The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jearanai, 2022-12-23 04:11:24

รายงานประจำปี 2565

รายงานประจำปี 2565

1

คานา

รายงานประจาปี ฉบับน้ีจัดทาเพ่ือนาเสนอผลการดาเนินการ และเผยแพร่การปฏิบัติงานตามพันธกิจ ขอ
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช ในปีพ.ศ. 2565 วิทยาลัยใช้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่พัฒนา
โดยสานักงานคณะกรรรมการประเมินของสถาบันพระบรมราชชนก ประกอบด้วย พันธกิจหลัก ได้แก่ ด้านการผลิต
บัณฑิต ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการ ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และด้านการบริหารจัดการ
ขอขอบคุณอาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนักศึกษาทุกท่าน ท่ีมีส่วนร่วมในการเนินงานตามพันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ
วทิ ยาลยั ให้สาเร็จลลุ ว่ งตามทีป่ รากฏในรายงานฉบับนี้ และหวงั เป็นอย่างย่ิงว่า รายงานประจาปีฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์
ตอ่ หนว่ ยงาน และบุคคลทเ่ี กี่ยวขอ้ งไดต้ ่อไป

ดร.พรี ะนันท์ิ จีระย่ิงมงคล
ผู้อานวยการวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั

2

สารบัญ

1. ข้อมลู พ้ืนฐาน 1
2. ตราสญั ลักษณ์ วิทยาลยั ดอกไมป้ ระจาวิทยาลยั 2
2. ปรชั ญา ปณธิ าน วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ วตั ถุประสงค์ อตั ลักษณบ์ ณั ฑติ และเอกลกั ษณว์ ทิ ยาลยั 3
3. โครงสร้างการบรหิ าร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช 5
4. หลักสตู รที่เปิดสอนในระดับปรญิ ญาตรี 6
5. หลักสูตรที่เปิดสอนในระดบั ปริญญาตรี 6
6. จานวนอาจารย์และบคุ ลากร 6
7. การเงนิ และงบประมาณ 7
8. พนั ธกจิ ผลิตบัณฑติ และพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพตามความตอ้ งการของสังคม 8
9. พันธกิจพัฒนาผลงานวจิ ยั ผลงานวชิ าการ และนวัตกรรมที่สามารถนาไปใช้ 10
ประโยชนใ์ นการพัฒนาชมุ ชน และสังคม
10. พนั ธกิจบรกิ ารวชิ าการเพือ่ สร้างความเข้มแข็งแก่ชมุ ชน และสงั คม 19
11. พนั ธกจิ ทะนบุ ารุงศลิ ปวัฒนธรรมไทยและภูมิปญั ญาไทย 24
12. พนั ธกิจพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล 26
13. ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายใน ปกี ารศึกษา 2564 29
14. ประมวลภาพกจิ กรรม 31

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั

3

ขอ้ มูลพื้นฐาน

1. ประวัติวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรัช
วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก สานักงานปลัดกระทรวง

สาธารณสุข ตงั้ อยูเ่ ลขที่ 99 หมู่ 3 ตาบลลาดบัวขาว อาเภอบ้านโปุง จังหวัดราชบุรี บนเนื้อท่ี 40 ไร่ 80.8
ตารางวา เดิมช่ือโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัย ราชบุรี ข้ึนกับศูนย์อนามัยแม่และเด็ก เขต 7 ราชบุรี เป็น
สถาบันการศึกษาของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีกองอนามัยครอบครัวเป็นผู้รับผิดชอบใน
ส่วนกลาง ได้ก่อตั้งข้ึนพร้อมกับศูนย์อนามัยแม่และเด็ก ภายในบริเวณเดียวกัน โรงเรียนผดุงครรภ์อนามัย
ราชบุรี เริ่มรับนักศึกษารุ่นท่ี 1 เข้าศึกษา เม่ือวันท่ี 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 เปิดเป็นแห่งท่ี 5 ของกรม
อนามัยรับนักเรียนท่ีสาเร็จการศึกษามัธยมศึกษาปีท่ี 3 (ม.6 เดิม) เข้าศึกษาระยะเวลา 1 ปี 6 เดือน เมื่อ
สาเรจ็ การศกึ ษาได้รับประกาศนียบตั รผดงุ ครรภอ์ นามัย ไดใ้ บประกอบโรคศิลปะสาขาการผดุงครรภ์ ชั้นสอง
พ.ศ. 2526 ได้พัฒนาหลักสูตรโดยใช้ช่ือว่าหลักสูตรการสาธารณสุขชุมชน(ผดุงครรภ์อนามัย) ระยะเวลา
ศึกษา 2 ปี พ.ศ. 2529 ศูนย์อนามัยแม่และเด็กเขต 7 ราชบุรี เปล่ียนแปลงโครงสร้างการบริหารใหม่
เปลี่ยนช่ือจากศูนย์อนามัยแม่และเด็กเป็นศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต 4 ราชบุรี โรงเรียนผดุงครรภ์อนามัย
ราชบุรี เปลีย่ นชอ่ื เป็นวทิ ยาลัยพยาบาลและผดุงครรภ์ ราชบุรี เมื่อวันท่ี 6 กรกฎาคม 2530 และในปีน้ีกรม
อนามัยได้พัฒนาหลักสูตรอีกครั้งหน่ึงเป็นหลักสูตรประกาศนียบัตรการพยาบาลและการผดุงครรภ์(ระดับ
ตน้ ) ใช้ระยะเวลาการศกึ ษา 2 ปี เร่มิ สอนนักศึกษารุ่นแรกต้ังแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ.2530 โดยเพ่ิมความรู้
ใหค้ รอบคลมุ งานด้านการพยาบาลและการผดงุ ครรภต์ ลอดจนการสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อให้สอดคล้องกับ
นโยบายการพฒั นาด้านสาธารณสุข ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 6
พ.ศ. 2536 กระทรวงสาธารณสุขเห็นสมควรให้มีการรวมหน่วยงานรับผิดชอบเก่ียวกับการผลิตและการ
พัฒนาบุคลากรมาอยู่ด้วยกันเป็นสถาบันพระบรมราชชนก มีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการสานักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.2536 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ หน้า 21 เล่ม 110 ตอน
ท่ี 22 ลงวันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2536 ซึ่งมีหน้าที่หลัก คือ ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๓๗ สมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานชื่อวิทยาลัย
พยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทุกแห่ง ยกเว้นวิทยาลัยพยาบาลที่ได้รับพระราชทานชื่ออยู่ก่อน
แลว้ ว่า “วิทยาลยั พยาบาล บรมราชชนนี” ดังนนั้ วทิ ยาลยั พยาบาลและผดุงครรภ์ราชบุรี จึงได้ช่ือท่ีทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ว่า “วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ราชบุรี 2” ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2537
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนพิเศษ 36ง) และมีพระบรมราชานุญาตให้ใช้อักษร “พระ
นามย่อ” ของพระองค์เป็นตราประจาวิทยาลัย เน่ืองจากจังหวัดราชบุรีมีวิทยาลัยพยาบาล ตั้งอยู่ในอาเภอ
เมือง 2 วทิ ยาลัย การใช้ชอ่ื วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ราชบุรี 1 และราชบุรี 2 ทาให้ประชาชนและผู้
มาติดต่อประสานงานสับสน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี 2 จึงได้ขอพระราชทานนามต่อท้าย
ใหมแ่ ละพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานนาม
ต่อท้ายว่า “จักรีรัช” อันมีความหมายว่า “รัชกาลแห่งพระราชวงศ์จักรี” วิทยาลัยฯ จึงได้ช่ือใหม่ว่า
“วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช” เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2539 และประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เล่มท่ี 113 ตอนที่ 72 ง.

