The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chawa99, 2019-11-23 00:32:08

SAR59

SAR59



รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
(Self – Assessment Report : SAR) ประจําปการศึกษา ๒๕๕๙

โรงเรยี นวัชรวิทยา
ตําบลในเมอื ง อาํ เภอเมือง จงั หวดั กําแพงเพชร

สํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๔๑ (กาํ แพงเพชร – พิจิตร)
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



คณะกรรมการสถานศกึ ษาพจิ ารณาใหค วามเหน็ ชอบ

คณะกรรมการสถานศกึ ษาพจิ ารณาใหค วามเหน็ ชอบ รายงานการประเมินตนเองของ
สถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจาํ ปการศึกษา ๒๕๕๙ โรงเรียนวัชรวทิ ยา
ตําบลในเมือง อาํ เภอเมือง จังหวัดกาํ แพงเพชร

ในการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน คร้งั ที่ ......... / ๒๕๖๐
เม่อื วันที่ ......... เดอื น .................... พ.ศ. ๒๕๖๐ และใหน าํ ผลไปใชป ระโยชนในการปรบั ปรุงและ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาตอไป

(นายสุวรรณ ศภุ กจิ เจรญิ )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

โรงเรียนวัชรวทิ ยา
วนั ที่ ๘ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐



คาํ นํา

ตามท่กี ระทรวงศึกษาธิการ ไดประกาศใหใชมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา เม่ือวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ สําหรับสถานศึกษาทุกสังกัดท่ีจัด
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ใชเปนเปาหมายในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพผูเรียน คุณภาพการบริหาร
และจดั การของผบู ริหารสถานศึกษา คณุ ภาพกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
และคณุ ภาพระบบประกันคุณภาพภายในท่มี ปี ระสิทธผิ ลน้ัน

โรงเรียนวัชรวิทยา ตระหนักถึงความสําคัญในการนํามาตรฐานการศึกษาไปใชเปนแนวทางใน
การจัดการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพ และมีมาตรฐานเดียวกัน และเพื่อใชเปนเคร่ืองมือในการ
สงเสริมสนับสนุนใหระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเขมแข็งและยั่งยืน จึงไดการ
จัดทํารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจําป
การศึกษา ๒๕๕๙ ขน้ึ

โรงเรียนวัชรวิทยา ขอขอบคุณคณะทํางานและผูเก่ียวของทุกทานที่มีสวนรวมในการจัดทํา
เอกสารเลมนี้ และหวังวารายงานท่ีจัดทําขึ้นน้ี จะสามารถใชเปนแนวทางในการปฏิบัติเพื่อพัฒนา
ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหย่ังยืนและกาวหนา บรรลุตามเปาหมายและ
คุณภาพการศกึ ษาได

(นายจาํ นง อินทพงษ)
ผูอํานวยการโรงเรียนวชั รวทิ ยา
วนั ที่ ๘ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐



สารบญั

คณะกรรมการสถานศึกษาพจิ ารณาใหความเห็นชอบ หนา
คาํ นํา ข
สารบัญ ค
ตอนท่ี ๑ ขอ มูลพ้ืนฐาน ง

๑. ขอ มลู ทั่วไป ๑
๒. ขอ มลู บคุ ลากรของสถานศึกษา ๑
๓ ขอ มลู นกั เรยี น ๔
๔. ขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศกึ ษา ๔
๕. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ๕
๖. ขอ มูลการใชแหลง เรยี นรภู ายในและภายนอกโรงเรียน ปการศกึ ษา ๒๕๕๙ ๖
ตอนที่ ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ๘
ดา นที่ ๑ มาตรฐานดานคุณภาพผูเรียน (๖ มาตรฐาน ๒๖ ตัวบงชี้) ๘
ดานที่ ๒ มาตรฐานดานการจัดการศึกษา (๖ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบง ช้ี) ๑๙
ดานท่ี ๓ มาตรฐานดานการสรา งสงั คมแหงการเรยี นรู (๑ มาตรฐาน ๒ ตวั บง ชี้) ๓๐
ดา นท่ี ๔ มาตรฐานดา นอัตลักษณของสถานศึกษา (๑ มาตรฐาน ๒ ตวั บงชี้) ๓๒
ดานท่ี ๕ มาตรฐานดานมาตรการสง เสริม (๑ มาตรฐาน ๒ ตวั บงช้ี) ๓๔
ตอนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนาและความตองการการชวยเหลือ ๓๖
๑. สรุปผลการดาํ เนินงานในภาพรวม ๓๖
๒. จดุ เดนและจดุ ท่คี วรพัฒนา ๓๗
๓. แนวทางการพฒั นาในอนาคต ๓๘
๔. ความตองการและการชว ยเหลอื ๓๘
ตอนท่ี ๔ ภาคผนวก ๓๙
คณะผจู ัดทํา ๕๖



ตอนที่ ๑
ขอมูลพื้นฐาน

๑. ขอ มูลทัว่ ไป
โรงเรยี นวัชรวทิ ยา ทต่ี ัง้ ๙๓ ถนนเทศบาล ๒ ตาํ บลในเมือง อําเภอเมือง

จังหวดั กาํ แพงเพชร สังกัดสํานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๔๑ โทร ๐๕๕-๗๑๑๙๐๑
โทรสาร ๐๕๕-๗๑๖๘๑๗ e-mail : [email protected] website : www.wr.ac.th เปดสอน
ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี ๑ ถึงระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๖ เนอื้ ท่ี ๔๔ ไร ๑ งาน ๘๓ ตารางวา
เขตพ้นื ทบ่ี รกิ าร อําเภอเมือง

๒. ขอมูลบุคลากรของสถานศึกษา (ผบู ริหาร , ครู , พนกั งานราชการและครูอัตราจาง)

ท่ี ชอ่ื – ชอื่ สกุล อายุ อายุ ตําแหนง/วิทยฐานะ วุฒิ วชิ าเอก สอนวชิ า/ชนั้ ชว่ั โมงท่ีรับ
ราชการ การพัฒนา/ป
๑ นายจํานง อนิ ทพงษ
ผอู ํานวยการ กศ.ม. การบริหาร -
๒ นางสิริวรรณ ตนั ติสนั ตสิ ม ชาํ นาญการพเิ ศษ การศึกษา

๓ นายวเิ ชยี ร ยอดนลิ รองผอู ํานวยการ กศ.ม. การบรหิ าร -
ชํานาญการพเิ ศษ การศกึ ษา
๔ ดร.สรุ พล พมิ พสอน
รองผอู ํานวยการ กศ.ม. การบรหิ าร -
๕ นายประหยดั สิริกรรณะ ชํานาญการพิเศษ การศกึ ษา

