The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สิทธิชัย ฟักทอง, 2019-10-15 03:01:31

ทรัพยากรป่าไม้

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

Forest resources.

พนดิ า คงคาชยั
รหัสนักศึกษา 5904017323
รายวิชา cso3103 นัวตกรรมทางการสอนสงั คมศกึ ษา

คาํ นาํ

หนงั สอื ออนไลนเลม นี้ผจู ัดทําไดเรียบเรียงมาจากเนอื้ หาของผูเขยี น
หลายทาน ซ่ึงเปนสว นหนึ่งของรายวิชา cso3103 นัวตกรรมทางการ
สอนสงั คมศึกษา มีเนื้อหาเกีย่ วกับทรพั ยากรปาไมชนิดตางๆ การอนุรักษ
ทรัพยากรปาไม และประโยชนของปา ไม
ผจู ัดทําขอกราบขอบพระคุณทา นเจา ของเนอ้ื หา เอกสาร รูปภาพ ท่ี
นาํ มาอางอิงไว ณ ท่ีน้ี หวังวาหนังออนไลนเ ลม น้ีคงจะเปนประโยชน
สาํ หรับนักเรยี นและผทู สี่ นใจทัว่ ไป หากมขี อ บกพรอ งประการใด ผูจดั ทาํ
ยินดนี อ มรับคําติชมเพ่ือนําไปปรับแกไ ขใหถ ูกตอ ง

พนิดา คงคาชัย

สารบญั หนา
1
เรื่อง 1
ทรพั ยากรปา ไม 2
ประเภทของปา ไมใ นประเทศไทย 2
ปา ประเภทท่ีไมผลดั ใบ 4
5
ปาดงดิบ 6
ปา สนเขา 7
ปาชายเลน 8
ปา พรุ 8
ปา ชายหาด 9
ปาประเภทท่ีผลดั ใบ 10
ปา เบญจพรรณ 11
ปา เต็งรัง 13
ปาหญา 15
ประโยชนของทรัพยากรปา ไม 16
สาเหตุสําคญั ของวกิ ฤตการณปา ไมในประเทศไทย
การอนุรักษปา ไม
อางอิง

ทรัพยากรปาไม 1

ปาไม หมายถึง ถ่ินที่อยูอาศัยรวมกันของสิ่งมีชีวิต ท้ังพืชและ
สัตวนานาชนิดรวมทังจุลชีพท้ังมวลตางพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและ
กัน สวนใหญประกอบดวยตนไมอันขึ้นอยูบนพ้ืนดิน และมี

รากยึดเหน่ียวอยูใตดิน

เพราะปา ไมมปี ระโยชนทั้งการเปนแหลง วตั ถดุ ิบของ
ปจ จยั สี่ คือ อาหาร เคร่ืองนุง หม ทีอ่ ยอู าศยั และ
ยารกั ษาโรคสาํ หรับมนษุ ย และยงั มีประโยชนใ น
การรักษาสมดุลของสง่ิ แวดลอ ม ถาปา ไมถกู ทําลาย
ลงไปมากๆยอมสงผลกระทบตอ สภาพแวดลอมท่ี

เก่ยี วของอ่นื ๆ เชน สตั วปา ดิน นาํ้ อากาศ

ประเภทของปา ไมในประเทศไทย

ประเภทของปาไมจ ะแตกตา งกนั ไปข้นึ อยูกบั การกระจายของฝนระยะ
เวลาทฝ่ี นตกรวมทง้ั ปริมาน้ําฝนทําใหปาแตล ะแหงมคี วามชุม ชืน้ ตางกนั
สามารถจาํ แนกไดเ ปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแ ก
ก. ปา ประเภทท่ไี มผ ลดั ใบ (Evergreen)
ข. ปาประเภทท่ีผลดั ใบ (Deciduous)

2

ปา ประเภททไ่ี มผ ลัดใบ (Evergreen)