พ.ศ. 2537 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช ได้เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรพยาบาล
ศาสตร(์ ตอ่ เนอ่ื ง 2 ปี เทียบเท่าปริญญาตรี) โดยความเห็นชอบจากทบวงมหาวิทยาลัย และในปี พ.ศ. 2539

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

4

วทิ ยาลยั ฯ ไดน้ าหลักสูตรประกาศนยี บตั รพยาบาลศาสตร์ (ตอ่ เนือ่ ง 2ปี เทียบเท่าปริญญาตรี) เข้าสมทบกับ
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล พร้อมกบั เปล่ียนชื่อหลักสตู รเปน็ พยาบาลศาสตรบัณฑิต(ต่อเน่ือง)

พ.ศ. 2440 วิทยาลัยฯ ได้เปิดสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต โดยความเห็นชอบจาก
ทบวงมหาวิทยาลัย และได้นาหลักสูตรเข้าสมทบกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีผลให้
บัณฑติ ไดเ้ ข้ารบั พระราชทานปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิตเปน็ รนุ่ ที่ 1 เม่ือ พ.ศ. 2444

พ.ศ. 2443 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช ได้ย้ายจากที่ตั้งเดิม ซ่ึงอยู่ภายในบริเวณ
เดียวกับศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เขต 4 อาเภอเมืองจังหวัดราชบุรีมาอยู่ ณ เลขที่ 99 หมู่ 3 ตาบลลาดบัวขาว
อาเภอบ้านโปงุ จังหวัดราชบุรี เม่ือเดือนมีนาคม พ.ศ. 2443

พ.ศ. 2445 วิทยาลัยฯ ได้เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์เทียบเท่าปริญญาตรี
(ตอ่ เน่ือง 2 ป)ี ภาคพเิ ศษ เพิม่ ขึน้ อกี 1 หลักสูตรและเปดิ สอนเพียง 1 รนุ่

ปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยมีกระบวนการถ่ายโอนหลักสูตรภายใต้คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดลให้เป็นหลักสูตรของวิทยาลัย ภายใต้ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
จานวน 2 หลกั สูตร ไดแ้ ก่ หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) และ หลักสูตร
พยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2561) ได้ผ่านการอนุมัติจากสภาสถาบันพระบรมราชชนก
และการเห็นชอบจากสภาการพยาบาลให้ใชห้ ลกั สตู รถ่ายโอนสาหรับปกี ารศกึ ษา 2563 เรยี บร้อยแล้ว

ตราสญั ลักษณ์วิทยลัย

ดอกไม้ประจาวทิ ยาลยั

ดอกโมกขาว มีความหมายวา่ ความสุขความบรสิ ุทธิ์ ออ่ นน้อมถ่อมตน

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั

5

2. ปรัชญา ปณิธาน วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ วัตถปุ ระสงค์ อัตลักษณบ์ ัณฑติ และเอกลกั ษณ์วิทยาลยั

ปรชั ญา

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช มีความเช่ือว่าวิชาชีพพยาบาลเป็นวิชาชีพท่ีมีความสาคัญ
ต่อสังคมเป็นอยา่ งยง่ิ วทิ ยาลัยจึงมุ่งที่จะผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาล ส่งเสริมการวิจัย บริการ
วิชาการแก่สังคม และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม โดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ ศาสตร์อ่ืนๆที่เกี่ยวข้อง
และภูมิปัญญาไทยเพ่ือให้บุคลากรทางการพยาบาลมีความสามารถทางวิชาการ มีทักษะเชิงวิชาชีพ ดารง
ความเป็นไทย ยึดมั่นใน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สามารถให้การดูแลอย่างเอ้ืออาทร คานึงถึงการมี
ส่วนร่วมของสงั คมและชมุ ชน ในการสร้างสุขภาพใหเ้ กิดสขุ ภาวะ แก่บุคคล ครอบครวั และชุมชน

ปณธิ าน
ศกึ ษาดี มีวินัย ใฝคุ ุณธรรม นาไปส่กู ารพัฒนา

วิสยั ทศั น์
สถาบันอดุ มศึกษาช้ันนาและทนั สมัย มงุ่ สรา้ งกาลงั คนด้านสุขภาพ เพอ่ื ตอบสนองความ

ต้องการของสงั คม

พันธกิจ
1. ผลติ บณั ฑติ และพัฒนากาลงั คนดา้ นสุขภาพตามความต้องการของสงั คม
2. พฒั นาผลงานวิจัย ผลงานวชิ าการ และนวตั กรรมทส่ี ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนา
ชมุ ชน และสงั คม
3. บริการวชิ าการเพื่อสรา้ งความเขม้ แขง็ แกช่ มุ ชน และสังคม
4. ทะนุบารงุ ศลิ ปวฒั นธรรมไทยและภมู ิปัญญาไทย
5. พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

วัตถปุ ระสงค์
1. ผลติ บัณฑติ พยาบาลทีม่ ผี ลการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติสาขา
พยาบาลศาสตร์ อตั ลกั ษณแ์ ละเอกลกั ษณ์ของสถาบนั
2. วิจัยและพัฒนาองคค์ วามรู้ เพอื่ การนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชุมชนและระบบบริการสุขภาพของชมุ ชน
3. วจิ ยั และพัฒนาองค์ความรู้ เพ่อื การนาไปใช้ประโยชน์ในการเรยี นการสอน การพฒั นานักศึกษา
4. ใหบ้ ริการวิชาการทีเ่ ก่ยี วข้องกบั วชิ าชีพหรือทเี่ กยี่ วข้องกับนโยบายของวทิ ยาลัย โดยมุ่งเน้น
ความต้องการของชมุ ชน
5. พัฒนาบุคลากร ตอบสนองระบบสขุ ภาพของประเทศ หรือความต้องการของท้องถิ่น
6. เชดิ ชู ธารงรักษาสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ รวมท้งั ทานบุ ารุง อนุรักษ์
ศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาไทย ส่งิ แวดล้อม และสนับสนุนหลกั การประชาธปิ ไตย
7. จัดใหก้ ารบริหารจดั การ ส่งเสริมการสร้างผลงานตาม ๔ พนั ธกจิ ใหส้ ามารถรองรับการ
เปล่ียนแปลงเกิดประสิทธผิ ลอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรัช

6

ค่านิยมรว่ ม

LOVE CKR

L = Lifelong Learning เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต

O = Open mind เปิดใจยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อน่ื

V = Volunteer จิตอาสา

E = Efficiency ประสิทธภิ าพ

C = Caring เออ้ื อาทร

K = Knowledge มคี วามรู้

R = Responsibility มีความรบั ผดิ ชอบในหนา้ ท่ี

อตั ลักษณ์บัณฑติ
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั ไดก้ าหนดอตั ลักษณบ์ ัณฑิตไว้ตามสถาบันพระบรมราชชนก
คือ “บริการสุขภาพด้วยหัวใจ ความเป็นมนุษย์” หมายถึง การให้บริการที่เป็นมิตร มีความรัก ความ
เมตตา ใส่ใจในปัญหาและความทุกข์ของผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้อง ให้บริการตามปัญหาและความ
ต้องการของผู้รับบริการท่ีเป็นจริง โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการเป็นหลักและเพ่ิมเติมอัตลักษณ์
ของวิทยาลัยเป็น SAP-CKR “บริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์บนพ้ืนฐานของความเอื้ออาทร
ความรู้ และความรบั ผิดชอบ”