๖ นางนิภาวดี นวมอนิ ทร รองผูอาํ นวยการ ปร.ด. ยุทธศาสตรการ -
๗ นางสวุ รรณา ปอ มใย ชาํ นาญการพิเศษ บริหารและการพัฒนา
๘ นางศริ พิ ร เกตเุ จริญ
๙ นางนิรดา ราชบรุ ี รองผอู าํ นวยการ กศ.ม. การบริหาร -
๑๐ นางสาวมาลัย ฟองน้ิว ชาํ นาญการพิเศษ การศึกษา
๑๑ นางดวงดาว บดีรัฐ
๑๒ นางอรษา อภิรมยวไิ ลชัย ๔๙ ๒๕ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ กศ.ม. วิทยาศาสตรศ ึกษา วิทยาศาสตร ม.๑
๑๓ นางศรีวไิ ล บญุ ญอนันตศ ิริ
๑๔ นางตวงรัตน อน อนิ ๔๗ ๑๙ ครูชาํ นาญการพิเศษ กศ.ม. หลกั สตู รและการสอน วทิ ยาศาสตร ม.๒
๑๕ นายสรุ ะศกั ดิ์ ยอดหงษ
๑๖ นายชาตรี ศรมี วงวงค ๕๙ ๓๙ ครูชํานาญการพิเศษ กศ.ม. เคมี วทิ ยาศาสตร ม.๔,๖ ,เคมี ม.๕
๑๗ นายประภาส ธารเปย ม
๑๘ นางวัลลภา อนิ หลวง ๓๐ ๖ ครู ศษ.บ. เคมี เคมี ม.๔
๑๙ นางเกศนิ ี พงษพันธ
๒๐ นายสมชาย สวุ รรณจกั ร ๓๙ ๑๖ ครชู ํานาญการ ศษ.บ. เคมี เคมี ม.๕,๖ ,วิทยาศาสตร ม.๑
๒๑ นางสาวกนกเรขา รกั ษช นม
๒๒ นางสุวิมล กาแกว ๕๓ ๓๐ ครชู ํานาญการพิเศษ ค.บ. ฟส กิ ส ฟสกิ ส ม.๖
๒๓ นางรัตนา สะสม
๔๙ ๒๖ ครูชํานาญการพิเศษ กศ.ม. ชีววิทยา วิทยาศาสตร ม.๑,๓

๕๘ ๓๕ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กศ.ม. เคมี วิทยาศาสตร ม.๕

๓๓ ๙ ครูชํานาญการพเิ ศษ วท.บ. ฟสกิ ส วทิ ยาศาสตร ม.๑,๒,๓

๔๑ ๑๘ ครูชํานาญการ กศ.ม. หลกั สูตรและการสอน ฟส ิกสม.๕

๔๑ ๑๘ ครูชํานาญการ กศ.ม. ฟส กิ ส ฟสิกสม.๔,วิทยาศาสตร ม.๓

๕๙ ๓๗ ครูชํานาญการพเิ ศษ วท.ม. ชีววิทยา ชีววิทยา ม.๔,๕

๔๔ ๒๑ ครูชํานาญการพเิ ศษ กศ.ม. ชวี วิทยา ชีววทิ ยาม.๖

๔๐ ๙ ครูชํานาญการพิเศษ วท.ม. ชีววิทยา ชีววิทยา ม.๔

๖๑ ๔๐ ครชู าํ นาญการ ศษ.ม. ส่ิงแวดลอ ม วทิ ยาศาสตร ม.๓

๓๗ ๑๓ ครชู ํานาญการ กศ.ม. วิทยาศาสตรศ กึ ษา เคมี ม.๕,วิทยาศาสตร ม.๒

๔๙ ๒๓ ครูชํานาญการพเิ ศษ กศ.ม. บรหิ ารการศึกษา วทิ ยาศาสตร ม.๑,๓

๔๔ ๒๒ ครชู ํานาญการพเิ ศษ วท.ม. สถิตปิ ระยุกต คณิตศาสตร ม.๒,๖



ท่ี ชื่อ – ช่อื สกุล อายุ อายุ ตําแหนง/วิทยฐานะ วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า/ชัน้ ชัว่ โมงที่รบั
ราชการ การพัฒนา/ป
๒๔ นางนนั ชลี ทรพั ยประเสรฐิ
๒๕ นางตองจติ ต ทศั นแจม สุข ๓๑ ๗ ครูชาํ นาญการ ค.บ. คณิตศาสตร คณติ ศาสตร ม.๔
๒๖ นายชวลติ เรือนจรัสศรี
๒๗ นางรงุ ศรี พิมพส อน ๔๓ ๒๐ ครูชํานาญการพเิ ศษ ค.บ. คณติ ศาสตร คณิตศาสตร ม.๒
๒๘ นางนัยนา ศภุ ดิษฐ
๒๙ นายชูเกยี รติ สยุ ะลงั กา ๔๑ ๑๙ ครชู ํานาญการพิเศษ กศ.ม. คณติ ศาสตร คณิตศาสตร ม.๕
๓๐ นางภัคจริ า กิตติสิริบณั ฑิต
๓๑ นายแสงทอง นอยเกิด ๕๙ ๓๖ ครชู ํานาญการ ค.บ. คณติ ศาสตร คณติ ศาสตร ม.๓
๓๒ นางศลิ าพร รามันพงษ
๓๓ นางสุรชา บรุ ษุ ศรี ๕๗ ๓๕ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ กศ.ม. บรหิ ารการศึกษา คณติ ศาสตร ม.๓
๓๔ นางสาวภทั ราวดี เพม่ิ ประยรู
๓๕ นางสาวอุษา บัวบาน ๓๔ ๑๐ ครชู ํานาญการพิเศษ กศ.บ. คณติ ศาสตร คณติ ศาสตร ม.๑,๒,๓
๓๖ นายปฏิญญากร กําเนิด
๓๗ นายเฉลมิ ทองเพชร ๓๒ ๗ ครูชาํ นาญการ ค.บ. คณิตศาสตร คณติ ศาสตร ม.๔
๓๘ นางปย ภัทร พวงกลนิ่
๓๙ นางพรทพิ ย มัน่ ทรพั ย ๔๖ ๒๑ ครชู ํานาญการ ค.บ. คณติ ศาสตร คณติ ศาสตร ม.๓,๕
๔๐ น.ส.ประภาพรรณ อนันตวงศ
๔๑ น.ส.ศศธิ ร ตระกูลพานชิ ย ๓๑ ๗ ครชู ํานาญการ ค.บ. คณติ ศาสตร คณิตศาสตร ม.๕
๔๒ นางธนิษฐา อินทะสี
๔๓ นางอกนิษฐ หมื่นยทุ ธ ๔๘ ๒๓ ครูชาํ นาญการพิเศษ กศ.ม. บรหิ ารการศึกษา คณติ ศาสตร ม.๑
๔๔ นายพรสรร ใจของ
๔๕ นางศรสี กุล วบิ ูลยว งศรี ๒๔ ๕ เดือน ครผู ูช ว ย ศษ.บ. คณติ ศาสตร คณติ ศาสตร ม.๒
๔๖ นางเกษณี สุทธศิ าล
๔๗ นางนิสรา วงษบ ุญมาก ๒๕ ๘ เดือน ครผู ชู วย ค.บ. คณติ ศาสตร คณิตศาสตร ม.๑
๔๘ นายสําราญ คงธนะ
๔๙ นายภมี พล เหมภมู ิ ๔๙ ๒๖ ครชู าํ นาญการ ศษ.ม. ภาษาและวรรณคดไี ทย ภาษาไทย ม.๔
๕๐ นางพรทพิ ย นลิ าภรณ
๕๑ นางสุวารี ยอดศรี ๖๑ ๓๘ ครูชาํ นาญการ กศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย ม.๖
๕๒ น.ส.พณิ ญารัตน ทองเหลือง
๕๓ นายพรชัย โพธิ์มาก ๕๗ ๓๕ ครชู ํานาญการพิเศษ ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย ม.๒
๕๔ นายพลวฒั น แจง ดี
๕๕ นางนงนชุ นอ ยเกดิ ๕๑ ๒๘ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ กศ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย ม.๓
๕๖ นางชลธิชา ตรงสกลุ
๕๗ นางสาวนนั ทวัญ ใยยวง ๖๑ ๓๘ ครชู ํานาญการพเิ ศษ ศศ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย ม.๓
๕๘ นางศุภชลา เพชรแกมทอง
๕๓ ๒๙ ครูชาํ นาญการ ศศ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย ม.๒
๕๙ นางสมทรง พันธศรี
๖๐ นายชชู าติ โดรณ ๔๓ ๑๙ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ ศศ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย ม.๑
๖๑ นางชนิศา จริ เดชประไพ
ครผู ูชว ย ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย ม.๕,๖
๖๒ นางสาวอุษณี สรอ ยเพช็ ร ครูชาํ นาญการพเิ ศษ
๖๓ นางสาวญาดา สงฆวัฒนะ ๕๗ ๓๔ ครชู ํานาญการ ภาษาไทย ม.๑,๒
๖๔ นางปานจันทร ภวู ิชิต ๕๕ ๓๐ ครูชาํ นาญการพิเศษ
๖๕ นางสาวกาญจนา สายทอง ๕๙ ๓๗ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ ค.บ. สังคมศึกษา หนา ที่ฯ ม.๓,พระพทุ ธฯ ม.๓
๖๖ นายมั่นชัย ไมหอม ๓๙ ๑๑ ครชู ํานาญการ
๖๗ นายพงศธร เชยี งสีทอง ๕๗ ๓๕ ครูชาํ นาญการพิเศษ ศศ.ม. การสอนสงั คมศึกษา สังคมฯ ม.๓,อาเซียน ม.๕
๖๘ นางเพลินพศิ ศิริฤทัยวัฒนา ๔๗ ๒๐ ครูชํานาญการพเิ ศษ
๖๙ นายพิศาล คชฤทธ์ิ ๒๙ ๕ ครผู ูชว ย กศ.ม. บริหารการศึกษา หนา ทีพ่ ลเมือง ม.๔,สงั คมฯ ม.๔
๒๗ ๓ ครผู ูชวย
๒๙ ๕ ครู ค.บ. สงั คมศึกษา สังคมฯ ม.๒ ,หนาทพี่ ลเมือง ม.๓
๔๗ ๒๒ ครูชาํ นาญการ
๔๖ ๒๓ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ ศ.บ. เศรษฐศาสตรก ารคลัง เศรษฐศาสตร ม.๕,หนาที่ฯ ม.๑
๔๖ ๒๒ ครชู ํานาญการ
กศ.ม. บริหารการศกึ ษา พระพุทธ ม.๒ ,๔ หนา ท่ฯี ม.๒
๕๔ ๒๙ ครชู ํานาญการพิเศษ
ค.บ. สังคมศึกษา สงั คมฯ ม.๑ หนาท่ีฯ ม.๑
๕๑ ๒๒ ครูชาํ นาญการ
๕๖ ๓๔ ครูชาํ นาญการ ค.บ. สังคมศึกษา สังคมฯ ม.๖, กฎหมาย ม.๔
๔๖ ๒๔ ครชู ํานาญการพเิ ศษ
๕๐ ๑๘ ครูชํานาญการ ค.บ. สงั คมศึกษา ประวัติศาสตรสากล ม.๖
๓๑ ๗ ครู
๔๔ ๑๘ ครูชาํ นาญการ ค.บ. สังคมศึกษา พระพุทธฯ ม.๓,๕ หนาท่ีฯ ม.๔
๒๙ ๑ ครูผชู ว ย
๒๔ ๕ เดือน ครผู ชู ว ย ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ม.๓
๒๔ ๕ เดอื น ครผู ูชว ย
๕๖ ๓๔ ครชู ํานาญการพเิ ศษ ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ม.๑,๒
๕๕ ๓๔ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ
ปร.ด. ยุทธศาสตรการบรหิ าร ภาษาอังกฤษ ม.๔
และการพฒั นา