ปา ประเภทนมี้ องดเู ขียวชอมุ ตลอดป เนอ่ื งจากตน ไมแทบทัง้ หมดทขี่ น้ึ อยู
เปน ประเภททไี่ มผลดั ใบ ปาชนิดสําคญั ซึ่งจัดอยูในประเภทนี้ ไดแก
1.ปาดงดบิ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest)

ปา ดงดิบท่ีมีอยทู ว่ั ในทุกภาคของประเทศ แตท ม่ี มี ากท่สี ดุ ไดแก
ภาคใตและภาคตะวนั ออก ในบรเิ วณนมี้ ฝี นตกมากและมีความชืน้ มากใน
ทองทภ่ี าคอืน่ ปาดงดิบมกั กระจายอยบู รเิ วณท่ีมีความชุมช้ืนมาก ๆ เชน
ตามหุบเขาริมแมนํา้ ลําธาร หว ย แหลง น้าํ และบนภเู ขา

ซง่ึ สามารถแยกออกเปน
ปา ดงดบิ ชนดิ ตา ง ๆดังนี้

1.1 ปา ดิบชน้ื (Moist Evergreen Forest)
เปนปารกทึบมองดูเขียวชอุมตลอดปมีพันธุไมหลายรอยชนิดข้ึนเบียดเสียด
กนั อยมู ักจะพบกระจดั กระจาย
ต้งั แตความสงู 600 เมตร
จากระดบั นา้ํ ทะเล พนั ธไ มท่ี
สาํ คญั กค็ อื ไมต ระกูลยางตางๆ
เชน ยางนา ยางเสียน สวนไมชั้นรอง คือ พวกไมกอ เชน กอนํ้า กอ
เดอื ย

3

1.2 ปาดิบแลง (Dry Evergreen Forest)
เปนปาที่อยูในพ้ืนที่คอนขางราบมีความชุมช้ืนนอยเชน ในแถบภาคเหนือ
และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
มกั อยสู งู จากระดับน้าํ ทะเลประมาณ
300-600เมตร พนั ธไมท ่ีสําคญั ไดแก
มะคาโมง ยางนา พยอม ตะเคยี นแดง
กระเบากลกั และตาเสือ
1.3 ปา ดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
ปาชนดิ น้ีเกดิ ขึน้ ในพนื้ ที่สูง ๆ หรอื บนภเู ขาตั้งแต 1,000-1,200 เมตร
ขึ้นไปจากระดับน้ําทะเล
ไมสวนมากเปน พวก
Gymonosperm ไดแก
พวกไมขุนและสนสามพนั ป
นอกจากนย้ี ังมีไมต ระกลู
กอข้นึ อยู พวกไมชัน้ ที่สองรองลงมาไดแ ก เปง สะเดาชาง และขม้ินตน

4

2.ปา สนเขา (Pine Forest)

ปา สนเขามกั ปรากฏอยตู ามภเู ขาสงู สวนใหญเ ปนพน้ื ทีซ่ ง่ึ มคี วามสูง
ประมาณ 200-1800 เมตร

ขึ้นไปจากระดบั น้าํ ทะเลใน

ภาคเหนอื ภาคกลาง และ

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

บางทอี าจปรากฏในพืน้ ที่สูง

200-300 เมตร จากระดบั นํ้าทะเลในภาคตะวันออกเฉียงใต ปาสนเขามี
ลกั ษณะเปน ปาโปรง ชนิดพันธุไมท ่ีสําคญั ของปา ชนดิ นคี้ อื สนสองใบ
และสนสามใบ สว นไมชนดิ อนื่ ท่ีข้ึนอยูดว ยไดแ กพนั ธุไ มปาดบิ เขา เชน
กอชนิดตางๆ หรอื พันธุไมปา แดงบางชนิด คอื เตง็ รงั เหยี ง พลวง
เปนตน

สนสองใบ สนสามใบ

การสงั เกตลักษณะของสนสองใบและสนสามใบ คอื
สนสองใบจะมใี บออกเปนกระจุกๆละ 2ใบ ใบยาวเรยี วเปนรูปเขม็
ขนาด 15-25 ซม.สวนสนสามใบจะมใี บ ตดิ เปน กลมุ ๆ ละ 3 ใบ
ออกเวียนสลบั ถ่ตี ามปลายกิ่ง

