The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุมชนคุณธรรมต้นแบบโดนเด่นบ้านท่าเรือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nkpculture, 2021-11-17 04:10:33

ชุมชนคุณธรรมต้นแบบโดนเด่นบ้านท่าเรือ

ชุมชนคุณธรรมต้นแบบโดนเด่นบ้านท่าเรือ

กระทรวงวัฒนธรรม ดำเนนิ กำรโครงกำรขบั เคล่ือนกำรสรำ้ งควำมเขม้ แขง็ ของ “บวร ในกำร
สืบสำน รักษำ ต่อยอด ศำสตร์พระรำชำเพื่อกำรพัฒนำอย่ำงย่ังยืนของชุมชนคุณธรรมน้อมนำหลักปรัชญำ
ของเศรษฐกิจพอเพียง ขับเคลื่อนด้วยพลังบวร โดยกำหนดให้มีกำรคัดเลือก ชุมชนคุณธรรมต้นแบบ
โดดเด่น ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2564 ตำมแนวทำงกำรคัดเลือก ชุมชน องค์กร อำเภอ และจังหวัด
คุณธรรมต้นแบบโดดเด่น ให้คณะอนุกรรมกำรส่งเสริมคุณธรรมระดับจังหวัด คัดเลือกชุมชนคุ ณธรรม
ตน้ แบบ โดดเด่น จังหวัดละ ๑ ชมุ ชน เพ่อื รับโล่จำกประธำนกรรมกำรส่งเสรมิ คณุ ธรรมแห่งชำติ

จังหวัดนครพนม โดยสำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดนครพนม ได้จัดทำเอกสำรผลงำนเข้ำรับ
กำรคัดเลือก จำนวน ๑ ชุมชน คือ ชุมชนคุณธรรมน้อมนำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ขับเคลื่อน
ด้วยพลังบวร บ้ำนท่ำเรือ ตำบลท่ำเรือ อำเภอนำหว้ำ จังหวัดนครพนม โดยทุกภำคส่วนได้ช่วยกัน
ดำเนินกำรมำโดยลำดับ ในปัจจุบันมีผลกำรดำเนินงำนเป็นที่น่ำยินดี สมควรจัดทำเอกสำรเพ่ือเข้ำรับ
กำรคดั เลือกและเปน็ เกียรติประวตั ิแก่ชุมชนคุณธรรมบำ้ นท่ำเรือสบื ไป

ชมุ ชนคณุ ธรรมน้อมนำหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
ขบั เคลื่อนดว้ ยพลงั บวร ตน้ แบบ บ้ำนท่ำเรอื ตำบลท่ำเรอื
อำเภอนำหว้ำ จังหวัดนครพนม

การคัดเลือกชมุ ชนคุณธรรมฯ ตน้ แบบ โดดเดน่

ข้อมูลท่วั ไป

ด้านท่ี ๑ การขับเคล่อื นชมุ ชนคณุ ธรรมดว้ ยพลัง บวร ๑ - ๓๗

ดา้ นที่ ๒ ความสาเรจ็ ของการขับเคลื่อนชมุ ชนด้วยมติ ิ : หลักธรรมทางศาสนา ๓๘

ด้านที่ ๓ ความสาเร็จของการขบั เคลือ่ นชมุ ชนด้วยมิติ : หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๓๙ – ๔๓

ด้านที่ ๔ ความสาเรจ็ ของการขบั เคล่ือนชุมชนดว้ ยมติ ิ : วิถวี ัฒนธรรมไทย ๔๔ – ๖๙

ดา้ นที่ ๕ การกระจายข้อมลู ขา่ วสาร และการบรู ณาการงาน/โครงการ/กิจกรรม ๗๐ – ๙๔

ดา้ นที่ ๖ ความพร้อมด้านการท่องเท่ยี ว และเศรษฐกิจ ๙๕ – ๑๓๗



๑. ข้อมลู ตำบลท่ำเรอื

๑.๑. ประวตั ิบำ้ นทำ่ เรอื
บ้านท่าเรือตั้งขึ้นเมื่อราวปี พ.ศ.๒๔๓๕ โดยมีราษฎรกลุ่มหน่ึงประมาณ ๓๐ คน นาโดยนาย

ไชยราช, นายศรีวงษา ได้พากันอพยพมาจากหมู่บ้านไร่ - อีเป (อาเภออานาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานีใน
ขณะน้ัน) มายังบ้านนาซ่อม เนื่องจากพื้นที่หมู่บ้านเดิมเป็นเขตแห้งแล้งน้ากินนาใช้ขาดแคลน ทาไร่นาได้ผล

น้อยไม่พอกิน ส่วนท่ีใหม่คือบ้านนาซ่อมนนั้ อยู่ในบริเวณลุ่ม ใกล้แม่น้าอูน แม่น้าก่า แม่น้าสงคราม เป็นพื้นที่
อดุ มสมบรู ณ์กว่ามาก รวมถงึ พ้ืนที่สาหรบั ทากนิ ยงั กว้างขวางเพียงพอต่อการทาไร่ทานา ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๔๕
มผี พู้ าเคล่ือนย้ายไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๑ กิโลเมตร เป็นพ้นื ทเ่ี นินสูงกวา่ ทเ่ี ดิม มสี ภาพเปน็ ปา่ เต็งรงั และ

บริเวณด้านทิศตะวันออกเป็นท่ีราบลุ่ม มีหนองน้าเล็ก ๆ มีต้นไม้ใหญ่ใบหนาซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ต้นแต้”
(ภาษากลางเรยี กไมม้ ะคา่ แต้ เปน็ ตน้ ไม้เนอ้ื แขง็ ชนิดหน่ึง) ต่อมาจึงพากันเรยี กชื่อหมู่บา้ นตามสัญลักษณต์ ้นไม้นี้

ว่า “บ้านแต้” หมู่ ๑๔ ตาบลทา่ บอ่ สงคราม อาเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม นบั แตน่ ั้นเปน็ ตน้ มา
ในราวปี พ.ศ.๒๔๘๐ ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝนมีน้ามากและไหลเชื่อมโยงกับแม่น้าสายใหญ่ๆ ได้แก่

แม่น้าอูน แม่น้าสงคราม แม่น้าโขง เป็นต้น ได้มีชาวบ้านที่มาจากตาบลท่าบ่อสงคราม (ปัจจุบันคืออาเภอศรี

สงคราม) นาเรอื สินคา้ (ชาวบา้ นเรียกว่า เรอื กระแซง) มาทางเรือขนาดใหญ่บรรทกุ สินค้าประเภทอาหาร ได้แก่
ปลาแห้ง ปลาร้า เป็นต้น และของป่า ได้แก่ หวาย หน่อไม้ เห็ด สีเสียด ผลไม้ เป็นต้น มาจอดเทียบฝ่ังท่หี นอง

น้าทางตะวันตกเฉียงเหนือของหมู่บ้าน ห่างออกไปประมาณ ๕๐๐ เมตร เพื่อมาขายและแลกเปล่ียนสินค้า
ระหว่างสนิ ค้าทนี่ ามาแลกกบั ข้าวของชาวบา้ น

ต่อมา พ.ศ.๒๔๙๔ ทางราชการได้ยกฐานะกง่ิ อาเภอบ่อศรีสงครามขน้ึ เป็นอาเภอ นายเหล่ียม

บินศรี ซ่ึงเป็นผู้ใหญ่บ้านในขณะน้ัน ได้มาประชุมชาวบ้านและมีมติตกลงให้มีการเปลี่ยนชื่อหมู่บ้าน ที่เป็น
ทางการจากเดิมว่า “บ้านแต้” เปล่ียนเป็น “บ้านท่าเรือ” โดยอ้างอิงเหตุผลท่ีมีเอกลักษณ์เป็นท่าเรือสินค้ามา

จอดเทยี บฝั่งเปน็ ประจานน่ั เอง และใช้ชอ่ื น้ีเป็นชื่อทางการของหมบู่ ้านต้งั นั้นเปน็ ตน้ มา และมีชาวบ้านบางส่วน
กย็ งั เรียกชื่อเดมิ อยู่บ้าง

ปี พ.ศ.๒๕๑๔ ตาบลนาหวา้ ได้ยกฐานะเป็นกิง่ อาเภอนาหวา้ บา้ นทา่ เรอื ก็ได้อยใู่ นเขตหมู่ท่ี ๑

ตาบลนาหวา้ ก่ิงอาเภอนาหวา้
ปี พ.ศ.๒๕๑๘ บ้านท่าเรือ หมู่ที่ ๑ ได้แบ่งการปกครองออกเป็น ๒ หมู่ คือหมู่ที่ ๑ และหมู่ท่ี

๒ โดยมีนายอุดร บินศรเี ป็นผ้ใู หญบ่ า้ นในขณะน้ัน
ปี พ.ศ.๒๕๓๐ เขตพื้นท่ีของหมู่บ้านทา่ เรือ บา้ นนาซ่อม และบ้านบะหว้า ได้ยกฐานะหมู่บ้าน