S = Service Mind = จติ บรกิ าร
A = Analytical Thinking = การคิดเชิงวิเคราะห์
P = Participation = การคานงึ ถึงสิทธิผ้ปู ุวยและการใหผ้ ู้ปุวยมีส่วนร่วม
C = Caring = ความเออ้ื อาทร
K = Knowledge = ความรู้
R = Responsibility = ความรับผดิ ชอบ

เอกลักษณข์ องวิทยาลยั
วทิ ยาลัยเพิม่ เตมิ เอกลักษณข์ องสถาบนั พระบรมราชชนกเปน็ เอกลักษณ์ของวทิ ยาลัย คอื “สร้าง
คนจากชมุ ชน เพ่ือตอบสนองระบบสุขภาพชมุ ชน โดยใช้กระบวนการจติ ตปัญญา เพ่ือสง่ เสรมิ การเรียนรู้
และอยรู่ ่วมกนั อย่างมีความสุข”

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช

5

3. โครงสรา้ งการบรหิ าร วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั

6

4. หลักสูตรท่ีเปิดสอนในระดบั ปรญิ ญาตรี

ในปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยมีกระบวนการถ่ายโอนหลักสูตรภายใต้คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยมหิดลให้เป็นหลักสูตรของวิทยาลัยภายใต้คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก จานวน
2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) และ หลักสูตรพยาบาล
ศาสตรบณั ฑิต (หลกั สูตรปรับปรุงพ.ศ. 2561)

5.จานวนนักศึกษาปกี ารศึกษา 2565 จานวน(คน)
รายการ 117
88
นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 1 92
นกั ศกึ ษาชั้นปที ่ี 2 74
นักศกึ ษาช้ันปีที่ 3 371
นักศกึ ษาช้ันปีที่ 4

รวม

*** คา่ FTES ปกี ารศกึ ษา 2563 = 340.69 จานวน(คน)
ค่า FTES ปีงบประมาณ 2564 = 329.44
32
6.จานวนอาจารย์และบคุ ลากร 9
รายการ 23

1. จานวนอาจารยป์ ระจาทั้งหมด(รวมลาศกึ ษาต่อ) 32
1.1 ปรญิ ญาเอก
1.2 ปริญญาโท -
42
2.จานวนอาจารย์ประจาท่ปี ฏิบตั งิ านจรงิ
3. จานวนอาจารยล์ าศึกษาตอ่
4. จานวนบุคลากรสายสนับสนุนทง้ั หมด

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั

7

7.การเงนิ และงบประมาณ

พันธกิจ เกณฑ์การจัดสรร การจัดสรรงบประมาณของวิทยาลยั
(ร้อยละ) สดั ส่วนที่จัดสรรจริง งบประมาณทจี่ ัดสรรจรงิ
1.ผลิตบณั ฑติ 40-45
2.วจิ ยั 5-10 33.17 12,379,252.45
3.บรกิ ารวิชาการ 15-20 3.58 1,335,000.00
4.ทะนุบารุง 1-3 17.85 6,676,620.00
5.บรหิ ารจดั การ 35-40 0.96 357,214.62
รวม 100 41.63 15,536,690.05
97.02 36,342,377.12

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั

8

ผลการดาเนินงานตามพนั ธกิจ
1. ผลติ บัณฑติ และพัฒนากาลงั คนดา้ นสุขภาพตามความต้องการของสังคม

ในปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2561) เพือ่ พัฒนาลกั ษณะบัณฑิตทพ่ี ึงประสงค์ พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ซึ่งเป็นทักษะสาคัญในศตวรรษ
21 มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีข้ันสูงในการสอนจัดการการเรียนการสอน เช่น การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
(E-learning) การใช้หุ่นจาลองทางการแพทย์และสถานการณ์จาลองเสมือนจริง (Simulation Based Learning,
SBL) โดยได้จัดการเรียนการสอนในรายวิชา การพยาบาลมารดาและทารกและผดุงครรภ์ และวิชาการพยาบาล
ผู้ใหญ่ 2 ซึ่งผลประเมินการจัดการเรียนการสอนพบว่า การใช้สถานการณ์จาลองเสมือนจริง ทาให้นักศึกษาเข้าใจ
บทเรียนได้ดีข้ึนและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการฝกึ ปฏบิ ตั ิงานในคลนิ ิกได้ดีขึ้น



รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั

9

อีกทั้งวิทยาลัย ยังเน้นการเรียนเรียนสอนทางด้านภาษาอังกฤษ ภายใต้โครงการพัฒนานักศึกษาให้มีผล
การเรยี นรแู้ ละทักษะศตวรรษท่ี 21 และมีความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ ประกอบด้วย

1. กิจกรรมเสียงตามสายภาษาอังกฤษ เพื่อสง่ เสริมภาษาอังกฤษใหก้ บั นกั ศึกษา ไดจ้ ัดใหม้ กี ิจกรรมพดู
คาศัพท์ภาษาอังกฤษจากเสียงตามสายของNative ซึ่งนักศึกษามีความพึงพอใจค่าคะแนนเฉลี่ยรวมของความพึง
พอใจในการจัดกิจกรรมเท่ากับ 4.03 อยู่ในระดับมาก

2. กิจกรรมพัฒนาลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ด้วย English Camp กิจกรรมที่นักศึกษามีความพึงพอใจ
ตอ่ การจัดกิจกรรมอยูใ่ นระดับมากท่ีสุด คอื กิจกรรมพัฒนาลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ด้วย “English Camp” มี
นักศึกษาช้ันปีท่ี 1-3 เข้าร่วม จัดขึ้นในวันท่ี 7-8 พฤษภาคม 2565 และ 4-5 มิถุนายน 2565 ประกอบด้วย
กิจกรรม Ice Breaking, Walk Rally ที่ครอบคลุมทักษะ 4 ด้าน ได้แก่ (Listening, Speaking, Grammar,
Reading) โดยทีมวิทยากรเจ้าของภาษา (Dragonfly English camp Team) ผลการประเมินกิจกรรม พบว่า
นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับมากท่ีสุด (Mean=4.74) ข้อท่ีมีคะแนนสูงสุด คือด้าน
วิทยากร อยู่ในระดับมาก (Mean=4.91) และแสดงความเห็นว่ากิจกรรมปีน้ีมีความสนุก ไม่น่าเบ่ือ และน่าสนใจ
มากทาให้กล้าแสดงออกในการพูดภาษาอังกฤษมากขึ้น และได้ส่ือสารกับเจ้าของภาษาโดยตรง รู้สึกชอบ
ภาษาองั กฤษมากขึน้ อยากใหจ้ ดั กิจกรรมแบบน้ีในทุกปี

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั

10

3. กิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนสอบภาษาอังกฤษของนักศึกษาทุกช้ันปี มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมของ
ความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมเทา่ กบั ๔.๖๘ อยู่ในระดับดีมาก โดยมีข้อเสนอแนะให้จัดเป็นกลุ่มย่อย ในรูปแบบ
onsite

ผลการพฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษ พบว่า ปีการศึกษา 2564 มจี านวนนักศึกษาท่ีสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษ
ของสถาบนั พระบรมราชชนก ผ่านเกณฑเ์ พ่ิมมากขนึ้ จากรอ้ ยละ 40.73 เป็น 72.14

2. พัฒนาผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ และนวัตกรรมท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชน และ
สงั คม

วทิ ยาลยั มกี ารจดั โครงการ กจิ กรรม เพื่อผลักดนั ให้มีการผลิตผลงานวิจยั และผลงานวิชาการ โดยฝาุ ยวจิ ยั
และบริการวิชาการมโี ครงการตอบสนองตอ่ กลยทุ ธด์ งั นี้