5

3.ปาชายเลน (Mangrove Forest)

บางทเี รียกวา "ปา เลนนาํ้ เคม็ " หรอื ปาเลน มตี น ไมข ึ้นหนาแนนแตล ะ
ชนดิ มีรากคํา้ ยันและรากหายใจ

ปาชนิดนี้ปรากฏอยูตามทีด่ นิ เลน

ริมทะเลหรือบรเิ วณปากนาํ้ แมน้ํา

ใหญๆ ซ่งึ มีนาํ้ เคม็ ทวมถึงใน

พนื้ ท่ีภาคใตมอี ยตู ามชายฝง ทะเล

ท้ังสองดา น ตามชายทะเลภาคตะวันออกมีอยทู ุกจังหวัดแตท ี่มากท่ีสดุ คือ
บรเิ วณปากนาํ้ เวฬุ อําเภอขลงุ จังหวดั จันทบุรี

พันธุไมทขี่ น้ึ อยตู ามปา ชายเลน สวนมากเปน พนั ธุไมขนาดเลก็ ใช
ประโยชนสาํ หรบั การเผาถา นและทําฟนไมช นิดทีส่ าํ คัญ คือ โกงกาง
ประสัก ถวั่ ขาว ถว่ั ขาํ โปรง ตะบนู แสมทะเล ลาํ พูนและ
ลาํ แพน ฯลฯ สวนไมพืน้ ลา งมักเปน พวก ปรงทะเลเหงือกปลายหมอ
ปอทะเล และเปง เปนตน

โกงกาง แสมทะเล

6

4.ปา พรุหรอื ปาบงึ นํา้ จืด (Swamp Forest)

ปา ชนดิ นม้ี กั ปรากฏในบริเวณทมี่ นี ํา้ จดื ทวมมากๆ ดินระบายน้าํ ไมดปี าพรุ
ในภาคกลาง มีลกั ษณะโปรง

และมตี น ไมข ้ึนอยูห าง ๆเชน

สนุน จิก โมกบาน

หวายนาํ้ หวายโปรง ระกํา

ออ และแขม ในภาคใตป าพรุ

มขี ึ้นอยตู ามบริเวณท่ีมนี ํ้าขังตลอดปด นิ ปาพรุที่มเี นอ้ื ทม่ี ากทส่ี ุดอยใู นบรเิ วณ
จงั หวดั นราธิวาส ซึ่งเปนซากพชื ผุสลายทบั ถมกัน เปน เวลานานปาพรุแบง
ออกได 2 ลักษณะ คอื ตามบริเวณซ่งึ เปนพรนุ ํ้ากรอยใกลช ายทะเลตน
เสม็ดจะขนึ้ อยหู นาแนนพ้นื ทีม่ ีตนกกชนดิ ตาง ๆ เรยี ก "ปาพรุเสม็ด หรือ
ปาเสมด็ " อีกลักษณะเปน ปา ทมี่ พี ันธุไมตา ง ๆ มากชนิดข้นึ ปะปนกัน

ชนดิ พนั ธไุ มท ่ีสําคญั ของปา พรุ ไดแ ก อินทนิล นํ้าหวา จกิ โสกน้าํ
กระทุมนา้ํ โงงงันกะทง่ั หัน ไมพน้ื ลางประกอบดว ย หวาย ตะคาทอง
หมากแดง และหมากชนิดอื่นๆ

ตน อินทนลิ กระทุมน้าํ

7

5.ปาชายหาด (Beach Forest)

เปนปาโปรง ไมผ ลดั ใบขึ้นอยตู ามบริเวณหาดชายทะเล นํ้าไมท ว มตามฝง
ดินและชายเขาริมทะเล