ทา่ เรือ เปน็ ตาบลทา่ เรือ

ปี พ.ศ.๒๕๔๕ บ้านทา่ เรือแบง่ ออกเปน็ ๓ หมู่ คือหม่ทู ี่ ๑ หมู่ท่ี ๒ และหมทู่ ่ี ๘

๑.๒. สภำพทำงภูมิศำสตรพ์ ืน้ ที่

บา้ นทา่ เรือ มรี ะยะทางหา่ งจากอาเภอนาหว้า ประมาณ ๖ กโิ ลเมตร พื้นท่สี ่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่
ราบลุ่ม มีสภาพเป็นป่าเต็งรังและมีป่าละเมาะกระจายอยู่ท่ัวไป บางพ้ืนที่เป็นท่ีราบสูง ทางทิศตะวันตกของ
หมู่บ้านมแี มน่ า้ ท่เี ชือ่ มต่อไปยงั แม่น้าสงคราม (ชาวบา้ นเรียก “ห้วย”) และทสี่ าคญั ดินในพน้ื ที่เปน็ แหล่งดินเค็ม
มเี กลือปนอยปู่ ระมาณ ๕๐% ถอื เป็นแหลง่ ดนิ ทมี่ คี วามเค็มทีส่ ดุ ของจงั หวัดนครพนม

๑.๓ อำณำเขตของหม่บู ้ำน บา้ นเสยี ว/บ้านโคกสะอาด ตาบลบา้ นเสยี ว อาเภอนาหว้า จังหวดั นครพนม
ทิศเหนือ จด บา้ นสามแยก ตาบลทา่ เรือ อาเภอนาหวา้ จงั หวดั นครพนม
บา้ นนาซ่อม ตาบลท่าเรอื อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม
ทิศใต้ จด บ้านเม่น ตาบลบะหว้า อาเภอพรรณนานิคม จงั หวดั สกลนคร
ทิศตะวันออก จด
ทิศตะวนั ตก จด

๑.๔ จำนวนหลงั คำเรือนและประชำกรของหม่บู ้ำน ขอ้ มูลจำก จปฐ. ปี ๒๕๖๓

หมู่ท่ี ๑ จานวน ๒๕๖ หลงั คา ประชาการชาย ๓๘๕ คน ประชากรหญงิ ๔๑๘ คน รวม ๑,๐๙๖ คน
หมทู่ ่ี ๒ จานวน ๑๗๕ หลงั คา ประชาการชาย ๔๓๒ คน ประชากรหญงิ ๔๖๖ คน รวม ๖๗๕ คน
หมู่ที่ ๘ จานวน ๑๘๐ หลงั คา ประชาการชาย ๓๘๓ คน ประชากรหญงิ ๓๙๗ คน รวม ๗๙๖ คน
รวมท้งั หมด ๖๑๑ หลงั คาเรือน ประชาการชาย ๑,๒๗๖ คน หญิง ๑,๒๙๑ คน รวม ๒,๕๖๗ คน

๑.๕ ผลงำนและรำงวลั ดเี ดน่ ที่บำ้ นท่ำเรือได้รับในอดตี - ปจั จุบนั
ในปี พ.ศ.๒๕๑๐ ทางราชการไดเ้ ปิดเขตพฒั นา มีเจ้าหนา้ ที่กรมพฒั นาชุมชน นาโดยพฒั นาการอาเภอ

นาหว้า (นายประศักดิ์ ไม่ทราบนามสกุล) พร้อมเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่าง ๆ ได้ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน โดยมี
อาจารย์วิรุฬห์ (ครูใหญ่โรงเรียนบ้านท่าเรือ ต่อมาเปล่ียนชื่อเป็นโรงเรียนราษฎร์สามัคคี) เป็นผู้นาการพัฒนา
ร่วมกับคณะกรรมการหมบู่ า้ นและชาวบ้าน มกี ารวางแผนร่วมมอื กนั และตดั ถนนภายในหมู่บ้านจนสาเร็จเป็นท่ี

นา่ พอใจ
ปี พ.ศ.๒๕๑๖ ทางราชการได้คัดเลือกบ้านท่าเรือ เข้าประกวดหมู่บ้านพัฒนาเป็นตัวแทนของจังหวัด

เข้าประกวดในระดับเขตและระดับภาค ตามลาดับ หลังจากนั้นช่ือของหมู่บ้านท่าเรือจึงเร่ิมเป็นท่ีรู้จักมากขน้ึ
ชาวบ้านและคณะกรรมการหมู่บ้านได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านต่าง ๆ จากส่วนราชการท่ี
เกยี่ วขอ้ งมาโดยลาดบั

ปี พ.ศ.๒๕๑๘ ทางราชการ ไดแ้ บง่ เขตปกครองของหมูบ่ ้านท่าเรอื ออกเป็น ๒ หมู่ คอื หมู่ ๑ และหมู่ ๙ (ตอ่ มา
เป็น หมู่ ๒) ต.นาหว้า กงิ่ อ.นาหว้า จ.นครพนม

ปี พ.ศ.๒๕๓๐ บา้ นท่าเรือไดย้ กฐานะขึน้ เปน็ “ตาบลท่าเรอื ” มกี ารเลือกตั้งกานันคนแรก คือ นายอุดร
บินศรี ผูใ้ หญบ่ า้ นหมู่ ๒ ในขณะนน้ั

ปี พ.ศ.๒๕๓๖ ทางอาเภอนาหว้า ได้คัดเลือกบ้านท่าเรือ เป็นหมู่บ้านพัฒนา อันดับที่ ๑ ระดับอาเภอ

และได้ อนั ดับท่ี ๒ ระดบั จงั หวดั
ปี พ.ศ.๒๕๓๙ ไดร้ ับคดั เลือกเปน็ หมู่บ้านนครพนมพัฒนา (ระดบั อาเภอ)

ปี พ.ศ.๒๕๔๑ ไดร้ บั คัดเลอื กเป็นหมบู่ ้านวฒั นธรรมเข้มแขง็ (ระดบั อาเภอ)
ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ได้รบั คัดเลอื กเป็นชมุ ชนส้ภู ัยเศรษฐกิจดีเด่น (ระดบั จังหวดั )

ปี พ.ศ.๒๕๔๓ ได้รับคดั เลอื กเป็นตาบลสีเขียวขจดี เี ด่น (ระดบั จงั หวดั )
ได้รบั รางวลั ชนะเลิศการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพ่งึ ตนเองดีเด่น (ระดบั จังหวดั )

ปี พ.ศ.๒๕๔๔ รางวัลชมเชย ชุมชนการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพ่ือการพึ่งตนเองดีเด่น มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม

ปี พ.ศ.๒๕๔๔ ตาบลท่าเรอื และรางวัลกลมุ่ ทอผ้าไหมดเี ด่น ระดบั จังหวดั นครพนม
ปี พ.ศ.๒๕๔๕ ทางราชการ ได้แบ่งเขตปกครองของบ้านทา่ เรอื ออกเปน็ ๓ หมู่ (๑, ๒ และ ๘)
ปี พ.ศ.๒๕๔๙ ไดร้ บั การจดั ให้เป็นหมู่บ้านหนึง่ ตาบลหน่งึ ผลิตภัณฑ์ (OTOP) ตวั แทนจงั หวัดนครพนม

และระดบั ประเทศ
ปี พ.ศ.๒๕๕๐ ไดร้ ับรางวัลหมู่บ้าน OVC สู่การท่องเทยี่ ว โดยสานักงานวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาด

ยอ่ ม
ปี พ.ศ.๒๕๕๑ ได้รับรางวัลชนะเลิศ “โครงการนครพนมเมืองน่าอยู่” (นายบุญสนอง บุญมี เป็นผู้ว่า

ราชการจงั หวัด) ตามนโยบาย คติพจน์ ๙ ประการ

ปี พ.ศ.๒๕๕๒ ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลศิ “การประกวดหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง” ระดบั จงั หวดั
ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ได้รับรางวลั รองชนะเลศิ “โครงการประกวดชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง” ระดับประเทศ

ปี ๒๕๕๓ สานักงานคณะกรรมการประสานงานพเิ ศษอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ (สานกั งาน ก.ป.ร.)
ปี พ.ศ.๒๕๕๕ ได้รับรางวัลหมู่บ้านส่งเสริมประชาธิปไตยตัวอย่าง สานักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์
แหง่ ชาติ สานักปลัดนายกรฐั มนตรี

ปี พ.ศ.๒๕๕๗ รางวลั ชนะเลิศ “กล่มุ ธ.ค.ก.ต.ท่าเรอื ดีเด่น” ระดับเขต ๔ กรมปศุสตั ว์
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ รางวลั ๑๐ สดุ ยอดชุมชนคุณธรรมต้นแบบ เทดิ ไทส้ ถาบนั พระมหากษตั ริย์