2.1 กิจกรรมการพฒั นาศกั ยภาพนักวิจัยในการรบั ทนุ วิจยั และนวตกรรมภายในและภายนอก หัวข้อ “การ
พัฒนาอาจารย์ด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์” โดยชมรมจริยธรรมวิจัยในคนในประเทศไทย (Forum for
Ethical Review Committee in Thailand (FERCIT)) วิทยากรประกอบด้วย ผศ.อโณทัย โภคาธิกรณ์ พ.อ.ผศ.
นพ.นิธิพันธ์ สุขสุเมฆ รศ.ดร.ประทุม สร้อยวงศ์ ผศ. วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา ผศ.พชร สุขสุเมฆ และ ผศ.จักรพันธ์
ขัดชุ่มแสง ในวันที่ 11-12 กรกฎาคม 2564 ในรูปแบบออนไลน์ ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยอาจารย์วิทยาลัย
พยาบาลบรมราชนนี จักรีรัช จานวน 36 คน และพยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการสาธารณสุข สังกัดสานักงาน
สาธารณสขุ จงั หวัดราชบุรี จานวน 21 คน

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั

11

2.2 กจิ กรรมการพัฒนาศักยภาพนกั วิจยั ในการรบั ทนุ วิจัยและนวตกรรมภายในและภายนอก หัวข้อ “การ
พัฒนาอาจารย์ด้านการจดสิทธิบัตร โดย อาจารย์อัมพร เที่ยงตรงดี พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ วิทยาลัย
พยาบาลบรมราชนนี นนทบุรี และ ผศ.ดร.ประจวบ วาณิชชัชวาล เม่ือวันท่ี 27 กรกฎาคม 2565 ผู้เข้าร่วมประชุม
เป็นอาจารยแ์ ละบคุ ลากรของวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั จานวน 33 คน และนักศึกษาพยาบาลศาสตร
บณั ฑิตช้นั ปที ่ี 3 จานวน 87 คน

ผลงานวจิ ยั ทีไ่ ดร้ ับการเผยแพร่ในการประชมุ วชิ าการหรือตีพมิ พใ์ นวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ปงี บประมาณ
2565 จานวน 19 เรื่อง

ลาดับ ชอ่ื เรอื่ ง ชอื่ ผวู้ จิ ัย แหลง่ ที่รบั รอง Proceeding ลักษณะการเผยแพร่ (คะแนน)
ผลงาน ระดบั ชาติ
(0.20) Proceeding วารสาร วารสาร วารสาร
วารสาร ระดับนานาชาติ ระดบั ชาติ ระดบั ชาติ นานาชาติ
1 การพัฒนารูปแบบ พิมพ์ลดา อนันต์สริ เิ กษม สงั คมศาสตร์
และ (0.40) TCI กลุม่ 2 TCI กลมุ่ 1 (1.00)
มานษุ ยวิทยาเชิง (0.60) (0.80)
พุทธ ปีที่ 6 ฉบบั 
ท่ี 12 เดอื น
การสนทนาแบบ พลอยประกาย ฉลาดล้น ธนั วาคม 2564

สรา้ งแรงจูงใจและ จรัสศรี เพ็ชรคง

การใชเ้ ครอื ข่าย รจุ า แกว้ เมอื งฝาง

สงั คมออนไลน์ตอ่ พรี เทพ รงุ่ คณุ ากร

ความเชอื่ ดา้ น

สขุ ภาพในการมา

ตรวจคัดกรองมะเร็ง

ปากมดลูก

2 ประสิทธผิ ลของ มนัสชนกฑ์ กุลพานิชย์ วารสารสขุ ภาพ 
และการศึกษา
โปรแกรมการสอน พัทธวรรณ ชเู ลิศ พยาบาล ปที ี่ 27
ฉบับท่ี 2
เสริมออนไลน์ เพือ่ ออ้ มใจ พลกายา กรกฏาคม-
ธนั วาคม 2564
เตรยี มสอบใบ รุจา แก้วเมอื งฝาง

ประกอบวิชาชพี การ

พยาบาลและการผดงุ

ครรภต์ ่อผลคะแนน

ในรายวิชาผดุงครรภ์

3 บทบาทพยาบาลใน จันทนา ณหทยั โภคิน วารสารวชิ าการ 
มหาวทิ ยาลยั อสี
การดแู ลผปู้ ุวยที่มี พีระนันทิ์ จรี ะยง่ิ มงคล วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั

รายงานประจาปี 2565

12

ลกั ษณะการเผยแพร่ (คะแนน)

ลาดับ ชือ่ เรือ่ ง ช่อื ผวู้ จิ ยั แหล่งทรี่ บั รอง Proceeding Proceeding วารสาร วารสาร วารสาร
ผลงาน ระดบั ชาติ ระดบั นานาชาติ ระดับชาติ ระดบั ชาติ นานาชาติ
(0.20) (0.40) TCI กลมุ่ 2 TCI กลมุ่ 1 (1.00)

(0.60) (0.80)

ภาวะหายใจลาบาก วลั ทณี นาคศรีสังข์ เทิร์นเอเชยี

เฉยี บพลันทใ่ี ส่ ฉบับ

เครือ่ งช่วยหายใจ วทิ ยาศาสตร์

และเทคโนโลยี

ปที ่ี 15 ฉบับท่ี 3

ประจาเดอื น

กันยายน-

ธนั วาคม 2564

4 รูปแบบการเรยี นการ พทั ธวรรณ ชเู ลศิ วารสารมหาจฬุ า 

สอนโดยใช้ มนสั ชนกฑ์ กลุ พานชิ นาครทรรศน์ ปี

สถานการณ์เสมือน อ้อมใจ พลกายา ที่ 8 ฉบับท่ี 12

จรงิ สาหรบั นักศกึ ษา รัชนี ครองระวะ เดอื น ธนั วาคม

พยาบาลในยุคโควิด- หยาดชล ทวีธนาวณชิ ย์ 2564

19*

5 บทบาทพยาบาลใน สดุ ารตั น์ วันงามวิเศษ วารสารการ 

การสง่ เสริมความ ดวงฤทยั เสมคมุ้ หอม พยาบาลและ

รว่ มมือในการใช้ยพน่ ธมกร เธยี รภมู ิเดช การศกึ ษา ปที ่ี

ควบคมุ ของเดก็ โรค 14 ฉบบั ที่ 2

หืด เมษายน-

มิถุนายน 2564

6 Communication- Patcharee Komjakraphana, Kasetsart 
Sirikul Karuncharernpanitb,
related concerns Sasithon Kemsenc, Journal of
of family Social
caregivers of Thanthip Kitphaiboonchaid, Sciences 42
Suwanna Setthawatcharawanich
older adults (2021)795-803

living with

dementia: A

cross-sectional

descriptive study

7 ความสัมพันธ์ บุญเตอื น วัฒนกลุ วารสารพยาบาล 

ระหวา่ งรูปแบบการ ศริ ิกุล การุณเจรญิ พาณิชย์ สภากาชาดไทย

เรียนกับลีลาการ ศรสี ดุ า งามขา ปีท่ี 14 ฉบบั ที่ 2

เรียนรูข้ อง นกั ศกึ ษา ก.ค.-ธ.ค. 64

พยาบาล

8 บทบาทของ อญั ญา ปลดเปลือ้ ง วารสารวิชาการ 

พยาบาลด้านการ สุขภาพ

จัดบรกิ ารวัคซีน ภาคเหนอื ปที ี่ ๙

ปอู งกันโรคตดิ เชือ้ ฉบับท่ี ๑

ไวรัสโคโรนา 2019 (มกราคม –

มิถนุ ายน

๒๕๖๕)