ศศ.ม. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ม.๒,๔

ค.บ. ภาษาศาสตรป ระยกุ ต ภาษาอังกฤษ ม.๓,๖

ค.ม. บรหิ ารการศึกษา ภาษาองั กฤษ ม.๑,๕

ศศ.ม. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ ม.๓,๖

ศศ.บ. ภาษาจนี ภาษาจีน ม.๒,๕,๖

ศศ.ม. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ม.๓,๕

ศศ.บ. ภาษาจีน ภาษาจีน ม.๔

ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ ม.๑,๒

ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ ม.๒

ค.บ. พลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.๑,๔,๖

ค.บ. พลศึกษา สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.๒,๓



ท่ี ชอ่ื – ช่อื สกุล อายุ อายุ ตําแหนง /วิทยฐานะ วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า/ชน้ั ชั่วโมงทรี่ ับ
ราชการ การพัฒนา/ป

๗๐ นายสรุ เดช อินจนั ทร ๕๗ ๓๖ ครชู ํานาญการพิเศษ กศ.ม. บรหิ ารการศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา ม.๑,๕,๖

๗๑ นางสาวนติ ยา อดเิ รก ๕๗ ๓๔ ครูชํานาญการพเิ ศษ ศศ.บ. บริหารธรุ กจิ การสอื่ สารและการนําเสนอ ม.๒

๗๒ นางจริ าพร ชัยแสงแกว ๕๗ ๓๕ ครชู าํ นาญการพิเศษ กศ.ม. การวัดผลการศึกษา การส่ือสารและการนาํ เสนอ ม.๒

๗๓ นายปริญญา วิชัย ๓๑ ๘ ครู วท.บ. วทิ ยาการคอมพิวเตอร เทคโนโลยี ม.๓,๖

๗๔ นางสาวสมิตานันต สุขมาก ๔๒ ๑๘ ครชู ํานาญการพิเศษ กศ.ม. เทคโนโลยีและสอื่ สารฯ คอมพิวเตอรกราฟค ม.๑,๖

๗๕ นางสกุณา นิยมเดช ๕๙ ๓๕ ครูชาํ นาญการพิเศษ กศ.บ. คหกรรม การงานอาชีพ ม.๑,๔

๗๖ นายศกั ดิ์ศริ ิ ธรรมบุตร ๕๗ ๓๔ ครชู ํานาญการ ค.บ. เกษตรกรรม การงานอาชีพ ม.๑

๗๗ นายสุรศกั ด์ิ โพธบิ์ ัลลังค ๓๘ ๑๒ ครชู ํานาญการพิเศษ วท.ม. เทคโนโลยสี ารสนเทศ คอมพวิ เตอร ม.๑,๓,๔

๗๘ นายสญั ญา อุนพานิชย ๕๗ ๓๓ ครูชํานาญการพเิ ศษ กศ.บ. เทคโนโลยี การงานอาชพี ม.๖

๗๙ นางโชติชญาน เรอื นจรัสศรี ๓๗ ๑๒ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ วท.บ. วทิ ยาการคอมพิวเตอร คอมพวิ เตอร ม.๒,๓,๕

๘๐ นางอัมพรภสั ร สุพชรวงศ ๔๘ ๒๔ ครูชํานาญการพเิ ศษ กศ.ม. เทคโนโลยแี ละสอ่ื สารฯ การงานอาชพี ม.๑,๕

๘๑ นางณัฐรณิ ีย ศรสี ถาพร ๓๕ ๖ ครู กศ.ม. บรหิ ารการศึกษา เทคโนโลยี ม.๒

๘๒ นายประยูร จริ ะเดชประไพ ๕๔ ๒๕ ครูชํานาญการพเิ ศษ ค.ม. การบริหารการศกึ ษา การสอื่ สารและการนําเสนอ ม.๕