ผ้บู ริหำรองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ (องค์กำรบริหำรส่วนตำบล - เทศบำลตำบล)
ได้รับการยกฐานะจากสภาตาบลเปน็ “องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลท่าเรือ” เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๖

มีผบู้ รหิ ารเปน็ ตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตาบลทา่ เรอื คอื

๑. นายสงั วร ชัยปัญหา
๒. นายสุกร ชยั บิน

๓. นายสนุ ทร ชาสงวน
และได้รับการยกฐานะเปน็ “เทศบาลตาบลท่าเรือ” เมื่อวนั ที่ ๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ มนี ายกเทศมนตรีตาบล
ท่าเรอื คนแรก คือ นายสกุ ร ชัยบนิ (ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๕๕๗ – ปัจจบุ นั )

ทำเนียบผนู้ ำชุมชน ของบำ้ นทำ่ เรอื

บา้ นท่าเรอื มีผูน้ าในหมบู่ า้ น (ผูใ้ หญบ่ ้าน) จากอดีตจนถงึ ปจั จุบนั มีดังนี้ คือ

๑. นายไชยราช

๒. นายพนั บนิ ศรี

๓. นายเหล่ียม บินศรี

๔. นายสมพร แสนสุรยิ วงศ์

๕. นายสมร ชยั บิน

๖. นายอดุ ร บินศรี

๗. นายณรงค์ บินศรี

๘. นายอทุ าน ชาสงวน ผใู้ หญ่บ้านหม่ทู ี่ ๑

๙. นายประสทิ ธิ์ แมดมิ่งเหง้า ผ้ใู หญบ่ ้านหมทู่ ่ี ๒

๑๐. นายสากล เปาวะนา ผู้ใหญบ่ า้ นหมทู่ ่ี ๘

๑๑. นายประหยดั ชัยบิน ผใู้ หญ่บา้ นหมทู่ ี่ ๒ (ได้รบั รางวัลผใู้ หญบ่ า้ นยอดเย่ยี ม ปี ๒๕๕๓)
๑๒. นายราวี แมดมิ่งเหงา้ ผ้ใู หญ่บา้ นหมทู่ ่ี ๘ (ไดร้ ับรางวลั ผใู้ หญบ่ า้ นยอดเยย่ี ม ปี ๒๕๕๓)
๑๓. นายจานง แสนสุริยวงศ์ ผู้ใหญ่บา้ นหมทู่ ี่ ๑ (ปี ๒๕๕๓)
๑๔. นายขุนเทือง ชาสงวน ผใู้ หญ่บา้ นหมู่ท่ี ๑ (ปจั จบุ นั )

ทำเนยี บกำนันตำบลทำ่ เรือ ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๓๐ – ปัจจบุ ัน มีดังนี้ คือ

๑. นายอุดร บินศรี (กานนั ดีเดน่ ระดับจังหวัด ปี ๒๕๓๖)
๒. นายสมพร แสรสรุ ยิ วงศ์
๓. นายสกุ ร ชยั บนิ (กานนั ดเี ด่นระดับจงั หวดั พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๔๔)

๔. นายบัวเรยี น ทะทามงั
๕. นายอุทาน ชาสงวน

๖. นายประยง ชยั บนิ
๗. นายจานง แสนสรุ ิวงศ์
๘. นายกลุ แก้วลา (ปัจจุบัน)

๑.๒ ขอ้ มลู วัดศรีโพธิ์ชยั

ประวัติวดั ศรีโพธ์ชิ ัย

วัดศรีโพธิ์ชัย เป็นวัดราษฎร์ ตง้ั อย่เู ลขที่ ๓๙๙ หมทู่ ่ี ๑ บา้ นทา่ เรอื ตาบลท่าเรือ อาเภอนาหว้า จงั หวัด
นครพนม ได้รับพระราชทานวสิ ุงคามสีมา เม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๐ เป็นวัดในเขตการปกครองสงฆม์ หานิกาย คณะสงฆ์
ตาบลทา่ เรอื เขต ๑ อาเภอนาหว้า จังหวดั นครพนม

วัดศรีโพธิ์ชัย สร้างเมือ่ ประมาณ ปี พ.ศ. ๒๔๔๕ มอี ายปุ ระมาณ ๑๑๗ ปี พืน้ ทตี่ ้ังวัดเปน็ ทรี่ าบลมุ่ มีเนื้อ
ท่ีทง้ั หมด ๖ ไร่ ๒ งาน ๒๘ ตารางวา โฉนดท่ดี ินเลขที่ ๙๓๑๗ มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กับพน้ื ทด่ี นิ ตา่ ง ๆ ดังน้ี

ทิศเหนือ จด ทด่ี ิน นายพลู ศรี แก้วอินธิ
ทศิ ใต้ จด ทีด่ ิน นายดวงดี วะชุม
ทิศตะวนั ออก จด ท่ดี ิน นางประมวล ผงอนิ ธิ
ทิศตะวนั ตก จด ท่ดี ิน นายอทุ ัย ชาสงวน

เดมิ ชอ่ื วดั ยำนนำวำ เพราะอยใู่ กล้ลาหว้ ยหนองเรือ และมเี รือนาสนิ ค้ามาแลกขายและแลกเปลี่ยนเป็น
ประจา ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ได้เปลี่ยนชื่อวัด จากวัดยานนาวาเป็น วัดโพธิ์ชัย ท่ีชื่ออย่างน้ัน เพราะมี
สัญลักษณ์ที่โดดเด่น คือต้นโพธ์ิใหญ่ใบดกหนา ๒ ต้น มีอายุประมาณ ๑๑๓ ปี ซ่ึงเกิดเองจากธรรมชาติอยู่ใน
บริเวณวัด ต่อมา เมือ่ ประมาณ ปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ในสมยั หลวงพอ่ ศรีแก้ว รตนฺ ปญโฺ ญ เป็นเจ้าอาวาส ไดเ้ ปล่ยี นชื่อ
อกี ครง้ั จากวดั โพธิช์ ยั เปน็ วัดศรโี พธชิ์ ยั และใช้ช่อื ว่า วัดศรโี พธ์ิชัย ตงั้ แต่น้ันมาจนถงึ ปจั จบุ นั

มีพระสงฆ์ท่ีทำหนำ้ ท่บี รหิ ำรเปน็ เจ้ำอำวำสตั้งแตอ่ ดตี – ปจั จบุ นั จำนวน ๑๕ รูป ดังน้ี

๑.หลวงพ่อยาน ๒.หลวงพ่อชินชยั

๓.หลวงพอ่ ลี ๔.หลวงพ่อทอง ปรสิ ุทโฺ ธ

๕.หลวงพอ่ บง ขนฺติโก ๖.หลวงพ่อศรีแก้ว รตฺนปญฺโญ

๗.หลวงพ่ออดุ ร อนธฺ วโร ๘.พระแสง

๙.พระเทวา สุจิตโฺ ต ๑๐.หลวงพอ่ ทา อายวุ ฑฺฒโก

๑๑.หลวงพอ่ ผัน ธมฺจติ ฺโต ๑๒.พระเสง็ ปภากโร

๑๓.พระมหาชาญณรงค์ สเุ มโธ ๑๔.พระอธกิ ารยอดชาย ชาครจติ โฺ ต

๑๕.พระมหาเอกฉนั ท์ เอกคฺคจิตโฺ ต (ปัจจุบัน)

วัดศรีโพธิ์ชัย ได้รับการบริหารจัดการจากฝ่ายสงฆ์ และการสนับสนุนอุปถัมภ์จากฝ่ายพุทธศาสนิกชน

ชาวบ้านท่าเรือมาเป็นอย่างดีและเรียบร้อย มีศาสนสมบัติและศาสนวัตถุท่ีก่อสร้างอย่างเพียงพอต่อการปฏิบัติ
ศาสนกิจและเป็นสถานท่ีสาหรับชาวบ้านท่าเรือได้บาเพ็ญกุศล ทั้งอุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ หอระฆัง หอ
อานวยการบาตรสวรรค์ เป็นต้น ต่อมาอุโบสถหลังเดิมมีการชารุดทรุดโทรมมากแล้ว ดังน้ันในปี พ.ศ. ๒๕๔๗

พระมหาชาญณรงค์ สุเมโธ เจ้าอาวาสในขณะนัน้ ได้นาพาชาวบ้านปรับปรงุ อุโบสถหลังเดิม โดยใช้วิธีการสร้าง
อุโบสถหลังใหม่ครอบทับหลังเดิม เริ่มสร้างเม่ือ พ.ศ.๒๕๔๗ - ๒๕๕๐ ดาเนินการกอ่ สร้างประมาณ ๔ ปี จึงแล้ว