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั

13

ลาดบั ช่อื เรื่อง ช่ือผู้วิจยั แหล่งท่ีรบั รอง Proceeding ลักษณะการเผยแพร่ (คะแนน)
ผลงาน ระดบั ชาติ Proceeding วารสาร วารสาร วารสาร
(0.20) ระดับนานาชาติ ระดับชาติ ระดบั ชาติ นานาชาติ
วารสารวชิ าการ
9 ความสมั พันธ์ บรรณฑวรรณ หริ ญั เคราะห์ มหาวิทยาลยั อสี (0.40) TCI กลุม่ 2 TCI กลุ่ม 1 (1.00)
เทริ ์นเอเชีย (0.60) (0.80)
ระหว่างคณุ ลักษณะ ดวงฤทยั เสมค้มุ หอม ฉบับ 
สังคมศาสตร์
ของนกั ศึกษา และมนุษย์ 
ศาสตร์ ปที ่ี 12
แลกเปล่ยี นตอ่ ทกั ษะ ฉบับที่ 1
ประจาเดอื น
การปฏิบัติงานใน มกราคม –
เมษายน 2565
วชิ าชีพพยาบาล วารสารมหาจุฬา
นาครทรรศน์ ปี
10 การพฒั นารปู แบบ นิคม พุทธา ท่ี 9 ฉบบั ท่ี 3
การสรา้ งเสรมิ ความ พลอยประกาย ฉลาดล้น เดือน มีนาคม
รอบรู้ดา้ นสขุ ภาพใน 2565
การดูแลตนเองของ
ผู้สูงอายใุ นยคุ ชีวติ วถิ ี วารสาร 
ใหม่ ตาบลบ้านเลอื ก สาธารณสขุ และ 
อาเภอธาราม จังหวัด วิทยาศาสตร์
ราชบุรี สขุ ภาพ ปที ่ี 5
ฉบับที่ 1
11 สมนุ ไพรไทยตารบั รงั สรรค์ บุตรชา มกราคม –
“ยาแคปซูลเคอร่า” ผุสดี สระทอง เมษายน 2565
ในการดูแลตนเองผู้ อตญิ าณ์ ศรเกษตริน
เข้าขา่ ยโรคติดเชือ้ ฉันทนา โสวัตร วารสารวจิ ยั การ
ไวรสั โคโรนา่ 2019 พยงค์ เทพอักษร พยาบาลและ
กรศศริ ์ ชิดดี สขุ ภาพ ปที ่ี 23
ฉบับท่ี 1
12 ผลการจดั การเรยี นรู้ สุภัทรา สเี สนห่ ์ มกราคม-
ดว้ ยสถานการณ์ จกั รพนั ธ์ กนึ ออย เมษายน 2565
จาลองเสมือนจรงิ ศริ ิกลุ การณุ เจรญิ พาณชิ ย์
9jvตอ่ ความรู้ การ สมคดิ รูปงาม วารสารวิชาการ 
ตัดสนิ ใจและทกั ษะ มหาวทิ ยาลยั อีส
การปฏิบตั กิ าร เทริ ์นเอเชยี วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั
พยาบาลในการดูแล ฉบบั
ผปู้ ุวยทม่ี ภี าวะ
กล้ามเนือ้ หัวใจขาด
เลอื ดเฉียบพลนั ระยะ
วิกฤต:ิ กรณีศึกษา

13 การดูแลผปู้ ุวยจิต หยาดชล ทวธี นาวณิชย์
เภทเร้อื รงั ด้วยการมี จรสั พร หอมจันทร์ดี
ส่วนรว่ มของชุมชน รชั นี ครองระวะ
ตอ่ ภาระการดแู ล ภิรย์ ล้สี วุ รรณ์

รายงานประจาปี 2565

14

ลาดบั ชอ่ื เรื่อง ช่ือผูว้ จิ ัย แหล่งท่ีรบั รอง Proceeding ลกั ษณะการเผยแพร่ (คะแนน)
ผลงาน ระดับชาติ
(0.20) Proceeding วารสาร วารสาร วารสาร
สงั คมศาสตร์ ระดบั นานาชาติ ระดับชาติ ระดับชาติ นานาชาติ
และมนุษย์
ศาสตร์ ปีท่ี 12 (0.40) TCI กลมุ่ 2 TCI กลุ่ม 1 (1.00)
ฉบับที่ 2 (0.60) (0.80)
ประจาเดอื น
ของผดู้ ูแลผปู้ ุวยจิต จริ ยิ า อนิ ทนา พฤษภาคม –
เภทเรื้อรังในชมุ ชน สงิ หาคม 2565
วารสารวิชาการ
14 ผลการจดั การเรียนรู้ จันทนา ณหทยั โภคิน มหาวิทยาลยั อสี 
แบบผสมผสานต่อ พรี ะนนั ทิ์ จรี ะย่ิงมงคล เทิร์นเอเชีย
ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ สุพัตรา ไตรอดุ มศรี ฉบบั
สังคมศาสตร์
และความพงึ พอใจใน และมนุษย์
การเรยี นรายวชิ า ศาสตร์ ปีท่ี 12
ฉบับท่ี 2
ปฏิบตั ิการพยาบาล ประจาเดือน
ผ้ใู หญแ่ ละผู้สูงอายุ 1 พฤษภาคม –
ของนกั ศกึ ษา สิงหาคม 2565

พยาบาลศาสตร Journal of
บัณฑิต วทิ ยาลยั Positive
School
พยาบาลบรมราช Psychology,
ชนนี จักรรี ัช 6(5), 3746-
3756
15 Lessons Learned Ratchanee Krongrawa, 

about Pirom Leesuwan, Peranan
Jerayingmongkol,
Community-
Akom Phosuwan,
Engaged Supaporn Voraroon
Nursing Education

at the Border

area in Western

Part of Thailand.

16 ผลของโปรแกรม รุจา แก้วเมืองฝาง วารสารแพทย์ 
สง่ เสรมิ สขุ ภาพด้าน เขต4-5 ปที ี่41
โภชนาการและการ ฉบับท่ี 2
ออกกาลงั กายต่อ เมษายน-
พฤตกิ รรมสุขภาพ มถิ ุนายน 2565
ด้านโภชนาการของ
หญิงต้งั ครรภ์

17 ผลการจดั การเรียนรู้ พีระนันท์ิ จรี ะย่ิงมงคล วารสารการ 
พยาบาลและ
แบบผสมผสานต่อ พิมพล์ ดา อนนั ต์สิรเิ กษม การศกึ ษา ปที ี่ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรัช
พลอยประกาย ฉลาดล้น 15 ฉบับท่ี 3
ผลลัพธ์การเรียนรใู้ น นวพร ดาแสงสวัสดิ์

รายงานประจาปี 2565

15

ลาดบั ชอื่ เร่ือง ช่ือผูว้ จิ ัย แหล่งท่รี บั รอง Proceeding ลกั ษณะการเผยแพร่ (คะแนน)
ผลงาน ระดบั ชาติ
(0.20) Proceeding วารสาร วารสาร วารสาร
กรกฎาคม- ระดบั นานาชาติ ระดบั ชาติ ระดับชาติ นานาชาติ
กันยายน 2565
(0.40) TCI กลมุ่ 2 TCI กลุ่ม 1 (1.00)
(0.60) (0.80)