ตน ไมสําคัญท่ขี ้นึ อยูต าม

หาดชายทะเล ตอ งเปน พืช

ทนเค็ม และมกั มีลักษณะ

ไมเปนพุมลักษณะตน คดงอ

ใบหนาแขง็ ไดแ ก สนทะเล หกู วาง โพธ์ิทะเล กระทงิ ตนี เปด ทะเล
หยีน้ํา มกั มีตนเตยและหญาตา ง ๆ ขึน้ อยูเปน ไมพนื้ ลา ง ตามฝงดนิ และ
ชายเขา มกั พบไมเ กตลําบดิ มะคาแต กระบองเพชร เสมา และไม
หนามชนิดตางๆ เชน หนามหนั กําจาย มะดันขอ เปนตน

ตวั อยางตน ไมท ี่พบในปา ชายหาด

หูกวาง ตีนเปด ทะเล

8

ปาประเภทท่ผี ลัดใบ (Declduous)

ตน ไมท ีข่ นึ้ อยใู นปาประเภทน้เี ปน จาํ พวกผลดั ใบแทบท้ังสนิ้ ในฤดูฝนปา
ประเภทนจี้ ะมองดเู ขยี วชอุมพอถงึ ฤดูแลง ตนไม สว นใหญจ ะพากันผลัดใบ
ทาํ ใหป ามองดโู ปรง ขึ้น และมกั จะเกดิ ไฟปาเผาไหมใ บไมและตนไมเ ล็กๆ

1. ปาเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest)

ปาผลัดใบผสม หรือปาเบญจพรรณมลี กั ษณะเปน ปาโปรง และยงั มไี ม
ไผชนิดตางๆ ขนึ้ อยกู ระจัดกระจายท่ัวไปพื้นท่ดี นิ มกั เปน ดินรวนปนทราย
ปา เบญจพรรณในภาคเหนอื

มกั จะมีไมส กั ข้นึ ปะปนอยู

ทัว่ ไปครอบคลมุ ลงมาถึง

จังหวัดกาญจนบุรี ใน

ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก มีปา เบญจพรรณ
นอยมากและกระจัดกระจาย พนั ธุไมช นดิ สําคัญไดแ ก สัก ประดูแดง
มะคา โมง ตะแบก เสลา ออ ยชาง ยม หอม ยมหนิ มะเกลือ สมพง
เกด็ ดาํ เกด็ แดง ฯลฯ นอกจากนี้มีไมไผที่สําคัญ เชน ไผป า ไผบง ไผ
ซาง ไผรวก ไผไ ร เปนตน

สัก มะคา โมง

9

2. ปาเตง็ รัง (Declduous Dipterocarp Forest)
หรอื ทีเ่ รยี กกันวา ปา แดง ปาแพะ ปาโคก ลักษณะทว่ั ไปเปนปาโปรง
ตามพ้ืนปา มกั จะมี โจด ตน แปรง และหญาเพก็ พนื้ ท่ีแหง แลง ดนิ รวนปน
ทราย หรอื กรวด ลูกรงั
พบอยูทัว่ ไปในท่รี าบและ
ทภ่ี ูเขา ในภาคเหนือ
สวนมากขนึ้ อยบู นเขาที่
มีดนิ ต้นื และแหงแลงมาก
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มปี าแดงหรอื ปาเต็งรังนมี้ ากทส่ี ุด ตามเนิน
เขาหรอื ทร่ี าบดินทรายชนดิ พันธุไมท ส่ี ําคัญในปาแดง หรือปา เต็งรงั ไดแก
เต็ง รงั เหียง พลวง กราด พะยอม ตวิ้ แตว มะคาแต ประดู แดง
สมอไทย ตะแบก เลือดแสลงใจ รกฟา ฯลฯ สวนไมพ นื้ ลางทพ่ี บมาก
ไดแ ก มะพราวเตา ปมุ แปง หญาเพก็ โจด ปรงและหญาชนิดอื่นๆ