๘๓ นายสุดใจ จารจุ ิตร ๕๔ ๓๓ ครชู ํานาญการ ศษ.บ. สังคมศึกษา ศลิ ปะพืน้ ฐาน ม.๓,๕

๘๔ นายมนตช ยั เชาวลติ โรจน ๕๙ ๓๒ ครูชํานาญการ ค.บ. อุตสาหกรรมศลิ ป ศลิ ปะพนื้ ฐาน ม.๑,๒,๖

๘๕ นางสาวณัฏธยาน ภมุ มา ๓๘ ๗ ครูชาํ นาญการ ค.บ. ศลิ ปกรรม ทศั นศิลป ม.๒

๘๖ นายเอกลักษณ ผลพระ ๔๒ ๑๙ ครชู ํานาญการ ค.บ. อุตสาหกรรมศิลป ศิลปะพ้นื ฐาน ม.๑,ออกแบบ ม.๕

๘๗ นายไพโรจน ยง่ิ คิด ๕๒ ๓๔ ครชู ํานาญการพิเศษ กศ.ม. เทคโนโลยีและสอ่ื สารฯ ศลิ ปะพน้ื ฐาน (ดนตรี)ม.๔

๘๘ นางเพลนิ ใจ ประสารศรี ๕๑ ๒๖ ครูชาํ นาญการพิเศษ กศ.ม. จิตวทิ ยาการแนะแนว แนะแนว ม.๑,๖

๘๙ นางมาลินี อนิ จนั ทร ๕๗ ๓๕ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กศ.ม. หลักสูตรและการสอน แนะแนว ม.๒,๔

๙๐ นางวรี วรรณ ไพรสงิ ห ๔๑ ๑๘ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กศ.ม. จติ วิทยาการแนะแนว แนะแนว ม.๓,๔

๙๑ นางกานตรวี กําเนิด ๔๒ ๑๒ พนกั งานราชการ ศศ.บ. รฐั ประศาสนศาสตร ประวัติศาสตร ม.๑,๒,หนาทฯ่ี ม.๒

๙๒ น.ส.สตุ าภทั ร กระสานติ์คีรี ๒๙ ๕ ครูอัตราจาง ค.บ. ภาษาจนี ภาษาจีน ม.๑,๕

๙๓ นายชานนท ผองฉวี ๒๘ ๔ ครูอัตราจาง ค.บ. สังคมศกึ ษา สังคมฯ ม.๓, พระพุทธฯ ม.๑

๙๔ นายบุญเลิศ ศาสตรแ กว ๒๗ ๔ ครูอตั ราจาง ค.บ. พลศึกษา สุขศึกษาและพลศกึ ษา ม.๒,๓

๙๕ นายสริ ิชยั เจนทศั นเอกจติ ๒๕ ๒ ครอู ัตราจาง ค.บ. ภาษาจีน ภาษาจนี ม.๕,๖

๙๖ นายเกรยี งศกั ดิ์ ศริ ิพรชัยกลุ ครูอัตราจาง ค.บ. ดนตรี ศิลปะพื้นฐาน(ดนตรี) ม.๓

สรุป ขอ มูลบุคลากรของสถานศกึ ษา ประจําปก ารศึกษา ๒๕๕๙

วฒุ กิ ารศกึ ษา สาขาวิชา

ตาํ แหนง จาํ นวน ป.ตรี ป.โท ป.เอก บริหาร คณติ วทิ ยา ภาษา ภาษา สังคม การงานฯ อ่ืน ๆ
การศึกษา ศาสตร ศาสตร ไทย องั กฤษ

ผบู ริหาร ๕ ๔๑ ๕

ครู ๘๗ ๓๙ ๔๗ ๑ ๑๒ ๑๑ ๑๒ ๘ ๑๐ ๗ ๕ ๒๒

พนกั งานราชการ ๒ ๒ ๑๑

ครอู ตั ราจาง ๕๕ ๑๔

เจา หนาท่อี ่นื ๆ ๑๓ ๑๓ ๑๑๓ ๘

รวม ๑๑๒ ๕๙ ๕๑ ๒ ๑๗ ๑๒ ๑๔ ๑๑ ๑๐ ๙ ๕ ๓๔



๓. ขอมูลนกั เรยี น (ณ วนั ที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๐)
๑) จํานวนนักเรยี นในโรงเรยี นท้งั สิ้น ๑,๘๑๒ คน จําแนกตามระดับช้ันท่ีเปด สอน

ระดบั ชั้นเรียน จํานวนหอ ง เพศ รวม เฉลี่ยตอหอง
ชาย หญิง

มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๑ ๙ ๑๓๖ ๒๒๓ ๓๕๙ ๔๐
มธั ยมศึกษาปท ี่ ๒ ๔๑
มธั ยมศึกษาปท ่ี ๓ ๙ ๑๕๗ ๒๑๒ ๓๖๙ ๓๗
๓๙
รวม ๑๐ ๑๕๕ ๒๑๒ ๓๖๗ ๓๖
มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๔ ๓๗
มัธยมศึกษาปที่ ๕ ๒๘ ๔๔๘ ๖๔๗ ๑,๐๙๕ ๓๕
มธั ยมศึกษาปที่ ๖
๗ ๘๗ ๑๖๒ ๒๔๙
รวม
๗ ๗๙ ๑๗๙ ๒๕๘

๖ ๖๒ ๑๔๘ ๒๑๐

๒๐ ๒๒๘ ๔๘๙ ๗๑๗

รวมทง้ั หมด ๔๘ ๖๗๖ ๑,๑๓๖ ๑,๘๑๒

๒) จํานวนนักเรยี นท่ีออกกลางคัน (ปจ จบุ ัน) ๑๕ คน คิดเปนรอ ยละ ๐.๘๒

๓) จํานวนนักเรียนทีเ่ รียนซํ้าช้ัน - คน คดิ เปนรอยละ -

๔) จํานวนนกั เรียนท่ีจบหลกั สูตร

ม.๓ จํานวน ๓๕๑ คน คิดเปนรอยละ ๙๖

ม.๖ จาํ นวน ๒๑๐ คน คิดเปนรอยละ ๑๐๐

๕) อตั ราสวนครู : นักเรียน = ๑ : ๒๑

๔. ขอมูลผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศกึ ษา

๔.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ๘ กลุมสาระการเรียนรู ระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา

๒๕๕๙ (ทุกประเดน็ ใหจ าํ แนกตามระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี ๑ – ๓)

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒ มธั ยมศึกษาปท ่ี ๓

กลุม สาระการเรียนรู จํานวน นร.ได รอ ยละ นร.ได จํานวน นร.ได รอ ยละ นร.ได จาํ นวน นร.ได รอ ยละ นร.ได

ระดับ๓ข้ึนไป ระดบั ๓ขน้ึ ไป ระดบั ๓ข้ึนไป ระดบั ๓ขน้ึ ไป ระดบั ๓ขึ้นไป ระดับ๓ขึน้ ไป

