนอม กาญจนวณิชย หัวหนากลุมงานสงเสริมสุขภาพ 6. นางพรลภัส ทองศิริพงศ หัวหนากลุมงานควบคุมโรคไมติดตอสุขภาพจิตและยาเสพติด 7. นายณัฏฐชัย แกวเจริญสีทอง หัวหนากลุมงานบริหารทั่วไป 8. นายไพบูลย อาชีวะ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ 9. น.ส.พวงแกว พรหมรส นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 10. นางดรุณี สนทิศปญญา นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ 11. น.ส.อรนุช เอมสมบูรณ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 12. นางศิริรัตน กิจจารุวงษ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 13. นางศสิริ ตั้งสะสม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 14. น.ส.ออนนุช หมวดคูณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ผูจัดทำ 1. น.ส.วลัยพร สิงหจุย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 2. นางณัชชยาภรณ ศุภวุฒิเลิศหิรัญ เจาพนักงานสถิติชำนาญงาน


Click to View FlipBook Version