เสร็จ และทาการฉลองอุโบสถในปี ๒๕๕๐ งบประมาณค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างมาจากแรงศรัทธาจากญาติโยม
ชาวบ้านท่าเรือ พุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธาทว่ั ไป และผา้ ปา่ สามัคคีของลูกหลานบ้านท่าเรือท่ีเดินทางไปทางาน
ต่างถิ่นและต่างประเทศ

พระพุทธรูปภายในอุโบสถ เป็นพระพุทธรปู โบราณ ปางมารวิชัย ใช้ชื่อตามวัดว่า “พระพุทธศรีโพธิ์ชยั ”
เป็นพระพุทธรูปทอี่ ยคู่ ู่บา้ นท่าเรือ สรา้ งตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยพระครูสอน พรอ้ มญาตโิ ยม นามาประดิษฐานใน

อุโบสถวัดศรีโพธ์ิชัยบ้านท่าเรือ ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะกราบไหว้บูชา และเป็นศูนย์รวมยึดเหน่ียวจิตใจของ
ชาวบา้ นทา่ เรอื เสมอมา

สงิ่ ปลกู สรำ้ งเพ่ิมเตมิ ในเขตพ้ืนทวี่ ัด มดี งั นี้

๑. ศนู ยเ์ รียนรู้ชมุ ชนบ้านท่าเรือ ๒. ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ วดั ศรโี พธ์ชิ ยั

๓. ศนู ย์ศิลปาชีพทอผ้าไหมมัดหม่ี ๔. ศนู ย์แสดงสินค้าวฒั นธรรมตาบลท่าเรือ

๕. พิพิธภณั ฑ์บิดาแคน ๖. ศนู ย์ศึกษาพทุ ธศาสนาวันอาทิตย์วดั ศรโี พธช์ิ ัย

งำนเผยแผ่

พระมหาเอกฉนั ท์ เอกกคฺคจิตโฺ ต เจา้ อาวาสวดั ศรโี พธช์ิ ัย มนี โยบายดา้ นการเผยแผส่ าคัญ ๆ ดังต่อไปนี้

๑. จดั โครงการปฏิบตั ธิ รรมประจาปี ในช่วง วันที่ ๑๕ – ๒๐ ธันวาคม ของทกุ ปี

๒. จัดโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดรู ้อน เปน็ ประจาทุกปี

๓. จัดกจิ กรรมในวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา

๔. จดั กจิ กรรมในวันสาคัญของชาติ

๕. จดั กจิ กรรมธรรมสญั จร นาญาตโิ ยมไปรว่ มโครงการปฏบิ ัติธรรมวดั ตา่ ง ๆ

๖. เปดิ โอกาสใหญ้ าติธรรมทงั้ อบุ าสก – อุบาสกิ าผสู้ นใจ เข้ามาศึกษาและปฏิบัติภายในวดั ไดต้ ลอดปี

มที ่ีพกั อาศยั ให้อย่างเหมาะสมและเพยี งพอต่อการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ

ดา้ นที่ ๑

การขบั เคล่ือนชมุ ชนคณุ ธรรม ดว้ ยพลงั บวร
(บา้ น-ชมุ ชน/วดั -ศาสนสถาน/โรงเรยี น-
ราชการ)

ดา้ นที่ ๑

กระบวนการขบั เคล่ือนชมุ ชนคณุ ธรรมนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง 9 ขนั้ ตอน

ขอ้ ๑. กระบวนการขบั เคล่ือนชุมชนคุณธรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 9 ข้นั ตอน ของ
ชมุ ชนคุณธรรมบา้ นท่าเรอื ตาบลท่าเรอื อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม

ขน้ั ตอนที่ 1 ชุมชนคณุ ธรรมบา้ นท่าเรอื มีขอ้ ตกลงร่วมกันของชุมชน เป็นประกาศเจตนา
รมณห์ รอื ขอ้ ตกลงของชุมชนคุณธรรมโดยคนในชุมชนรว่ มกันทีจ่ ะพฒั นาให้เปน็ ชุมชนคุณธรรมรว่ มกัน

ข้ันตอนที่ 2 ชมุ ชนคุณธรรมบา้ นทา่ เรือ มกี ารกาหนดเปา้ หมายของชมุ ชนร่วมกนั ในเป้าหมาย
ปัญหาที่ชมุ ชนอยากแก้ ความดีท่ีคนในชมุ ชนอยากทาร่วมกัน ทาใหช้ ุมชนมคี นดี สังคมดี อย่ดู ี มีสุข ปัญหาหมด
ไป เกดิ สง่ิ ดงี ามในชุมชน

ข้ันตอนท่ี 3 ชุมชนทาแผนชมุ ชน เพอ่ื แก้ไขปญั หาทอี่ ยากแก้และความดที อ่ี ยา

แผนพัฒนาสง่ เสรมิ คณุ ธรรมของ

ชมุ ชนรว่ มกนั

กาหนด โครงการ/กจิ กรรม กระบวนการดาเนินโครงการ

เป้าหมาย

ปัญหาชุมชนทอ่ี ยากแก้ ๑. ประชุมประชาคมหมบู่ ้าน เพือ่ ปรกึ ษาห

๑. ยาเสพติด ๑.โครงการปฏิบตั ิธรรม ๒. จดั ทาโครงการเพือ่ นาเสนอขออนมุ ตั ิ
ประจาปี ๓. ประชาสัมพันธโ์ ครงการ
๔. ดาเนินงานตามโครงการ

- นิมนต์พระวทิ ยากร
- จดั เตรียมสถานท่ีปฏิบัติธรรมให้เหมา
- เข้าอยู่ปฏบิ ัติธรรมในโครงการ อยา่ งเ
- สว่ นทีไ่ ม่ได้เข้าร่วม ตักบาตรตอนเชา้ ,
ฟงั พระธรรมเทศนาช่วงคา่ , และรับผดิ ชอบ
แบ่งกลุม่ ชาวบา้ นเพื่อรับผดิ ชอบในแต่ละว
- นักเรยี นรว่ มจัดสถานท,ี่ ทาวัตรสวดมน
ฟงั พระธรรมเทศนาช่วงคา่
- สรปุ โครงการเพือ่ นาเสนอรายงานผลแ
ทราบ

ากทา โดยกาหนดโครงการหรอื กจิ กรรมต่าง ๆ ไวอ้ ย่างชดั เจน

งชุมชนเก่ยี วกับปญั หาท่อี ยากแก้

สอดคลอ้ งกบั นโยบายไทย

ร/กิจกรรม หนว่ ยงาน/ผู้รับผดิ ชอบ นยิ ม ย่งั ยืนตามมติ

คณะรัฐมนตรี

หารอื วางแผนงาน - คณะสงฆ์วัดศรีโพธิ์ชัย ๙) ร่วมแกไ้ ขปญั หายาเสพ
- ผนู้ าชมุ ชน ๓ หมู่ ตดิ : ดว้ ยบูรณาการทกุ ภาค
าะสม ส่วนในการปอ้ งกนั และแกไ้ ข
เครง่ ครดั - คณะกรรมการหมบู่ า้ น ปัญหายาเสพติดอยา่ งครบ
,ทาวัตรสวดมนตเ์ ยน็ , - กลุ่มจิตอาสาทาดีดว้ ยหัวใจ
บเร่อื งอาหาร โดย วงจร
วนั ตลอดโครงการ - คณะคร-ู นักเรียนโรงเรียน
นตเ์ ย็น และ ราษฎรส์ ามคั คี
- คณะกรรมการการศึกษาขั้น

พนื้ ฐาน
- คนในชุมชนทั้ง ๓ หมู่

- เทศบาลตาบลท่าเรอื

แก่คนในชมุ ชนไดร้ บั



แผนพัฒนาสง่ เสริมคุณธรรมขอ

ชุมชนร่วมกัน โครงการ/กิจกรรม กระบวนการดาเนนิ โครงกา
กาหนด
เปา้ หมาย

ปัญหาชุมชนท่ีอยากแก้ ๑. ประชมุ ปรึกษาหารอื ชมุ ชนทัง้ ๓ ห
๒. จดั ทาโครงการนาเสนอ เพ่ือขออนมุ
๑. ยาเสพติด ๒. โครงการบรรพชา ๓. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนเดก็ และเยา
สามเณรภาคฤดรู ้อน
๔. ประสานวทิ ยากรจติ อาสาให้ความร
สอน การปฏบิ ตั ติ นในการดาเนนิ ชวี ติ

การอย่รู ่วมกนั ในสังคม
๕. ดาเนนิ งานตามโครงการ

- จดั ทาป้ายประชาสมั พันธ์

- จัดหางบประมาณ และเปน็ เจา้ ภ
- จัดทาปฏิทนิ /เอกสารการอบรม

- จัดทาเอกสารใบสมัคร/คาขอบรร
- แจกใบสมัคร รับสมัครเด็กและเย
ราษฎร์สามคั คี เปน็ กล่มุ เปา้ หมาย แล