ภาษาตา งประเทศ ๒๗๗ ๗๗.๒๘ ๒๕๘ ๖๙.๙๔ ๒๗๖ ๗๕.๑๘

การงานอาชพี ฯ ๓๒๒ ๘๙.๕๙ ๓๑๕ ๘๕.๔๔ ๓๐๖ ๘๓.๖๑

ศิลปะ ๒๖๖ ๗๔.๐๗ ๒๘๖ ๗๗.๔๒ ๒๙๑ ๗๙.๓๘

สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๓๔๘ ๙๖.๘๗ ๓๔๘ ๙๔.๒๙ ๓๒๗ ๘๙.๒๘

สงั คมศกึ ษา ฯ ๓๐๐ ๘๓.๗๓ ๓๒๓ ๘๗.๖๐ ๒๘๙ ๗๘.๖๖

วทิ ยาศาสตร ๒๖๒ ๗๓.๐๖ ๓๐๖ ๘๓.๑๓ ๒๘๑ ๗๖.๖๗

คณติ ศาสตร ๑๙๘ ๕๕.๑๐ ๒๒๒ ๖๐.๐๗ ๒๒๙ ๖๒.๕๘

ภาษาไทย ๒๖๖ ๗๔.๐๗ ๒๔๖ ๖๖.๗๑ ๒๒๑ ๖๐.๒๓

หมายเหตุ กลุมสาระการเรียนรมู ที ้งั รายวชิ าพน้ื ฐานและเพิ่มเติมและมีหลายรหสั วิชา ใหใชคา เฉล่ีย



๔.๒ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ๘ กลมุ สาระการเรียนรู ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ปการศกึ ษา
๒๕๕๙ (ทกุ ประเดน็ ใหจาํ แนกตามระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๔ – ๖)

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ มัธยมศกึ ษาปที่ ๒ มัธยมศกึ ษาปที่ ๓

กลมุ สาระการเรยี นรู จาํ นวน นร.ได รอยละ นร.ได จาํ นวน นร.ได รอ ยละ นร.ได จาํ นวน นร.ได รอ ยละ นร.ได

ระดับ๓ขึน้ ไป ระดบั ๓ขน้ึ ไป ระดับ๓ข้ึนไป ระดับ๓ขึน้ ไป ระดับ๓ข้นึ ไป ระดบั ๓ขนึ้ ไป

ภาษาตา งประเทศ ๑๘๔ ๗๓.๘๓ ๒๐๐ ๗๗.๗๔ ๑๕๗ ๗๔.๗๗

การงานอาชพี ฯ ๒๐๙ ๘๔.๐๑ ๒๕๑ ๙๗.๓๐ ๑๙๘ ๙๔.๒๔

ศิลปะ ๒๑๓ ๘๕.๖๙ ๒๒๓ ๘๖.๔๘ ๑๘๘ ๘๙.๒๙

สุขศึกษาและพลศึกษา ๒๔๘ ๙๙.๖๐ ๒๕๐ ๙๖.๙๒ ๒๐๙ ๙๙.๕๒

สังคมศึกษา ฯ ๒๔๐ ๙๖.๔๑ ๒๑๑ ๘๒.๑๑ ๒๐๗ ๙๘.๗๗

วิทยาศาสตร ๑๙๙ ๘๐.๒๗ ๑๙๓ ๗๔.๗๗ ๑๗๕ ๘๓.๕๗

คณิตศาสตร ๑๔๘ ๕๙.๓๙ ๑๔๙ ๕๗.๗๓ ๑๗๖ ๘๓.๗๘

ภาษาไทย ๒๒๖ ๙๐.๗๘ ๒๑๔ ๘๓.๐๔ ๑๗๒ ๘๒.๐๗

หมายเหตุ กลุมสาระการเรียนรูมที ้งั รายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเตมิ และมหี ลายรหัสวิชา ใหใ ชคาเฉล่ีย

๕. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET)

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ประจาํ ปการศึกษา ๒๕๕๗ และ ๒๕๕๘

ระดบั มัธยมศกึ ษาปที่ ๓

รายวิชา ภาษาไทย คา คณิตศาสตร คา วิทยาศาสตร คา สังคมฯ คา ภาษาอังกฤษ คา
พฒั นา
คะแนนเฉล่ีย ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ พฒั นา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ พัฒนา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ พัฒนา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ พฒั นา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘
ของโรงเรยี น ๓.๒๑
คะแนนเฉลยี่ ๓๔.๖๔ ๔๑.๘๕ ๗.๒๑ ๒๘.๖๘ ๓๑.๕๕ ๒.๘๗ ๓๘.๕๗ ๓๖.๘๑ -๑.๗๖ ๔๖.๓๒ ๔๔.๙๖ -๑.๓๖ ๒๖.๑๙ ๒๙.๔ ๓.๑๖

ระดับเขต ๓๕.๒๐ ๔๒.๖๔ ๗.๔๔ ๒๙.๖๕ ๓๒.๔๐ ๒.๗๕ ๓๘.๖๒ ๓๗.๖๓ -๐.๙๙ ๔๖.๗๙ ๔๖.๒๔ -๐.๕๕ ๒๗.๔๖ ๓๐.๖๒ คา
พืน้ ที่ พฒั นา
ระดับมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๖
คะแนนเฉล่ีย ๑.๓๒
ระดบั ประเทศ ภาษาไทย คา คณิตศาสตร คา วิทยาศาสตร คา สงั คมฯ คา ภาษาองั กฤษ ๑.๘๔

รายวิชา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ พฒั นา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ พัฒนา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ พัฒนา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ พัฒนา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘

คะแนนเฉลีย่ ๔๘.๕๔ ๔๖.๙๑ -๑.๖๓ ๑๙.๐๖ ๒๔.๓๓ ๕.๒๗ ๓๑.๕ ๓๒.๔๙ ๐.๙๙ ๓๔.๓๘ ๓๗.๘๑ ๓.๔๓ ๒๐.๖๘ ๒๒.๐๐
ของโรงเรยี น ๕๐.๗๖ ๔๙.๓๖ -๑.๔๐ ๒๑.๗๔ ๒๖.๕๙ ๔.๘๕ ๓๒.๕๔ ๓๓.๔ ๐.๘๖ ๓๖.๕๓ ๓๙.๗ ๓.๑๗ ๒๓.๑๔ ๒๔.๙๘
คะแนนเฉล่ยี

ระดบั เขต
พ้ืนที่

คะแนนเฉลี่ย
ระดับประเทศ



๖. ขอมูลการใชแหลง เรยี นรูภายในและภายนอกโรงเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๙
๖.๑) แหลง เรียนรภู ายในโรงเรยี น

ช่อื แหลงเรียนรู สถิติการใชจ าํ นวนครง้ั /ปการศึกษา รวม
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ ๕๗๔
๒๒๙
๑. หองสมดุ ๑๘๐ ๕๙ ๕๕ ๑๒๙ ๕๙ ๙๒ ๒๓๓

๒. Multimedia Room ๓๐ ๗๕ ๖๘ ๕๖ ๑๒๐

๓. resource center ๒๕ ๓๓ ๓๒ ๑๔๑ ๒ ๖
๓๓
๔. ศนู ยการเรียนรพู ลงั งานทดแทน ๖ ๑๘๒
๓๕
๕. ศนู ยก ารเรียนรูเ ศรษฐกิจพอเพียง ๓๘ ๑๔ ๓๘ ๒๐ ๑๐ ๒๐