วดิ ีโอ ในการใหค วามรูเกีย่ วกับปา เตง็ รงั

10

3. ปาหญา (Savannas Forest)
ปา หญา ท่ีอยูท กุ ภาคบริเวณปา ทีถ่ กู แผวถางทําลายบรเิ วณพน้ื ดินทข่ี าดความ
สมบรู ณแ ละถูกทอดท้ิง
หญา ชนดิ ตางๆจงึ เกิดขึ้น
ทดแทนและพอถงึ
หนาแลง กเ็ กดิ ไฟไหมทําให
ตน ไมบรเิ วณขางเคียงลมตาย
พ้นื ท่ปี าหญา จงึ ขยายมากข้ึนทุกป พชื ทพ่ี บมากทส่ี ุดในปา หญาก็คอื หญาคา
หญาขนตาชา ง หญา โขมง หญา เพก็ และปุมแปง บริเวณทพ่ี อจะมคี วามชื้น
อยูบ าง และการระบายนาํ้ ไดด ีก็มกั จะพบพงและแขมขนึ้ อยู และอาจพบ
ตนไมทนไฟขึ้นอยู เชน ตบั เตา รกฟา ตานเหลอื ง ต้วิ และแตว

หญาคา ตบั เตา

ประโยชนของทรพั ยากรปา ไม 11

ปาไมมปี ระโยชนมากมายตอการดาํ รงชีวิตของมนุษย

ท้งั ทางตรงและทางออ ม ไดแก.

ประโยชนทางตรง (Direct Benefits)

ไดแ ก ปจจยั 4 ประการ

1.จากการนําไมม าสรา งอาคารบา นเรอื นและผลติ ภัณฑตาง ๆ เชน
เฟอรน เิ จอร กระดาษ ไมข ีดไฟ ฟน เปน ตน

2.ใชเปนอาหารจากสวนตาง ๆ ของพชื และผล

3.ใชเสนใย ท่ไี ดจ ากเปลอื กไมและเถาวัลยมาถักทอ เปน
เครื่องนุง หม เชือกและอน่ื ๆ

4.ใชทํายารักษาโรคตา ง ๆ

ประโยชนทางออม (Indirect Benefits)

1. ปาไมเปน เปน แหลงกําเนิดตนนา้ํ ลําธารเพราะตน ไมจาํ นวนมากในปา
จะทาํ ใหน ํา้ ฝนท่ตี กลงมาคอ ย ๆ ซึมซบั ลงในดิน กลายเปนน้าํ ใตด นิ
ซ่งึ จะไหลซึมมาหลอเลย้ี งใหแ มน า้ํ ลาํ ธารมีนาํ้ ไหลอยูตลอดป

2. ปาไมทําใหเ กดิ ความชมุ ชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ ไอน้ําซึ่งเกิด
จากการหายใจของพืช ซึ่งเกิดขนึ้ อยมู ากมายในปา ทําใหอ ากาศเหนือปา มี
ความชืน้ สูงเม่ืออุณหภมู ลิ ดตํา่ ลงไอนา้ํ เหลานัน้ กจ็ ะกลนั่ ตัวกลายเปน เมฆ
แลว กลายเปน ฝนตกลงมา ทําใหบ ริเวณทีม่ พี ้นื ปา ไมม ีความชมุ ชื้นอยเู สมอ
ฝนตกตอ งตามฤดูกาลและไมเกิดความแหงแลง

12

3. ปา ไมเปนแหลงพักผอนและศกึ ษาความรู บริเวณปาไมจ ะมภี มู ิ
ประเทศทส่ี วยงามจากธรรมชาตริ วมทั้งสัตวป าจึงเปนแหลง พักผอนหยอนใจ
ไดดี นอกจากนน้ั ปา ไมย งั เปน ท่รี วมของพนั ธุพ ชื และพันธุสัตวจํานวนมาก
จึงเปน แหลง ใหม นุษยไ ดศึกษาหาความรู