เชน่ ร.ร.บา้ นตาล/ร.ร.บ้านโคกสะอาด
๖. ดาเนินการตามปฏทิ นิ ทก่ี าหนด/สร

องชมุ ชนเกยี่ วกบั ปัญหาทีอ่ ยากแก้

าร/กิจกรรม หนว่ ยงาน/ผู้รบั ผดิ ชอบ สอดคลอ้ งกบั นโยบายไทย
นิยม ย่งั ยืนตามมติ
คณะรัฐมนตรี

หมู่ - คณะสงฆ์วดั ศรีโพธชิ์ ยั ๙) รว่ มแกไ้ ขปญั หายาเสพ
ตดิ : ด้วยบรู ณาการทกุ ภาค
มตั โิ ครงการ - ผนู้ าชุมชน ๓ หมู่ ส่วนในการป้องกันและแกไ้ ข

าวชนเข้ารว่ มโครงการ - คณะกรรมการหมบู่ ้าน ปญั หายาเสพติดอยา่ งครบ
วงจร
ร้เู ก่ียวกับหลักธรรมคา - กลมุ่ จิตอาสาทาดีด้วยหวั ใจ

- คณะครู-นักเรยี นโรงเรยี น

ราษฎร์สามคั คี

- คนในชุมชนทัง้ ๓ หมู่

- เทศบาลตาบลท่าเรอื

ภาพบวช - กลมุ่ จิตอาสา

รพชาสามเณร
ยาวชนท่ีโรงเรยี น
ละโรงเรียนใกล้เคยี ง


รุปรายงานผล



แผนพฒั นาสง่ เสริมคุณธรรมขอ

ชมุ ชนรว่ มกนั โครงการ/กิจกรรม กระบวนการดาเนนิ โครงกา
กาหนด
เปา้ หมาย

ปญั หาชุมชนที่อยากแก้ ๑. ประชมุ ประชาคมหมบู่ ้านท้ัง ๓ หม
๒. สรุ า ๑. โครงการรักษาศีล ๕ ๒. ประชาสัมพันธ์เชญิ ชวนประชาชน
รว่ มโครงการรักษาศลี ๕ โดยการจัดท

ทัง้ ในชุมชน และในโรงเรยี นราษฎร์สา
๓. เชญิ ชวนประชาชน เด็กเยาวชนใน

ตกั บาตรในตอนเช้า หนา้ บา้ นตนเอง
๔. วนั พระ ๘ ค่า ๑๕ คา่ ร่วมพิธที างศ
อาราธนาศลี สมาทานศีล ๕ ทาบญุ ตกั

ถวายภตั ตาหารเชา้ แด่พระภิกษุสงฆ์สา
๕. วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ไดจ้

ตกั บาตร บริจาคทาน เจรญิ ภาวนาแล
ตอนเยน็ มีการเวียนเทียนรอบอโุ บสถ

องชุมชนเก่ยี วกบั ปัญหาท่ีอยากแก้

าร/กิจกรรม หน่วยงาน/ผูร้ ับผดิ ชอบ สอดคลอ้ งกับนโยบายไทย
นยิ ม ยั่งยืนตามมติ
คณะรัฐมนตรี

มู่ - คณะสงฆ์วดั ศรีโพธชิ์ ัย ๙) ร่วมแก้ไขปัญหายาเสพ
เด็กและเยาวชนเขา้ - ผนู้ าชุมชนทั้ง ๓ หมู่ ติด : ด้วยบรู ณาการ
ทาป้ายประชาสมั พันธ์ - ประชาชนในชุมชน ทุกภาคส่วนในการป้องกนั
ามัคคี
นชมุ ชนได้ร่วมทาบุญ - คณะกรรมการหมูบ่ า้ น และแก้ไขปญั หายาเสพติด
- โรงเรยี นราษฎร์สามัคคี อย่างครบวงจร
ศาสนา ไหว้พระ
กบาตร - กลุม่ จติ อาสา
ามเณร ฟังเทศน์
จดั กิจกรรมทาบุญ
ละฟงั พระธรรมเทศนา



แผนพัฒนาสง่ เสรมิ คุณธรรมขอ

ชุมชนร่วมกัน โครงการ/กจิ กรรม กระบวนการดาเนินโครงกา
กาหนด
เปา้ หมาย

ปัญหาชุมชนทอ่ี ยากแก้

๒. สรุ า ๒. โครงการงดเหล้า ๑. ประชุมประชาคมหมบู่ ้านทงั้ ๓ หมู่ เ
ความคดิ เหน็ ตามหลักประชาธิปไตย
เข้าพรรษา
๒. ลงมตแิ สดงความคดิ เหน็ ว่าในงาน

๓. โครงการลดละเลกิ สุรา แต่ละหม่จู ะไมใ่ หม้ สี ุรา
ในงานศพ
๓. ผนู้ าชุมชนนามตใิ นที่ประชมุ มาประ

ตามสาย ใหป้ ระชาชนได้รบั ทราบโดย

๔. แต่ละหมูไ่ ด้ปฏบิ ัติตามมติท่ีประชุม

๕. และแต่ละหม่เู มอื่ มีผ้ตู ายเกิดขน้ึ แต

กจ็ ะนานา้ ดื่มครวั เรือนละ ๑ แพ็ค หร

ไปร่วมทาบญุ ดว้ ย

๖. จัดอบรมให้ความร้เู ก่ียวกับสุรา ยา

เชญิ วิทยากร สาธารณสขุ โรงพยาบาล

ชมุ ชน/เจ้าหน้าที่ตารวจ จากสภ.ภธู รน

องชมุ ชนเก่ยี วกับปัญหาทอี่ ยากแก้

าร/กจิ กรรม หนว่ ยงาน/ผูร้ บั ผดิ ชอบ สอดคลอ้ งกับนโยบายไทย
นิยม ยงั่ ยนื ตามมติ
คณะรฐั มนตรี

เพือ่ ปรกึ ษาหารือ แสดง - ผู้นาชุมชน ๙) ร่วมแก้ไขปญั หายาเสพ
- เทศบาลตาบล ตดิ : ด้วยบูรณาการทกุ ภาค
นศพแตล่ ะศพ - รพ.สต.ทา่ เรอื สว่ นในการปอ้ งกนั และแก้ไข

ะกาศเสียง - ตารวจ ปญั หายาเสพติดอยา่ งครบ
ยท่ัวกัน - ผรส./อพ.ปร. วงจร
มประชาคมขอหมูบ่ ้าน
ต่ละครวั เรือน
รอื เงนิ ๒๐ บาท

าเสพติด โดย
ลสง่ เสริมสุขภาพ
นาหวา้ มาใหค้ วามรู้



แผนพัฒนาส่งเสริมคณุ ธรรมของ

ชุมชนร่วมกัน โครงการ/กจิ กรรม กระบวนการดาเนนิ โครงกา
กาหนด
เปา้ หมาย

ปัญหาชุมชนท่ีอยากแก้ ๑. ประชาสมั พนั ธ์เชิญชวน ชมุ ชน เดก็
เขา้ ร่วมโครงการออมทรัพย์วันละบาท
๓. หนีส้ ิน ๑.โครงการสจั จะออม ๒. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ การรับ
ทรัพย์ วนั ละบาท
๒. โครงการออมเพือ่ การ ๓. ดาเนินการตามโครงการ
ผลิต ๔. ประเมินผล รายงานผลการดาเนิน
๓. โครงการกองทุน
สวัสดกิ ารเด็กและ
ผสู้ งู อายุ

๔.โครงการปลูกผกั สวน ๑. ประชาสัมพันธ์เชิญชวน ชุมชน เดก็
ครวั ร้ัวกินได้ เขา้ ร่วมโครงการ

๕. การปลูกแตงร้านท่ี ๒. ปรับพืน้ ที่ และดาเนนิ การปลกู ผกั ส
หนองเรอื สารเคมี

๓. การปลูกแตงรา้ นทหี่ นองเรอื ทุกปีห
เสรจ็ ในช่วงเดือนธันวาคม – กมุ ภาพนั
ประเพณบี ุญสวนแตง มีการทาบญุ ตกั บ

งชุมชนเกยี่ วกับปัญหาทอ่ี ยากแก้

าร/กจิ กรรม หน่วยงาน/ผรู้ ับผิดชอบ สอดคล้องกับนโยบายไทย
นยิ ม ย่ังยนื ตามมติ
คณะรฐั มนตรี

กและเยาวชน - คณะกรรมการกองทนุ ๔) วิถไี ทยวถิ พี อเพียง : ด้วย
ท สวัสดกิ ารชุมชน ตาบลท่าเรอื การสง่ เสรมิ ให้นาหลักปรชั ญา
บผดิ ชอบ กลุ่มออมทรัพย์เพอ่ื การผลิต ของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้

นโครงการ แกไ้ ขปญั หาความยากจน ในการดาเนนิ ชวี ติ รวมท้ัง
- กลมุ่ จติ อาสา เสริมสร้างวนิ ัยการออมในทุก