๖. สวนหิน ๔

๗. หองปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร ๑ ๖

๘. หอ งปฏบิ ัตกิ ารทางคณิตศาสตร ๒๐ ๘๕

๙. หองสมุดภาษาจนี ๒๐ ๕๔ ๔๘ ๖๐

๑๐. หอ งแนะแนว ๑๕ ๒๐

๑๑. หอ งสมดุ กลุมสาระฯภาษาตา งประเทศ ๒๐

๖.๒) แหลง เรยี นรูภ ายนอกโรงเรยี น

ช่ือแหลงเรียนรู ม.๑ สถติ ิการใชจํานวนครัง้ /ปการศึกษา รวม
๑๐ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ ๕
OBEC: MINISTRY OF EDUCATION ๑๒
จดั หางานจังหวดั กําแพงเพชร ๕ ๑
รานกระยาสารทกลวยไขแมกิมไล ๑๒ ๔
กองบนิ ๔๖ จังหวดั พษิ ณุโลก ๑ ๑๕
การทองเท่ียวกีฬานนั ทนาการ ๒๒ ๑๐
วิทยาลยั เทคนคิ กาํ แพงเพชร ๑๕ ๒
เฉากว ยชากงั ราว ๑๐ ๕
ชมุ ชนในทอ งถ่นิ ๒ ๑๐
ตลาดในจงั หวดั กําแพงเพชร ๕ ๔
บอ น้ําพรุ อนพระรว ง ๑
พระราชวังจนั ทน จงั หวัดพิษณโุ ลก ๔




ชอื่ แหลงเรียนรู สถติ กิ ารใชจํานวนคร้งั /ปก ารศึกษา

อทุ ยานประวัติศาสตรกําแพงเพชร ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม
ฟารม หมู ซีพีจงั หวดั กาํ แพงเพชร
มหาวิทยาลยั นเรศวร ๗ ๒๕ ๑๑ ๕ ๑๐ ๕๘
มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาํ แพงเพชร
ร.พ.สงเสรมิ สุขภาพ สวนสริ ิจติ ร ๑๑
รา นคาภายในชมุ ชน
วัดในชุมชน ๑๕ ๑๕
ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวดั
กําแพงเพชร ๔ ๕๙ ๒ ๕๙ ๘ ๑๓๒
ศนู ยวิทยาศาสตรศ ึกษา นครสวรรค
สถานีอุตนุ ยิ มวทิ ยา จงั หวดั กําแพงเพชร ๑๘ ๑๒ ๓๐
สนามกีฬาชากังราว
หนว ยงานราชการในจงั หวัดกกแพงเพชร ๒๒
หองสมดุ ประชาชน
หางสรรพสินคา Big C กาํ แพงเพชร ๒๒ ๒ ๒๔
อุทยานแหงชาตินํ้าตกคลองลาน
๙ ๙
๑ ๑
๑๐ ๑๐
๒ ๒

๒ ๕
๕ ๘๒
๒๔ ๓ ๒๐ ๓๕ ๑





ตอนท่ี ๒
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ดา นที่ ๑ มาตรฐานดา นคุณภาพผเู รยี น (๖ มาตรฐาน ๒๖ ตวั บงช้ี)

มาตรฐานที่ ๑ ผูเรยี นมสี ุขภาวะทดี่ ีและมสี ุนทรียภาพ

ตัวบง ชี้ รอยละ สอดคลองกบั ระบุรองรอยหลกั ฐาน
ท่ไี ด มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน

๑.๑ มีสขุ นิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกําลงั กาย มฐ. ๑ คณุ ภาพ โครงการพฒั นาผเู รียนใหมี

สม่ําเสมอ ผูเรียน สุขภาวะทดี่ แี ละมี

๑.๒ มนี าํ้ หนกั สว นสงู และมีสมรรถภาพทางกาย ตบช. ๑.๒ สนุ ทรียภาพ ประกอบดวย

ตามเกณฑมาตรฐาน คุณลักษณะท่พี ึง กจิ กรรม ดงั นี้

๑.๓ ปองกันตนเองจากส่ิงเสพติดใหโทษและ ประสงคของผเู รยี น - กจิ กรรมสง เสรมิ

หลกี เล่ียงตนเองจากสภาวะทเ่ี สี่ยงตอความรุนแรง ศักยภาพดานกีฬา

โรค ภยั อบุ ัตเิ หตุ และปญ หาทางเพศ - การทดสอบสมรรถภาพ

๑.๔ เหน็ คณุ คาในตนเอง มคี วามมน่ั ใจ กลา - การแขง ขนั กีฬาระหวาง

แสดงออกอยา งเหมาะสม หอ ง

๑.๕ มีมนษุ ยสมั พันธท ่ดี แี ละใหเกียรติผูอนื่ - การแขง ขนั กีฬาตา นยา

๑.๖ สรา งผลงานจากการเขารว มกจิ กรรมดา น เสพตดิ

ศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป กีฬา/นันทนาการตาม - แบบรายงานผลการ

จนิ ตนาการ เจริญเตบิ โตของนักเรียน

- กิจกรรมหอ งเรยี นสีขาว

- ตลาดนักสุขภาพ

- กิจกรรมสง เสรมิ

ศกั ยภาพดานดนตรี

นาฏศิลป ศิลปะ

- สงเสรมิ ศกั ยภาพดาน

การเรียนการสอน

ทศั นศลิ ป

- การแขงขนั ทกั ษะดาน

ดนตรีและการขับรอ ง



๑. วิธีการพฒั นา
๑) โรงเรยี นมกี ารรณรงคส ขุ นิสยั ในการดูแลสขุ ภาพและออกกําลงั กายสมาํ่ เสมอ โดย

ครูผูส อนไดส อดแทรกในกระบวนการเรียนการสอน
๒) โรงเรียนจดั กิจกรรมกีฬา กรีฑาภายในโรงเรียนทุกปการศกึ ษา
๓) โรงเรียนจัดใหมีการช่งั นาํ้ หนัก วดั สวนสงู เพ่อื ประเมินพัฒนาการทางรางกายให

เจริญเติบโตตามเกณฑมาตรฐาน
๔) โรงเรยี นจดั กจิ กรรมหอ งเรียนสีขาว ใหผ ูเ รยี นรูจกั ปอ งกันตนเองจากส่ิงเสพติด และ

หลกี เลย่ี งจากสภาวะเส่ียงตา งๆ
๕) โรงเรยี นจดั กจิ กรรมรนุ นองเคารพรุนพ่ี ในกิจกรรมหนาเสาธงทุกเชา เพื่อสานสัมพนั ธท ่ีดี

ตอ กัน
๖) โรงเรยี นจัดกจิ กรรมดา นศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป กฬี าและนนั ทนาการเปน ประจาํ

๒. ผลการพัฒนา
จากการพฒั นาผูเรียนใหมีสุขภาวะทดี่ แี ละมสี ุนทรียภาพ ทําใหผ ลการประเมินคณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี ๑ อยูในระดบั ดเี ยยี่ ม

๓. แนวทางการพฒั นา
๑) โรงเรยี นควรมีการจัดกจิ กรรมพัฒนาผูเรียนดา นสขุ นสิ ัย การดแู ลสุขภาพและออกกาํ ลงั

กายสม่ําเสมอ
๒) โรงเรยี นควรสนับสนนุ การจัดกิจกรรมดนตรี กฬี า ศิลปะในทกุ ปการศึกษา

๑๐

มาตรฐานท่ี ๒ ผูเรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม และคา นยิ มที่พึงประสงค

ตัวบงช้ี รอ ยละ สอดคลอ งกับ ระบุรอ งรอยหลกั ฐาน
ท่ไี ด มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน

๒.๑ มคี ณุ ลักษณะที่พึงประสงคตามหลักสตู ร ๙๙.๔๘ มฐ. ๑ คุณภาพ โครงการสงเสรมิ พฒั นา

๒.๒ เออ้ื อาทรผูอื่นและกตัญูกตเวทตี อผมู พี ระคุณ ผูเรียน ผเู รียนใหม คี ุณธรรม

๒.๓ ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมท่ีแตกตา ง ตบช. ๑.๒ จริยธรรมและคา นยิ มหลัก

๒.๔ ตระหนกั รคู ณุ คา รวมอนุรกั ษและพัฒนา คุณลกั ษณะทพี่ ึง ของไทย ๑๒ ประการ โดย

สง่ิ แวดลอม ประสงคของผูเรียน จัดกิจกรรม ไดแก

- วันพอแหง ชาติ

- วนั แมแ หงชาติ

- หลอ เทยี นจํานาํ พรรษา

- วนั ปยมหาราช

- คายคณุ ธรรม จริยธรรม

ม. ๑ ,๔

- คายคานยิ ม๑๒ ประการ

- สอบธรรมศึกษา

- กิจกรรมปรับสภาพ

นกั เรียนใหม

- ปจ ฉมิ นิเทศ ม.๓ ,๖

๑. วิธีการพฒั นา
โรงเรียนสงเสริมผเู รียนใหมีคุณธรรม จริยธรรมและคานยิ มท่ีพึงประสงค มีความเอ้อื อาทร

ตอ ผูอื่น กตญั ูกตเวทแี ละผูมีพระคุณ ยอมรับความคดิ และวฒั นธรรมท่แี ตกตาง เพ่ืออยูร วมกันอยา ง
มีความสขุ มีความตระหนัก รูคณุ คา รว มอนุรักษแ ละพฒั นาสิง่ แวดลอม และเปนคนดีของสังคม โดย
จดั กิจกรรมพัฒนาคุณธรรมนําความรูน อมนาํ เศรษฐกจิ พอเพียง สง เสรมิ ผเู รียนใหม ีคุณธรรม จริยธรรม
รกั ษภ มู ปิ ญญาไทยโดยจดั กจิ กรรมวันพอแหง ชาติ วันแมแ หงชาติ กจิ กรรมวนั ไหวค รู หลอ เทียนจํานํา
พรรษา วันปย มหาราช อบรมใหผูเรียนใฝห าความรหู มั่นศึกษาเลาเรยี นทางตรงและทางออม กจิ กรรม
คายคณุ ธรรมจริยธรรม คายคานยิ ม ๑๒ ประการ สอบธรรมศกึ ษา กจิ กรรมตามจดุ เนนวิชาหนาที่
พลเมอื ง กิจกรรมปรับสภาพนักเรยี นใหม กิจกรรมปจฉิมนิเทศ และการมอบทนุ การศึกษา

๑๑

๒. ผลการพัฒนา
จากการจดั กิจกรรมการเรียนรูอยา งหลากหลายเพือ่ สง เสริมใหผูเ รียนมคี ุณลักษณะอนั พึง

ประสงคต ามหลักสตู ร สงผลใหน กั เรยี นมีความเอ้ืออาทรตอ ผอู ่ืน มีความกตัญูกตเวทตี อผูมีพระคุณ
ยอมรบั ความคดิ และวฒั นธรรมที่แตกตาง รวมถึงการตระหนักในคุณคา รวมอนุรักษพฒั นาส่งิ แวดลอ ม
มีผลการประเมินคณุ ภาพในมาตรฐานที่ ๒ อยูในระดับ ดีเยี่ยม
๓. แนวทางการพฒั นา

โรงเรยี นควรสงเสรมิ กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี นใหม ีคุณธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะอนั พึง
ประสงคต ามหลักสตู รโดยพัฒนากจิ กรรม คานยิ ม 12 ประการ และดาํ เนนิ การกิจกรรมใหสอดคลอง
กับปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง รวมทงั้ กจิ กรรมอนรุ ักษแ ละพัฒนาสง่ิ แวดลอ มอยา งมีประสิทธภิ าพ

๑๒

มาตรฐานที่ ๓ ผเู รยี นมีทักษะในการแสวงหาความรดู วยตนเอง รักการเรยี นรู และพฒั นาตนเอง

อยางตอเนือ่ ง

ตัวบงช้ี รอยละ สอดคลองกบั ระบุรอ งรอยหลักฐาน
ทีไ่ ด มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน

๓.๑ มนี ิสยั รกั การอา นและแสวงหาความรูด ว ย มฐ. ๑ คุณภาพ โครงการพฒั นาผเู รียนใหมี

ตนเองจากหอ งสมุด แหลงเรียนรู และสอื่ ตางๆ ผเู รียน ทกั ษะในการแสวงหา

รอบตวั ตบช. ๑.๑ ความรูดว ยตนเอง รักการ

๓.๒ มที ักษะในการอาน ฟง ดู พูด เขยี น และตั้ง ผลสมั ฤทธิท์ าง เรยี นรูและพฒั นาตนเอง

คําถามเพ่ือคนควา หาความรเู พ่ิมเติม วิชาการ อยา งตอเนอื่ ง ไดแก

๓.๓ เรยี นรูรว มกันเปน กลุม แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ เพ่ือ กิจกรรมดังนี้

การเรียนรรู ะหวางกัน - สปั ดาหรําลึกครูกลอน

๓.๔ ใชเ ทคโนโลยใี นการเรยี นรูและนําเสนอผลงาน สุนทรภู

- สัปดาหว ันภาษาไทย

- สง เสริมนิสัยรกั การอา น

- สปั ดาหว ทิ ยาศาสตร

- ศกึ ษาแหลง เรยี นรใู น

ทองถิน่

- พฒั นาทกั ษะการคิด

- English Camp

- ละครเวทภี าษาอังกฤษ

- ศึกษานอกสถานท่ี

- กิจกรรมวทิ ยาศาสตร

สสวท. และ สอวน.

- กจิ กรรมโครงงาน

วทิ ยาศาสตร

- กจิ กรรมนักประดษิ ฐ

นอ ย

- English For All Camp

- International Day

๑๓

๑. วิธกี ารพัฒนา
โรงเรยี นสง เสรมิ ใหผเู รียนมีทักษะในการแสวงหาความรูดว ยตนเอง รักการเรียนรู และ

พัฒนาตนเองอยางตอ เน่ืองโดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทเี่ นนผเู รยี นเปนสําคญั โดยเนน ใหผเู รียน
มีทักษะในการแสวงหาความรดู ว ยตนเอง รักการอา นจากสื่อทกุ ประเภท รวมทง้ั มกี ารจดบนั ทึกใน
รปู แบบตา งๆ สงเสรมิ ผูเ รียนใหเ หน็ คุณคาของการมนี สิ ัยในการแสวงหาความรู และการพฒั นาตนเอง
สงเสรมิ ครใู หเ ขา รบั การอบรมและจดั กระบวนการเรยี นรูโ ดยเนนผเู รียนใหมที กั ษะการแสวงหาความรู
ของผูเ รียน เชน กระบวนการ ๕ ขน้ั กระบวนการเรียนรสู บื คนขอมูลจากส่ือทุกชนิด สงเสรมิ ใหครูใช
เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู มอบหมายใหผูเรยี นจัดทํารายงาน บันทกึ ความรูจากการอาน
บรรณารักษจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายในการสงเสรมิ ใหผ เู รยี นแสวงหาความรูในรูปแบบตา งๆ
๒. ผลการพฒั นา