4. ปาไมชว ยบรรเทาความรุนแรงของลมพายุและปอ งกนั อุทกภัย โดย
ชวยลดความเรว็ ของลมพายุที่พดั ผานไดต ง้ั แต ๑๑-๔๔ % ตาม
ลักษณะของปา ไมแ ตล ะชนดิ จงึ ชว ยใหบานเมอื งรอดพนจากวาตภัยได
ซง่ึ เปน การปองกันและควบคมุ นํ้าตามแมน า้ํ ไมใหสูงขึ้นมารวดเรว็ ลนฝง
กลายเปน อุทกภยั

5. ปา ไมชว ยปองกันการกัดเซาะและพัดพาหนาดนิ จากน้ําฝนและลม
พายุโดยลดแรงปะทะลงการหลดุ เลือนของดนิ จึงเกิดขึน้ นอย และยังเปน
การชวยใหแ มน ํ้าลําธารตาง ๆ ไมตืน้ เขินอีกดวย นอกจากนป้ี าไมจ ะ
เปนเสมอื นเครือ่ งกีดขวางตามธรรมชาติ จึงนบั วามปี ระโยชนในทาง
ยุทธศาสตรด วยเชน กนั

13

สาเหตุสาํ คญั ของวกิ ฤตการณป า ไมใ นประเทศไทย

1. การลกั ลอบตัดไมทําลายปา

ตวั การของปญ หาน้คี อื นายทุนพอคาไม เจาของโรงเลือ่ ย เจา ของ
โรงงานแปรรูปไม ผรู บั สัมปทานทาํ ไมและชาวบานทั่วไป ซ่ึงการตัดไม
เพื่อเอาประโยชนจ ากเนอ้ื ไมท ง้ั วิธที ่ีถกู และผิดกฎหมาย ปรมิ าณปาไมท ่ถี กู
ทาํ ลายนี้นับวนั จะเพิม่ ข้นึ เรอ่ื ยๆ ตามอัตราเพม่ิ ของจํานวนประชากร ย่ิงมี
ประชากรเพม่ิ ข้ึนเทา ใด ความตองการในการใชไ มกเ็ พ่ิมมากข้นึ เชน ใชไม
ในการปลกู สรา งบานเรอื นเครื่องมือเคร่อื งใชใ นการเกษตรกรรมเครื่อง
เรือนและถานในการหงุ ตม เปน ตน

2. การบกุ รกุ พนื้ ทีป่ าไมเพ่อื เขาครอบครองทีด่ ิน

เมอ่ื ประชากรเพม่ิ สงู ขึ้น ความตองการใชทด่ี นิ เพื่อปลกู สรางทีอ่ ยูอ าศัย
และท่ดี นิ ทาํ กนิ ก็อยสู งู ขน้ึ เปนผลผลักดนั ใหราษฎรเขาไปบุกรกุ พืน้ ทีป่ าไม
แผวถางปา หรือเผาปาทําไรเล่อื นลอย นอกจากน้ยี ังมีนายทุนทด่ี นิ ท่จี า ง
วานใหราษฎรเขาไปทาํ ลายปา เพ่อื จับจองท่ีดินไวข ายตอ ไป

3. การสงเสริมการปลกู พชื หรือเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจเพือ่ การสง ออก

เชน มนั สาํ ปะหลงั ปอ เปนตน โดยไมส งเสริมการใชท ่ีดินอยาง
เตม็ ประสิทธภิ าพทง้ั ๆ ท่พี นื้ ท่ีปาบางแหง ไมเ หมาะสมท่ีจะนํามาใชใ น
การเกษตร

4. การกําหนดแนวเขตพ้นื ที่ปากระทาํ ไมช ัดเจนหรือไมกระทาํ เลยใน
หลายๆ พื้นท่ี

14

ทําใหราษฎรเกดิ ความสบั สนท้งั โดยเจตนาและไมเจตนา ทําใหเ กดิ
การพพิ าทในเร่อื งที่ดินทํากินและที่ดนิ ปาไมอ ยตู ลอดเวลาและมกั เกดิ การ
รอ งเรียนตอตา นในเร่ืองกรรมสทิ ธท์ิ ี่ดนิ