- คณะคร-ู นกั เรยี น โรงเรยี น กลุ่มช่วงวัย
ราษฎร์สามคั คี
- เทศบาลตาบลท่าเรือ

กและเยาวชน - ผู้นาชมุ ชน ๓) ชุมชนอยู่ดีมีสขุ : การ
- ชมุ ชนท้งั ๓ หมู่ พัฒนาความเป็นอยู่ อาชพี
สวนครวั โดยไม่ใช้ และรายได้ใหแ้ ก่ประชาชน
- กลุ่มจิตอาสา - ปฏิรปู โครงสร้างการผลิต
หลังจากการทานา - คณะกรรมการ
นธ์ มกี ารจัดงาน ภาคการเกษตร
บาตรถวายภตั ตาหาร - คณะครู – นกั เรียน
โรงเรยี นราษฎร์สามคั คี
- เทศบาลตาบล



แผนพัฒนาส่งเสริมคุณธรรมขอ

ชมุ ชนร่วมกนั โครงการ/กิจกรรม กระบวนการดาเนินโครงการ
กาหนด
เป้าหมาย

ความดีทีอ่ ยากทา ๑. สารวจเดก็ และเยาวชน และผู้สนใจเ
พน้ื เมือง / การฟอ้ นราของชนเผา่
๑. การ โครงการส่งเสริมการ ๒. จัดทาเอกสารประกอบการฝึกอบรม
ส่งเสริมการ แสดงดนตรพี ืน้ เมอื งของ
แสดงดนตรี ชนเผ่า ๓. กาหนดปฏิทิน สถานที่ดาเนนิ การ
พ้ืนเมือง ๔. ดาเนินการถ่ายทอดการเลน่ ดนตรีพนื้

ฟ้อนราของชนเผา่ โดยเชญิ ภูมปิ ัญญาท
๕. ประสานหนว่ ยงาน องค์กรทเ่ี ก่ียวขอ้
ช่องทางให้วงดนตรพี ื้นเมอื งชนเผา ได้น

แสดง เพื่อสรา้ งรายได้และสบื สานศิลปว
ดนตรพี ื้นเมอื งชนเผ่า

๖. ประเมินผลรายงานผล

องชุมชนเกีย่ วกบั ความดีท่ีอยากทา

ร/กิจกรรม หน่วยงาน/ผรู้ บั ผดิ ชอบ สอดคล้องกับนโยบายไทย
นิยม ยง่ั ยนื ตามมติ
คณะรัฐมนตรี

เกย่ี วกบั ดนตรี - คร-ู นกั เรยี น โรงเรียนราษฎร์ ๓) ชมุ ชนอย่ดู มี สี ขุ : ด้วย

นเมือง และ การ สามัคคี การส่งเสริมใหเ้ ด็กและ
ทอ้ งถ่ินมาฝึกสอน
อง เพ่ือหาเวที - กลุ่มจติ อาสา เยาวชน จติ อาสา มคี วามรู้
นาเสนอผลงานการ
วัฒนธรรม - ผนู้ าชุมชน ความสามารถในการแสดง

- ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ดนตรีพ้นื เมอื ง การฟ้อนรา

ของชนเผา่ และสรา้ งรายได้

เสรมิ จากการแสดงดนตรี

พืน้ เมอื ง

๔) วถิ ไี ทย วถิ พี อเพยี ง :

ดว้ ยการให้เดก็ และเยาวชน

กล่มจติ อาสา

ได้สบื สานเอกลกั ษณ์

ศลิ ปะวัฒนธรรมดนตรี

พื้นเมือง การฟ้อนราชนเผ่า



แผนพฒั นาส่งเสรมิ คุณธรรมขอ

ชุมชนร่วมกนั โครงการ/กจิ กรรม กระบวนการดาเนนิ โครงกา
กาหนด
เปา้ หมาย

ความดที ีอ่ ยากทา ๑. ประชมุ ช้ีแจง และประกาศรับสมัค
จติ อาสาทาความดดี ้วยหวั ใจของแต่ละ
๒. การ โครงการ Big Cleaning ๒. สร้างความตระหนักและปลกู จิตสา
รวมกลุ่ม Day
จิตอาสา สะอาด สุขอนามยั แกค่ นในชมุ ชน โดย
สว่ นร่วม ทั้ง “บวร”

๑. กาหนดวนั -เวลาในสัปดาห์หนึ่ง กล
ดว้ ยใจ รว่ มกันทาความสะอาดคร้งั ใหญ
ในทกุ วนั เสาร์ ตามถนนหนทางในชมุ ช

ราชการ
๒. แตถ่ า้ สัปดาหใ์ ดมีวันสาคัญตา่ ง ๆ บ

จะร่วมกันพฒั นาทาความสะอาดในวนั
ให้สะอาด สวยงาม น่าอยู่
๓. ประกาศยกย่องผมู้ จี ิตอาสาในการร

ชมุ ชน วดั สถานทรี่ าชการ เป็นสรา้ งข
ความดีเพือ่ ส่วนรวม

แผนพัฒนาส่งเสริมคุณธรรมขอ

องชุมชนเกย่ี วกบั ความดที อ่ี ยากทา

าร/กจิ กรรม หน่วยงาน/ผ้รู ับผดิ ชอบ สอดคลอ้ งกบั นโยบายไทย
นิยม ยง่ั ยืนตามมติ
คณะรฐั มนตรี

ครความสมัครใจ - กล่มุ จิตอาสา ๑) สญั ญาประชาคม ผกู ใจ
ะหมู่ - ผู้นาชุมชน ไทยเปน็ หน่งึ ด้วยการให้คนใน
านกึ สรา้ งนสิ ัยรกั ความ - เทศบาลตาบลท่าเรือ ชุมชนมสี ว่ นรว่ ม เกดิ ความ
ยกระบวนการแบบมี
- วดั ในชุมชน ๓ หมู่ รกั ความสามัคคีรว่ มกนั ทา
ลุม่ จิตอาสาทาความดี - รพ.สต.ทา่ เรือ ประโยชน์เพื่อสว่ นรวม
ญ่ ๑ ครงั้
ชน วดั และสถานท่ี ๓) ชมุ ชนอยดู่ มี สี ขุ : ดว้ ย
การพฒั นา ศาสนสถานใน
ชมุ ชนให้มสี ภาพแวดลอ้ มทด่ี ี

สะอาด นา่ อยู่

บ้าน วดั โรงเรยี น ก็
นน้ันและสัปดาห์นั้น

ร่วมทาความสะอาด
ขวญั กาลังใจในการทา

องชุมชนเก่ียวกับความดที อ่ี ยากทา



ชุมชน

รว่ มกนั โครงการ/กจิ กรรม กระบวนการดาเนินโครงการ

กาหนด

เปา้ หมาย

ความดีท่ีอยากทา

๓. การสบื โครงการส่งเสริมเด็กและ ๑. หาครดู นตรพี ้ืนเมอื ง หรอื ครูภูมปิ ญั ญ

ทอด เยาวชน และผู้สนใจ สบื ในชมุ ชมุ ทมี่ ีจติ อาสาทาความดดี ้วยใจ ม

ภูมิปัญญา ทอดการผลิตเคร่ืองดนตรี และฝึกสอนการทาเครอ่ื งดนตรีพ้นื เมอื ง

ท้องถนิ่ พน้ื เมอื ง อยา่ งนอ้ ย ๑ ๒. ประชาสัมพันธ์ เชญิ ชวน เดก็ และเยา

ชนิด ผสู้ นใจ กลุ่มเป้าหมายรว่ มกจิ กรรม

๓. กาหนดหลักสูตร (เครื่องดนตรีพื้นเม

ดาเนินการโดยครจู ิตอาสาทาความดีด้วย

๔. ดาเนนิ การฝึกอบรมถา่ ยทอดความรู้

เคร่ืองดนตรีพนื้ เมอื ง (แคน พณิ โหวด โ

โดยใหเ้ ลือกทาอย่างน้อย ๑ ชนิด เลือกท

ความถนัด และความสนใจ

๕. ประเมนิ ผล รายงานผลการดาเนนิ โค

ร/กิจกรรม หน่วยงาน/ผรู้ บั ผดิ ชอบ สอดคลอ้ งกบั นโยบายไทย
นิยม ย่งั ยนื ตามมติ

คณะรัฐมนตรี

ญาท้องถ่นิ - กลุม่ จิตอาสาภมู ิปัญญา ๔) วถิ ีไทย วิถพี อเพียง :
มาถ่ายทอดความรู้ ทอ้ งถน่ิ ถ่ายทอดความรู้ ดว้ ยการส่งเสริม เดก็ เยาวชน