รายวิชาปฏบิ ตั กิ าร วารสารมหาจฬุ า 
นาครทรรศน์ ปี
พยาบาลครอบครัว ท่ี 9 ฉบับท่ี 3
มีนาคม 2565
และชมุ ชน 2 ภายใต้
วารสารการ 
สถานการณ์ COVID พยาบาลและ
การศกึ ษา ปที ่ี
19 15 ฉบับที่ 3
กรกฎาคม-
18 การเปรยี บเทยี บการ อ้อมใจ พลกายา กนั ยายน 2565
เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง พัทธวรรณ ชูเลศิ
ดว้ ยวธิ ีการจัดการ มนัสชนกม์ กุลพานชิ ย์
เรียนกรสอนแบบ พชั รดิ า ยโี่ ถหุ่น
ออนน์และความพึง ศรณิ ธร มังคะมณี
พอใจในการเรยี นในว
ชาการพยาบาล
มารดาทรกและการ
ผดุงครรภ์ 2

19 ผลการจดั การเรยี นรู้ พรี ะนันทิ์ จีระยง่ิ มงคลพมิ พ์
แบบผสมผสานต่อ ลดา อนันต์สิรเิ กษม
ผลลพั ธ์การเรยี นรูใ้ น พลอยประกาย ฉลาดล้น
รายวชิ าปฏิบตั กิ าร นวพร ดาแสงสวัสดิ์
พยาบาลครอบครัว
และชมุ ชน 2 ภายใต้
สถานการณ์ COVID
19

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

16

ในด้านการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม นักศึกษาสามารถพัฒนานวัตกรรมจนได้รับการ
นาเสนอผลงาน ดงั นี้

การประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษาจัดโดยสานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)ประจาปีการศึกษา
2564 ในงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2564 (Thailand Research Expo 2021)” วันที่26
พฤศจิกายน 2564 ณ โรงแรมเซน็ ทาราแกรนด์ ได้รับรางวัลรองชนะเลศิ อันดับ 1 จานวน 2 ผลงาน ไดแ้ ก่

1. คิดไบร์ลดปวดและคลายบวม โดยนางสาวณัฐดา ภักดี และคณะ อาจารย์จันทนา ณหทัยโภคิน เป็น
อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา

2. อุปกรณ์สวนลา้ งแผล “Dome irrigation” โดยนางสาวขวญั ฤทัย เวยี นทอง และคณะอาจารย์
ดร.พมิ พล์ ดา อนนั ต์สริ ิเกษมเป็นอาจารยท์ ี่ปรึกษา

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั

17

การประกวดนวัตกรรมโครงการพัฒนาบัณฑิตด้านผลงานวิจัยและนวัตกรรม ประจาปี ๒๕๖๔ คณะ
พยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก วันท่ี ๙ สิงหาคม ๒๕๖๔ (รูปแบบออนไลน์) ได้รับรางวัลรอง
ชนะเลศิ อันดบั 1 จานวน 2 ผลงาน ไดแ้ ก่

1. นวตั กรรมหุ่นฝึกสวนปัสสาวะมหศั จรรย์ (Amazing Urethral Catheter model)” ผลงานของนางสาว
ณัฏฐธิดา อานวย และคณะ โดยมีดร.พรี ะนนั ท์ิ จรี ะยงิ่ -มงคล และอาจารยจ์ กั รพนั ธ์ กนึ ออย เปน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา

2. นวัตกรรม ขาตงั้ ช่วยพยุง ม่งุ เน้นการทาแผล” ผลงานของ นายเจษฎากร ตะ๊ สุ และคณะ โดยมีอาจารย์
อจั ฉรา พรรณ วงษ์นอ้ ย เปน็ อาจารย์ท่ปี รกึ ษา

การประกวดนวัตกรรมในโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนานักศึกษาด้านทักษะความเป็นผู้นาใน
ศตวรรษที่ ๒๑ วิทยาลัยเครือข่ายภาคกลาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก ในวันที่ 4
กนั ยายน 2564 ได้รับบรางวลั ชมเชยจานวน 1 ผลงาน

1.นวัตกรรม “Self Lab” โดยนางสาวศิริลักษณ์ แสงจันทร์ และคณะ อาจารย์ดวงฤทัย เสมคุ้มหอม เป็น
อาจารย์ทปี่ รกึ ษา

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั

18

การนาเสนอผลงานนวัตกรรมในเวทีนานาชาติ Online International Research and Innovation
Exchange 2022 วนั ท่ี 23 พฤษภาคม 2565 จานวน 2 ผลงาน ไดแ้ ก่

1. นวัตกรรม “Mattress from plastic tube” โดยนางสาวญาดา เจริญจารุโรจน์และคณะ อาจารย์หยาด
ชล ทวธี นาวณิชย์ เป็นอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา

2. นวัตกรรม “Medicine’ reminder machine for aging” โดยนางสาววริศรา นาคพญา และคณะ
อาจารย์จนั ทนา ณหทัยโภคิน เป็นอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั

19

3. บริการวชิ าการเพ่ือสรา้ งความเขม้ แขง็ แก่ชุมชน และสงั คม
วทิ ยาลยั ดาเนนิ การบรกิ ารวชิ าการดา้ นสุขภาพแกส่ งั คม โดจ้ ดั โครงการกจิ กรรมการบรกิ ารวชิ าการแก่

สังคมในรูปแบบต่างๆ โดยเป็นการบริการสังคมแบบให้เปล่า และคิดค่าใช้จ่ายตามความเหมาะสม โดยมีกิจกรรม
และโครงการดังตอ่ ไปน้ี

3.1 โครงการหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง ประจาปีงบประมาณ 2564 จานวน 1 หลักสูตร คือ
หลักสูตรฟ้ืนฟูความรู้ทางวิชาการสาหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ “Update การรักษาโรคเบ้ืองต้นสาหรับพยาบาลเวช
ปฏิบัติในสถานการณ์โรคอุบัติใหม่อย่างมีจรรยาบรรณ และรู้เท่าทันกฎหมายวิชาชีพ” ในระหว่างวันที่ 11 – 22
เมษายน 2564 ในรปู แบบออนไลน์ ผู้เข้ารบั การอบรมไดร้ ับหน่วยคะแนน CNEU 32.5 คะแนน

3.2 การจัดอบรมโครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการบริหารและสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ
2565 ดงั น้ี
1) หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง รุ่นที่ 35 ระหว่างวันท่ี 30 พฤษภาคม - 24

มิถุนายน 2565 ผู้เข้ารับการอบรมเป็นผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง จากหน่วยงานสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข จานวน 48 คน

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั

20

2) หลักสตู รผ้บู รหิ ารการสาธารณสุขระดบั ต้น รนุ่ ที่ 31 ระหว่างวันที่ 2- 20 พฤษภาคม 2565
ผเู้ ข้ารับการอบรมเปน็ ผู้บรหิ ารการสาธารณสุขระดับต้น จากหนว่ ยงานสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ จานวน 56 คน

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

21

3.3 โครงการพัฒนาศักยภาพของวิทยาลัยในการบริการวิชาการสู่การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (One
College One Community) ตาบลลาดบัวขาว และตาบลกรบั ใหญ่ โดยแบง่ เปน็ 2 กจิ กรรม คอื