5. การจดั สรา งสาธารณปู โภคของรัฐ

เชน เขอ่ื น อา งเก็บน้าํ เสน ทางคมนาคม การสรา งเขอื่ นขวางลํา
น้ําจะทําใหพน้ื ทเ่ี กบ็ นา้ํ หนา เขือ่ นท่ีอุดมสมบูรณถกู ตดั โคนมาใชประโยชน
สว นตน ไมขนาดเล็กหรอื ทที่ ําการยา ยออกมาไมทันจะถกู น้ําทว มยืนตนตาย
เชน การสรา งเข่ือนรชั ประภาเพ่ือกน้ั คลองพระแสงอนั เปน สาขาของแม
นาํ้ พมุ ดวง-ตาป ทําใหนํ้าทว มบริเวณปา ดงดิบซึ่งมีพันธุไมห นาแนน
ประกอบดว ยสัตวน านาชนดิ นบั แสนไร ตอ มาจงึ เกิดปญ หานํ้าเนา ไหลลง
ลําน้ําพุมดวง

6. ไฟไหมปา

มกั จะเกดิ ขึน้ ในชวงฤดูแลง ซงึ่ อากาศแหงและรอนจัด ท้ังโดย
ธรรมชาติและจากการกระทําของมะมว งทีอ่ าจลกั ลอบเผาปา หรอื เผลอ จดุ
ไฟท้งิ ไวโ ดยเฉพาะในปา ไมเปนจํานวนมาก

การอนรุ ักษป า ไม 15

ปาไมถกู ทําลายไปจํานวนมาก จงึ ทาํ ใหเกดิ ผลกระทบตอ

สภาพ ภูมอิ ากาศไปทว่ั โลกรวมท้งั ความสมดลุ ในแงอ ื่นดว ย

ดงั น้ัน การฟน ฟสู ภาพปา ไมจึงตองดําเนนิ การอยา งเรงดว น
ท้งั ภาครฐั ภาคเอกชนและประชาชน ซ่งึ มีแนวทางในการกําหนด
แนวนโยบายดานการจดั การปา ไม ดงั นี้

1. นโยบายดา นการกาํ หนดเขตการใชป ระโยชนทีด่ นิ ปา ไม

2. นโยบายดานการอนรุ ักษทรัพยากรปาไมเ กยี่ วกบั งานปอ งกนั
รกั ษาปา การอนรุ กั ษสงิ่ แวดลอ มและสันทนาการ

3. นโยบายดา นการจัดการทีด่ นิ ทาํ กนิ ใหแกร าษฎรผยู ากไรใ น
ทองถ่ิน

4. นโยบายดา นการพัฒนาปาไม เชน การทําไมและการเก็บหาของ
ปา การปลกู และการบาํ รงุ ปาไม การคน ควา วิจัย และดา นการ
อตุ สาหกรรม

5. นโยบายการบรหิ ารท่วั ไปจากนโยบายดงั กลา วขา งตนเปน
แนวทางในการพัฒนาและการจดั การทรพั ยากรปา ไมข องชาตใิ หไดรับ
ผลประโยชน ทง้ั ทางดานการอนุรักษแ ละดา นเศรษฐกจิ อยา งผสมผสาน
กนั ท้ังน้ีเพอ่ื ใหเ กดิ ความสมดลุ ของธรรมชาติและมีทรัพยากรปาไมไวอ ยาง
ยงั่ ยนื ตอไปในอนาคต

16

อางองิ

-ทรัพยากรปาไม. สบื คนเมอ่ื วันที่ 6 กันยายน 2562.
จาก https;//web.ku.ac.th
-"ทรัพยากรปา ไม" สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน. สบื คน เม่อื วนั ท่ี 6
กันยายน 2562. จาก kanchanapisek.or.th
-ทัพยากรปาไม( 2559). สืบคน เมอื่ วันท่ี 14 กันยายน 2562.
จาก https;//www.truepiookpanya.com
-ปา(2547). ทรพั ยากรปาไม. สบื คน เม่ือวนั ที่ 18 กันยายน 2562.
จาก https;//th.m.wikipedia.org


Click to View FlipBook Version