าวชน และ เครือ่ งดนตรพี ้นื เมือง รว่ มกันอนรุ กั ษ์ สืบสานศิลปะ
- ผนู้ าชมุ ชน ดนตรพี ื้นเมือง ซง่ึ เป็น
มือง) ปฏทิ ิน
ยหัวใจกบั ชุมชน - ครูภมู ปิ ญั ญา จากโรงเรียน เอกลักษณ์ของชาติ วถิ ี
การทา ราษฎร์สามคั คี วฒั นธรรมไทยให้คงอยสู่ ืบไป
โปงลาง)
ทาตาม

ครงการ



๑๐

ขน้ั ตอนที่ 4 ทาโครงการ หรอื จัดกจิ กรรมแก้ไขปัญหาของชุมชนและมีการส่งเสรมิ การทาความดี ทาตามแผน โดยมี
สว่ นร่วมของคนในชุมชน

๑.โครงการปฏิบตั ธิ รรมประจาปี

๒. โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดรู อ้ น

๓. โครงการรกั ษาศีล ๕

๑๑

ขน้ั ตอนท่ี ๕ ชุมชน มกี ารปรบั ปรุงแผนงานโครงการ กิจกรรม ทบทวน เพอ่ื ใหโ้ ครงการหรอื
กจิ กรรมมีคุณภาพ และเปน็ ประโยชนต์ ่อชมุ ชนคุณธรรม

การตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน โดย นางศศฑิ อณร์ สวุ รรณมณี
ผชู้ ่วยปลดั กระทรวงวัฒนธรรม

๑๒

ขน้ั ตอนท่ี 6 ชมุ ชนมกี ารประกาศ ยกย่องเชดิ ชูเกียรติ บคุ คลผู้ทาความดี และหรอื บุคคลผู้มีคุณธรรมในชมุ ชน
และหรือบุคคลอืน่ ทีท่ าความดีให้กบั ชมุ ชน

นายประหยัด ชยั บนิ ผใู้ หญบ่ า้ นหมทู่ ่ี ๒ ตวั แทนชมุ ชนบา้ นทา่ เรือ รบั ถว้ ยรางวลั พระราชทานชมุ ชนเศรษฐกจิ
พอเพียง รองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี ๑ ระดบั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓

รบั จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารี

นางสะอาด วะสาร ไดร้ างวัลเขม็ เชดิ ชเู กียรติ
ในดา้ นภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน (การทอผา้ ไหม) ปี ๒๕๖๑
จากสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปี หลวง

๑๓

นางอรพิณ แกว้ อินธิ ไดร้ บั รางวัลท่ี ๓ ในการทอผา้ ไหมลายลกู แกว้ ปี ๒๕๔๖
จากพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดศี รสี นิ ทรมหาวชิราลงกรณฯ์ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว

ณ ตาหนกั ภพู านราชนิเวศน์

นางไพริน จองบดุ ดี ไดร้ บั รางวัลชมเชย ผา้ มดั หมี่สีธรรมชาติ หนา้ พระบรมฉายาลกั ษณ์ ปี พ.ศ.๒๕๕๙
ณ ตาหนกั ภพู านราชนิเวศน์

๑๔

ขน้ั ตอนที่ 7 มคี วามสาเรจ็ ของชมุ ชนคณุ ธรรม จากการมสี ว่ นร่วมของคนในชมุ ชน และได้รบ
การสนับสนุนดา้ นตา่ งๆ จากหนว่ ยงานในพืน้ ที่ ทาให้คนในชุมชนมีคุณภาพชีวติ ที่ดีขึน้ ไมม่ ีการทะเลาะววิ าท
ไม่มีการลักขโมย ไมม่ ีการเล่นพนนั ไมย่ งุ่ เกีย่ วกบั ยาเสพติด มีการเกบ็ ออมเงนิ มีรายได้เพิม่ ทาให้คนในชุมชนมี
ความสุข

ชมุ ชนคุณธรรมฯ บ้านท่าเรือ ได้รับการสนบั สนนุ จากทุกสว่ นราชการในพน้ื ที่ โดยเฉพาะ
อย่างย่ิง เทศบาลตาบลท่าเรอื ไดส้ นับสนนุ ท้ังบุคลากรใหค้ วามรู้ อาคาร สถานท่ี รวมทั้งพฒั นาองคค์ วามรู้ให้
ชมุ ชนอย่างตอ่ เน่ือง ประชาชนทุกคนในชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการพฒั นาชมุ ชนและรว่ มกิจกรรมของชมุ ชน
โดยการทากิจกรรมตอ้ งใช้หลักความร่วมมอื ของ “บวร” ในการสรา้ งความสามัคคใี นชุมชน และน้อมนาเอา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาปรับใชใ้ นการดารงชวี ิต

๑๕

ขน้ั ตอนที่ ๘ ชุมชนมีการขยายผลต่อ โดยการนาหลกั ธรรมทางศาสนา หลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง และวถิ วี ฒั นธรรมทด่ี งี ามมาแกป้ ัญหาและพฒั นาชุมชน และสรา้ งคณุ ธรรมความดที ี่อยากทา

ดา้ นศาสนา

โครงการเขา้ วดั รักษาศีล ๕ วดั ศรีโพธิช์ ัย
ชักชวนและเปิดโอกาสให้ญาตโิ ยมที่มาถวาย

ภัตตาหารชว่ งเช้าท่วี ัด ลงสจั จปฏิญาณในการรกั ษา
ศลี ๕ ตามเจตนาของตน โดย มีรายละเอยี ดดังนี้

- ลงชือ่ - นามสกุล ผูม้ เี จตนารกั ษาศีล
- ใหเ้ ลือกทาเครอื่ งหมาย หน้าข้อท่ตี น

เจตนางดเว้นการลว่ งละเมิดตามท่ีต้ังใจ ดัง
รูปตวั อยา่ งด้านข้างนี้
- เชน่ วันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ มีผู้ที่ลงช่อื
รักษาศลี ๕ ทง้ั หมด ๔๓ คน มเี จตนารักษา
ศีลทง้ั ๕ ข้อ จานวน ๓๗ คน
- มเี จตนารกั ษาศีล ๔ ขอ้ จานวน ๖ คน
- มีเป้าหมายทีจ่ ะขยายผลในอนาคตอนั ใกล้น้ี

๑๖

ทกุ วนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
ชว่ งเชา้ ทาบญุ ตกั บาตรพระ - ชว่ งเย็นทาวัตรสวดมนต์ เวยี นเทยี น

ทาบญุ ตกั บาตร
สรงนา้ พระชว่ งเทศกาลสงกรานต์

๑๗

ดา้ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การทาเคร่ืองดนตรพี ื้นบา้ นอีสาน พิณ แคน โหวด โปงลาง ป่ี ภไู ท ผา้ ไหม
เป็ นการนาทนุ ทางวฒั นธรรม สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชน

๑๘

เครอื่ งดนตรีพ้นื บา้ นอสี าน เปน็ อาชพี ท่สี รา้ งรายไดใ้ หก้ ับชมุ ชนเป็นสว่ นใหญ่ ส่งขายท้งั ในและตา่ งประเทศ

การทาโปงลาง พิณสาเร็จรูป

การทาตุก๊ แกยางส่งโรงงานทีก่ รงุ เทพมหานคร

การทอผา้ ไหมมดั หม่ี การทาพณิ

๑๙

ดา้ นการรกั ษาสืบสานวฒั นธรรม

กิจกรรมเทดิ ทูนสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ เพ่ือความสามคั คีในชมุ ชน

ทกุ วันสำคญั ท่เี กยี่ วกบั สถำบนั พระมหำกษตั ริย์
จะนมิ นตพ์ ระทง้ั ๔ วัด รวมกนั รับทำนที่วดั ศรโี พธช์ิ ยั ทกุ รปู
ทำใหช้ ำวบำ้ นท่ำเรอื มีโอกำสถวำยภตั ตำหำรและลงนำมพระพรร่วมกนั ทง้ั หมบู่ ำ้ น

๒๐

กำรปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมของคนในชมุ ชนในทำงทดี ีขน้ึ ๓ ดำ้ น

การอบรมคุณธรรมจริยธรรมสาหรับเยาวชน เพอื่ ลด ละ เลกิ อบายมขุ

กจิ กรรมการเพ่ิมรายได้ ลดรายจ่าย

๒๑

กจิ กรรมการสรา้ งจิตสานกึ สบื ทอดความเป็ นไทย ประเพณีวฒั นธรรมของทอ้ งถ่ิน
ประเพณีสงกรานต์ของชุมชน

๒๒
กิจกรรมคนในชมุ ชนมีความสขุ เพิ่มมากข้ึน

การบวชเณรของบุตรในชมุ ชน เพ่ือสบื ทอดต่ออายุพระพุทธศาสนา บดิ ามารดากม็ คี วามสขุ ท่ีบตุ รหลานอยู่
ในรม่ เงาของพระพทุ ธศาสนา ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์

การปฏบิ ัติธรรมของประชาชนในชมุ ขนเปน็ การสรา้ งความสงบเย็นของตนเองนาพาใหค้ รอบครวั มคี วามสุข
เพิ่มมากข้นึ