1) การพัฒนาชุมชนต้นแบบ “พื้นที่ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.
สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งนางเธอเจ้าฟาู จุฬาภรณ์วลัยลักษณ์อัครราชกุมารี กรมพระศรี สวางควัฒน วรขัตติยราชนารี”
โดยจัดกิจกรรมบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการและการวิจัยในรายวิชาการพยาบาลอนามัย
ชุมชน 1 การสารวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนและจัดกิจกรรมให้ความรู้ประชาชนตาบลลาดบัวขาว
โดยการจัดอบรมเสวนาความรู้เร่ืองโรคพิษสุนัขบ้า กฎหมายและ พรบ.ที่เกี่ยวข้อง ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราช
ชนนี จักรีรชั และรถประชาสัมพนั ธใ์ นหมู่บ้าน การลงนามความรว่ มมอื พัฒนาตาบลต้นแบบพื้นที่ปลอดภัย และในว
วันท่ี 16 สิงหาคม 2565 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัชร่วมกับภาคีเครือข่ายตาบลลาดบัวขาวประชุม
จัดทาร่างธรรมนูญพื้นท่ี ตาบลลาดบัวขาวปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า โดยได้รับการสนันวิทยากรจาก
คณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติมาชว่ ยนากระบวนการรา่ งรฐั ธรรมนูญพื้นท่ี

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั

22

2) การพัฒนาชุมชนต้นแบบ“ชุมชนสุขภาวะ ตามแนวทาง สบช. โมเดล ๒๐๒๒ โดยการเฝูาระวังและ
ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิร
เกล้าเจ้าอยู่หวั ” วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชนนีจักรีรัช ร่วมกับเทศบาลตาบลกรับใหญ่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลกรับใหญ่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองกลางด่าน สารวจและให้บริการสุขภาพประชาชน
สุขภาพประชาชน และบรู ณาการแนวคดิ สบช.โมเดล 2022 ในรายวชิ าปฏบิ ัติการพยาบาลอนามัยชุมชน 1 เพื่อให้
นักศึกษาฝกึ ประสบการณ์ การประเมินภาวะสขุ ภาพและแบ่งประเมนิ ของผ้ปู ุวยที่อยู่ในความดูแลของนักศึกษา

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั

23

3.4 การพฒั นาศูนย์ความเป็นเลศิ ทางวิชาการดา้ นการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะผู้สงู อายุ ฝุายวิจัยและบริการวิชาการ
วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั “นวตกรรม 5 อ ชะลอวยั ”

3.5 โครงการปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ “หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี” ให้กับเขตสุขภาพที่ 5 และเขต
สุขภาพอืน่ ๆ

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช ร่วมกับ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี จัดโครงการ
ปฐมนเิ ทศขา้ ราชการใหม่ “หลกั สตู รการเปน็ ข้าราชการท่ดี ี” ใหก้ ับเขตสุขภาพท่ี 5 และเขตสขุ ภาพอ่ืนๆ จานวน 2
รุ่น คือ รุ่นท่ี 1 ระหว่างวันที่ 27 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2565 และรุ่นท่ี 2 ระหว่างวันท่ี 22-26 สิงหาคม
2565 อบรมรุ่นละ 5 วัน ณ โรงแรมพาวีเล่ียน ริมแคว รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี มีผู้อบรมจานวนท้ังส้ิน 349 คน

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช

24

กิจกรรมในโครงการเป็นการอบรมและสัมมนาร่วมกัน ประกอบด้วยการบรรยาย / อภิปราย / กิจกรรมกลุ่ม กับ
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ กิจกรรมกลุ่มอภิปรายผลการเรียนรู้ประจาวัน การสะท้อนคิด และถอดประสบการณ์ใน
หัวข้ออบรมระเบียบวินัยการสร้างทีม การบรรยายเก่ียวกับการเป็นข้าราชการที่ดี การสร้างทีม การพัฒนา
บคุ ลิกภาพ กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ ง การบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลแนวใหม่ การพัฒนาตัวเองในยุคดิจิตัล การคิดเชิงบวก
เพ่ือสร้างสรรค์งาน และฝึกภาคปฏิบัติ:กรณีศึกษาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านหนองทราย ณ ตาบลหนอง
สาหร่าย อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ผลการดาเนินโครงการ พบว่า ผู้ผ่านการอบรมมีคะแนนความพึง
พอใจต่อโครงการ ระดับดีมาก ผ้ผู ่านการอบรมประเมินสมรรถนะตนเองในดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม การบริหาร การ
คิดวิเคราะห์ ภาวะผู้นา การสร้างทีม สูงกว่าก่อนการอบรม จากผลการประเมิน พบว่า ผู้ผ่านการอบรมชื่นชมใน
การจัดอบรม บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยได้รับการปลูกฝังปรัชญาการเป็นข้าราชการที่ดี เสริมสร้าง
สมรรถนะและทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานราชการ ได้รับส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม การทางานเป็นทีม
และพัฒนาเครือข่ายในการทางานรวมถึงเป็นการสร้างสายสัมพันธ์ที่ดี แลกเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน โดย
เน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์และการลงมือปฏิบัติจริง ผู้ผ่านการอบรมต้ังปณิธานว่าจะเป็นข้าราชการที่ดีและ
ต้องการใหม้ กี ารจดั โครงการต่อไป

4. ทะนบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมไทยและภมู ปิ ัญญาไทย
วิทยาลยั สนับสนนุ การทานบุ ารุงศลิ ปวฒั นธรรมและสง่ เสรมิ การใช้ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ในการดแู ลสุขภาพ

โดยกลุ่มงานกิจการนักศึกษาได้จดั โครงการทานุบารุงศิลปวฒั นธรรม โดยวทิ ยาลัยมีโครงการและกิจกรรมดังนี้

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช

25

กจิ กรรมทาบญุ ตักบาตร และกจิ กรรมถวายราชสักการะและวางพานพุ่มสักการะ หน้าพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรี
นครินทราบรมราชชนนี เน่ืองในวันพยาบาลแห่งชาติ ประจาปี2565 ณ ลานวัฒนธรรม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี
จักรรี ชั

พิธีมอบตะเกียงไนติงเกล นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 รุ่น 25 ประจาปีการศึกษา 2565 ณ ห้องประชุมชัย
พัฒนา ช้นั 6 อาคารนวมนิ ทรารักษ์ วนั ท่ี20 ตลุ าคม 2565

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

26

กิจกรรมวันพยาบาลแห่งชาติ ณ โรงพยาบาลดาเนินสะดวก วันท่ี 21 ตุลาคม 2565

กิจกรรมการทอดกฐนิ ในพระอปุ ถมั ภ์ สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณาย
ประจาปี 2565 ณ วดั รางวาลย์ ต.ลาดบวั ขาว อ.บา้ นโปุง จ.ราชบุรวี นั ท่ี 6 พฤศจกิ ายน 2565

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั

27

กิจกรรมวนั ลอยกระทง ณ สระน้าโกสินารายณ์

5. พัฒนาระบบการบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล
วทิ ยาลัยสนบั สนนุ การพัฒนาองค์กรสสู่ มรรถนะสูง เพือ่ ให้การดาเนินการพัฒนาองค์การในเรอื่ งตา่ งๆ เป็นไปอย่างเปน็
ระบบและตอ่ เนื่อง โดยมโี ครงการและกิจกรที่ดาเนนิ ท่ีสาคัญและดาเนนิ กิจกรรมท่สี าคัญที่ ดาเนินงานในปงี บประมาณ
2565 ดังน้ี

กิจกรรมการจดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี เพอ่ื สงเสรมิ การรว่ มรู้และการนาทิศทางการพัฒนางานตามพนั ธกจิ หลกั ของ
วทิ ยาลัย

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั

28

กิจกรรมการทาแผนบริหารความเสี่ยง

การจดั กจิ กรรม Faculty Practice อาจารยพ์ ยาบาลวิทยาลัยบรมราชชนนี จักรรี ัช

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช

29

กจิ กรรมการพฒั นาฐานขอ้ มูลเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารวิทยาลัย (Dash board)