๒๓

จติ อาสาทาความดดี ้วยหัวใจ ร่วมปลูกปา่ เพ่อื เพม่ิ ปา่ ใหก้ บั ชมุ ชน

ปนั่ จักรยานชมธรรมชาตใิ นชุมชน

๒๔

ขนั้ ตอนที่ 9 ชมุ ชนมอี งค์ความรู้ สามารถเปน็ แหล่งแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ศกึ ษาดูงาน ถ่ายทอดองค์ความรู้ใหก้ บั
ชุมชนอน่ื และขยายเครือข่ายเพื่อให้เกิดสงั คมคุณธรรม

ชมุ ชนคุณธรรมฯ ต้นแบบ บ้านท่าเรอื มีแหลง่ เรยี นรู้ทห่ี นว่ ยงาน ส่วนราชการตา่ งๆ สามารถเข้ามา
ศึกษาดงู าน แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ตัง้ แต่ดาเนินโครงการ จนถงึ ปัจจบุ ัน จำนวน 62 คณะ

คณะศึกษาดงู านและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ และการผลิตเครือ่ งดนตรพี น้ื บ้านอีสานผา้ ไหม

๒๕

นกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั นครพนม ศึกษาดูงาน ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ และการทาอาหารพนื้ ฐานของชุมชน

๒๖

ขอ้ 2. ผู้นำพลงั “บวร” ของชุมชน ครบ 3 องคป์ ระกอบและให้ควำมรว่ มมอื ในกำรขับเคล่ือน
กำรพัฒนำชมุ ชนอย่ำงเขม้ แข็งและตอ่ เน่ือง

ชุมชนคุณธรรมบ้านเรือ ประกอบด้วย 3 หมู่บ้าน คือ หมู่ 1,2,8 และมีผู้นา นายขุนเทือง
ชาสงวน ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 1 ,นายประหยัด ชัยบิน ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 2 , นายราวี แมดมิ่งเหง้า ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 8
ซึ่งในการทากิจกรรมของชุมชนคุณธรรม ผู้นาท้ัง 3 หมู่บ้านและคณะทางานของชุมชนคุณธรรมได้ร่วมกัน
ปรึกษาหารือในการทากิจกรรมของชุมชนคุณธรรมทุกกิจกรรม ซ่ึงผู้นาทั้ง 3 หมู่เป็นบุคคลท่ีมีความเข้มแข็ง
และมวี ิสยั ทศั นใ์ นการบรหิ ารจดั การชมุ ชนคุณธรรมเปน็ อยา่ งดี

พระมหาเอกฉนั ท์ เอกคฺคจิตฺโต นายสกุ ร ชยั บิน
เจ้าอาวาสวัดศรีโพธ์ชิ ัย นายกเทศมนตรีตาบลท่าเรือ

แนวคดิ และอดุ มการณ์ แนวคดิ และอดุ มการณ์
บ้าน วัด โรงเรยี น ราชการ มคี ณุ ธรรมจริยธรรม น้อมนา ชมุ ชนคณุ ธรรม ทงั้ ๓ หมบู่ า้ น มคี วามรกั ความ
หลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจา้ ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั สามคั คี อยเู่ ยน็ เป็นสขุ สงบร่มเยน็ ปลอดสงิ่ เสพตดิ
ชมุ ชนมีความสงบสุข ร่มเย็น ปลอดอบายมุขท้ังปวง

แนวคดิ และอดุ มการณ์

สง่ เสริมงานศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรม พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และอนรุ กั ษ์วัฒนธรรม
ประเพณีท่ดี ีงามของทอ้ งถ่นิ

นายสวาท โคตรบนิ
ปลดั เทศบาลตาบลทา่ เรือ

๒๗

นายขนุ เทอื ง ชาสงวน นายประหยดั ชยั บิน นายราวี แมดมงิ่ เหงา้

ผใู้ หญบ่ า้ น หม่ทู ี่ ๑ ผใู้ หญ่บา้ น หม่ทู ี่ ๒ ผใู้ หญบ่ า้ น หม่ทู ี่ ๘

ชุมชนมคี วามรกั ความสามคั คี ชุมชนมคี วามอยู่เยน็ เปน็ สุข มี ชมุ ชนท้ัง ๓ หมบู่ ้าน มี
ปลอดจากส่ิงเสพตดิ และมี ความรกั ความสามคั คี และปลอด คุณธรรม สามคั คี ปรองดอง
ความสงบสุขในชุมชน อบายมุข สคู่ ุณภาพชวี ติ ทดี่ ี ชมุ ชน และอนุรกั ษ์ศิลปะวฒั นธรรม
มคี วามเข้มแข็ง ของท้องถ่นิ

นายบญุ ธง ชยั บนิ นายสมสี แกว้ อินธิ นายธนติ ศกั ด์ิ อ่นุ ตา
ขา้ ราชการบานาญ ปราชญ์ชาวบา้ น วฒั นธรรมจงั หวดั นครพนม

เดก็ เยาวชนและประชาชน มี ชมุ ชนมีคณุ ธรรม มคี วามรกั ความ ส่งเสริม สนบั สนุนงานด้าน ศาสนา
คณุ ธรรม ศลี ธรรม จริยธรรมที่ สามัคคี อยู่ดีกินดี ตามวิถพี อเพียง ศิลปะและวัฒนธรรม นาปรชั ญา
ดงี าม นอ้ มนาหลักปรชั ญาของ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใชใ้ น
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นชีวติ การดารงชวี ิต

๒๘

ขอ้ 3. การมสี ่วนรว่ มระหวา่ งผู้นาพลัง “บวร” และคนในชมุ ชนในการแกป้ ัญหาและสรา้ งความดีงามให้
เกดิ ขึน้ ในชุมชน อย่างเขม้ แข็งและตอ่ เนอ่ื ง

ชมุ ชนคุณธรรมบ้านทา่ เรอื เป็นชมุ ชนทมี่ อี ดุ มการณก์ ารดาเนนิ ชวี ิตยึดมัน่ ในสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษตั ริย์ โดยผู้นาพลังบวรสง่ เสรมิ ให้ประชาชนในชุมชนได้นอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งมาปฏิบัตใิ นการดารงชีวติ ใชศ้ าสนา ศิลปะและวัฒนธรรมเป็นเคร่ืองยึดเหน่ยี วจติ ใจ นาทุนทาง
วฒั นธรรมมาสร้างมูลค่าทางเศรษฐกจิ ใหแ้ กช่ มุ ชนและทอ้ งถิ่น ยดึ หลักพอเพยี ง ปลกู ทุกอยา่ งทกุ กนิ กนิ ทุก
อย่างทปี่ ลกู มคี วามมน่ั คงทางอาหาร มกี ารรวมกลุ่มอาชีพทาเคร่อื งดนตรีอสี าน และ การทอผ้าไหม เปน็ อาชีพ
เสริม

29

ขอ้ ๔. นอ้ มนำศำสตร์พระรำชำ “หลักกำรทรงงำน จำนวน 24 ขอ้ มำใชใ้ นกำรขับเคล่อื นชุมชน ไม่น้อยกว่ำ 3 ขอ้
ประชาชนในชุมชนคุณธรรมฯ บ้านท่าเรอื ไดน้ าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต

ท้งั ในด้านสว่ นร่วมและด้านครอบครัว เช่น หลักเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนในชุมชนทุกครวั เรือน มีการปลกู ผักสวนครวั
ร้วั กินได้ ถ้ามีมากก็มกี ารแบ่งปัน หรอื แลกเปลยี่ นกันในชมุ ชน คนในชุมชนมีความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน พร้อมทั้งมี
ความรรู้ ัก สามัคคีในชมุ ชน การมีส่วนรว่ มของคนในชุมชนในการทากิจกรรมของชุมชนทกุ กิจกรรม

ดำ้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กำรมสี ่วนรว่ มในกำรพัฒนำชมุ ชนเปน็ ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม

กำรรรู้ ักสำมัคคีเพอ่ื ให้เกดิ สิ่งดงี ำมในชมุ ชน

๓๐

ขอ้ ๕. บคุ คล/หน่วยงาน/ชมุ ชนอ่ืน เขา้ มาศกึ ษาดงู านยังชมุ ชน หรือคนในชุมชนไปถา่ ยทอดความรู้ยังทีอ่ ืน่
รวมอยา่ งนอ้ ย 5 ครั้ง ในรอบปีทผ่ี า่ นมา

1.สานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพือ่ ประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งจากพระราชดาริ (กปร.) เยีย่ มชม
ชมุ ชนคุณธรรมฯ บ้านท่าเรอื

คณะศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ และการผลิตเครื่องดนตรีพนื้ บา้ นอีสานผ้าไหม

๓๑

2.นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั นครพนม ศกึ ษาดงู าน ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ และการทาอาหารพนื้ ฐานของชุมชน


Click to View FlipBook Version