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั

30

ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายใน ปีการศกึ ษา 2564
หลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั
คณะกรรมการประเมินได้ดาเนินการประเมินคุณภาพ ในวันท่ี 21 กรกฎาคม 2565 ตามกระบวนการใน
ระบบการประกันคุณภาพของสถาบันพระบรมราชชนก หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 ตามประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดบั อดุ มศกึ ษา และจากรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตร (มคอ.7) หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร
ปรับปรุง พ.ศ.2561) ประจาปีการศึกษา 2564 โดยวิทยาลัยมีการดาเนินงานตามกรอบการประกันคุณภาพ
การศึกษา ระดบั หลักสูตร จานวน 6 องคป์ ระกอบ 14 ตวั บง่ ชี้
ผลการประเมนิ ของคณะกรรมการในระดับหลักสูตรภาพรวม ได้คะแนนเฉลย่ี 4.25 มรี ะดบั คุณภาพดีมาก
องค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน (ตัวบ่งช้ีที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตร) ของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ตามเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อ ได้แก่ ข้อ 1 จานวนอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ข้อ 2 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ข้อ 3 คุณสมบัติของอาจารย์ประจา
หลักสูตร ข้อ 4 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน และ ข้อ 10 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาท่ีกาหนด
ซ่ึงผลการประเมนิ “ผา่ น”เกณฑม์ าตรฐานหลักสตู ร
องค์ประกอบท่ีมีผลประเมินอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก จานวน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 2
บัณฑติ มีค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากบั 4.65 และองคป์ ระกอบที่ 4 อาจารย์ มีค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 4.67 องค์ประกอบ
ที่ 5 หลกั สูตร การเรียนการสอน การประเมินผเู้ รยี น มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.25
องค์ประกอบท่ีมีผลประเมินอยู่ในระดับคุณภาพดี จานวน 2 องค์ประกอบได้แก่ องค์ประกอบท่ี 3
นักศึกษา มีค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 3.67 และองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับ
4.00
ประสิทธิผลการดาเนินงานตามปจั จยั นาเขา้ กระบวนการ และผลลพั ธ์
ด้านปัจจัยนาเข้า ประสิทธิผลการดาเนินงานมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.14 ซึ่งต้องมีการ
พัฒนาปรับปรงุ เร่ืองการผลติ ผลงานวชิ าการของอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรและอาจารย์ประจาหลกั สูตร
ด้านกระบวนการ ประสิทธิผลการดาเนินงานมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.25 ซ่ึงต้องมีการ
พัฒนาปรับปรงุ การประเมนิ ผเู้ รยี น
ดา้ นผลลัพธ์ ประสทิ ธผิ ลการดาเนนิ งานมีคุณภาพอยู่ในระดบั ดมี าก มีค่าเฉลย่ี 4.65
จดุ แขง็
1. ผู้บรหิ าร อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร คณาจารย์และบุคลากรมคี วามรกั สามัคคี พร้อมให้ความ
รว่ มมือในการดาเนินการจัดการศึกษา และภารกจิ อ่นื ๆ ดว้ ยความเตม็ ใจภายใตบ้ รรยากาศทีด่ ีขององค์กร
2. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตรมคี วามมุ่งมัน่ ในพัฒนาการจดั การเรียนการสอนให้มีคุณภาพสงู
3. อาจารย์และนักศึกษามีผลงานนวตกรรมที่ได้รับรางวัลจานวนมาก
4. บัณฑิตและนักศึกษามีความรกั และภาคภูมิใจในสถาบนั และคณาจารย์
5. แหลง่ ฝกึ ปฏบิ ัติมคี วามสมั พันธ์ท่ดี กี บั วทิ ยาลยั พร้อมให้ความร่วมมอื ในการพฒั นาคุณภาพบัณฑิต

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช

31

แนวทางการพฒั นา
1. ควรพฒั นาแนวปฏบิ ัติที่ดีด้านการจัดประสบการณ์การเรียนร้ดู ้วยกระบวนการจัดการความรู้
2. พัฒนาตอ่ ยอดนวตกรรมเชิงธุรกจิ และจดสิทธิบตั รหรอื อนสุ ิทธบิ ัตร
3. สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจเกณฑก์ ารประเมนิ โดยใช้ AUNQA เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพหลกั สตู ร

ตอ่ ไป
4. พฒั นาผลงานวชิ าการในรูปของวจิ ัย ตารา เอกสารคาสอน

ตาราง การวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ระดับหลักสตู ร วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรัช ปีการศกึ ษา 2564

ผลประเมนิ : ระดับคุณภาพ

องค์ I P O คะแนน 0.01-2.00 นอ้ ย
ประกอบ คะแนนผา่ น เฉลยี่ 2.01-3.00 ปานกลาง
3.01-4.00 ดี
ที่

4.01-5.00 ดมี าก

1 ผ่านการประเมิน หลกั สตู รได้มาตรฐาน

2 - - 4.65 4.65 ระดบั คุณภาพดมี าก

3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี

4 คะแนนเฉลี่ย 4.67 - - 4.67 ระดบั คุณภาพดีมาก
ของ

5 ทกุ ตัวบง่ ชี้ใน 4.00 34.33 - 4.25 ระดับคณุ ภาพดีมาก
องคป์ ระกอบ

6 ที่ 2 – 6 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี

รวม 4.14 4.25 4.65 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก

ผลการประเมนิ ระดบั ระดบั ระดับ
คุณภาพ คณุ ภาพ คณุ ภาพ
ดีมาก ดมี าก ดมี าก

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

32

ประมวลภาพกิจกรรม

โครงการผูบ้ ริหารระดบั กลางรุ่นที่ 34

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั

33

โครงการสตั ว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพษิ สุนัขบา้ อยา่ งย่งั ยนื

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช

34

พิธไี หว้ครู ประจาป2ี 565

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช

35

พธิ ีบายศรสี ู่ขวัญ ประจาปี2565

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช

36

วันพยาบาล ณ โรงพยาบาลดาเนินสะดวก จังหวัดราชบรุ ี

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช

37

พธิ ีรบั หมวกนกั ศึกษา รุ่นท่ี 25 ประจาปกี ารศกึ ษา2565

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั

38

พธิ ีมอบตะเกียงนกั ศึกษา รุน่ ท่ี 25 ประจาปีการศกึ ษา2565

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั

39

วนั พยาบาล ณ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชนนี จกั รรี ชั ประจาปีการศกึ ษา2565

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช

40

ภาคผนวก
รายนามคณะการจัดทารายงานประจาปี 2564

ทีป่ รกึ ษา ผู้อานวยการวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรัช
ดร. พีระนนั ท์ จรี ะมงคลย่ิง รองผู้อานวยการพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช
ดร. วัลทณี นาคศรสี ังข์

ผรู้ วบรวมข้อมูล
นางสาวสไบทพิ ย์ เชื้อเอ่ยี ม หัวหน้างานยุทธศาสตร์
นางจันทนา ณหทยั โภคนิ งานยทุ ธศาสตร์

ผู้ออกแบบเรียบเรยี ง
นางสาวเจยี ระไน เฉลมิ ดิษฐ

เผยแพร่โดย
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช
โทรศัพท์ ๐๓๔-๒๓๓๖๓๔ โทรสาร ๐๓๒-๓๔๔๙๔๕
Htpp://www.ckr.ac.th

รายงานประจาปี 2565 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั

41

รายงานประจาปี 2565 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั


Click to View FlipBook Version