จากการจดั โครงการ/กจิ กรรมการเรียนรู อยา งหลากหลาย เพ่ือฝกทกั ษะการมนี สิ ัยรักการ
อาน มีทักษะในการอาน ฟง ดู พูด เขียน และพฒั นาตนเองอยางตอเนื่องในทุกกลุม สาระการเรยี นรู
ทุกระดับชัน้ สง ผลใหผ เู รียนสามารถแสวงหาความรูด วยตนเอง รักการเรยี นรแู ละพฒั นาตนเองอยา ง
ตอเนือ่ ง มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๓ ในระดบั ดีเย่ียม
๓. แนวทางการพฒั นา

โรงเรียนควรจดั กิจกรรมสงเสริมทักษะการอาน ฟง พูด เขยี น และต้ังคาํ ถามสง เสรมิ ใหผ เู รียน
ไดเรยี นรเู ปน กลมุ และแลกเปล่ียนเรียนรู ใชเทคโนโลยีในการอา นและนําเสนอผลงาน ครทู กุ กลุมสาระ
การเรียนรสู ง เสรมิ ใหผ เู รียนจัดทาํ บนั ทกึ รักการ กระบวนการเรยี นรเู นน การแสวงหาความรูดวยตนเอง
โดยใชเ ทคโนโลยี

๑๔

มาตรฐานที่ ๔ ผเู รียนมีความสามารถในการคิดอยา งเปนระบบ คดิ สรา งสรรค ตดั สินใจแกป ญหาได
อยางมสี ตสิ มเหตุผล

ตวั บงชี้ รอ ยละ สอดคลอ งกับ ระบรุ องรอยหลักฐาน

๔.๑ สรุปความคดิ จากเรื่องที่อาน ฟง และดู และ ทีไ่ ด มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน
สอ่ื สารโดยการพดู หรือเขียนตามความคิดของตนเอง
๔.๒ นาํ เสนอวธิ คี ิด วธิ ีแกปญหาดว ยภาษาหรือวธิ ีการ มฐ. ๑ คุณภาพ โครงการพัฒนาผูเ รยี นใหมี
ของตนเอง
๔.๓ กําหนดเปาหมาย คาดการณ ตดั สินใจแกปญหา ผูเรยี น ความสามารถในการคิด
โดยมเี หตผุ ลประกอบ
๔.๔ มีความคดิ ริเร่ิม และสรางสรรคผ ลงานดวยความ ตบช. ๑.๑ อยา งเปน ระบบคิด
ภาคภมู ิใจ
ผลสมั ฤทธ์ิทาง สรางสรรค ตดั สินใจ

วชิ าการ แกป ญหาไดอยา งมสี ติสม

เหตผุ ลมีกิจกรรมดังน้ี

- คายวิชาการตา งๆ

- โครงงานของทุกกลุม

สาระการเรยี นรู

- พัฒนาทักษะทางภาษา

ทงั้ การพูด การเขียน การ

นําเสนอ และกลา

แสดงออกของผเู รยี น

- สงเสรมิ การแขงขนั

ความสามารถดานวชิ าการ

ของทุกกลุมสาระฯ

๑. วธิ กี ารพฒั นา
โรงเรียนมกี ารวางแผนอยางเปน ระบบในการจดั กิจกรรมโดยผา นการระดมความคิด กาํ หนด

กิจกรรม เปา หมายอยา งชดั เจน สง เสรมิ ใหผเู รียนไดค ดิ อยา งเปนระบบ คิดสรา งสรรคตัดสนิ ใจในการ
แกปญหาไดอยา งสมเหตสุ มผล ไดแ ก

๑) คา ยวชิ าการ เชน คายคณติ ศาสตร คา ยพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร คา ยพัฒนาทักษะ
การคิด สงเสรมิ ทักษะทางคฺณิตศาสตร

๒) สง เสรมิ นักเรยี นทําโครงงานทุกกลมุ สาระการเรยี นรู
๓) พฒั นาทักษะทางดา นภาษา ทั้งการพูด การเขยี น การนาํ เสนอ และกลาแสดงออกของ

ผเู รยี น เชน คา ยภาษาอังกฤษ คายพฒั นาอัจฉรยิ ภาพ
๔) สง เสริมการแขงขันความสามารถดา นวิชาการของทุกกลมุ สาระการเรียนรู

๑๕

๒. ผลการพฒั นา
จากการจัดกจิ กรรมสง เสรมิ ใหผเู รียนไดมคี วามสามารถในการคดิ อยางเปน ระบบ คิด

สรางสรรค ตดั สินใจใจการแกปญหาไดอยางสมเหตสุ มผล ทาํ ใหมผี ลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐาน
ท่ี ๔ ในระดบั ดเี ยย่ี ม
๓. แนวทางการพัฒนา

ควรพัฒนากจิ กรรมใหมีผลการประเมนิ ใหด ยี งิ่ ขน้ึ ไป เชน สงเสรมิ การแขงขนั ทกั ษะในดาน
ตางๆ ควรมเี วลาในการฝกสอนใหม ากขึ้น

มาตรฐานที่ ๕ ผูเรียนมคี วามรูและทกั ษะทีจ่ ําเปนตามหลกั สูตร

ตัวบงช้ี รอ ยละ สอดคลองกบั ระบรุ องรอยหลักฐาน
ท่ไี ด มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน

๕.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นเฉลีย่ แตละกลุมสาระ มฐ. ๑ คณุ ภาพ โครงการพัฒนาผูเรยี นมี

เปน ไปตามเกณฑ ผเู รยี น ความรแู ละทักษะที่จําเปน

๕.๒ ผลการประเมนิ สมรรถนะสาํ คัญตามหลักสตู ร ตบช. ๑.๑ ตามหลักสตู ร ไดแก

เปนไปตามเกณฑ ผลสมั ฤทธิ์ทาง - กิจกรรมสอนเสรมิ

๕.๓ ผลการประเมนิ การอาน คดิ วเิ คราะห และเขียน วิชาการ นกั เรียน ม.6

เปน ไปตามเกณฑ -กจิ กรรมตวิ ม.3,ม.6

๕.๔ ผลการทดสอบระดับชาติเปน ไปตามเกณฑ ๒๙.๐๗ - เฝาระวังนกั เรียนทีม่ ผี ล

การเรียน ๐, ร, มส

- พฒั นาคณุ ภาพนกั เรยี น

ทุกกลมุ สาระฯอยา ง

หลากหลาย

- สงเสริมความเปน เลิศ

ทางวชิ าการ

- พฒั นาทกั ษะการฟง พูด

อาน เขียน

- กจิ กรรมแขงขันทักษะ

ทางวชิ าการ

- สง เสริมการแขงขนั สู

ความเปน เลิศ

- กิจกรรมคา ยวิชาการ

๑๖

๑. วิธีการพฒั นา
โรงเรยี นสง เสริมใหผ เู รยี นมีความรแู ละทักษะทีจ่ ําเปนตามหลกั สตู รโดยจดั กิจกรรมคายพัฒนา

ตางๆ ใหนกั เรยี นในแตละกลุมสาระการเรียนรู ใหตรงความถนัด ความสนใจ เหมาะสมกบั วยั อยา ง
ตอเน่ือง เพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน มสี มรรถนะสาํ คัญตรงตามหลักสตู ร ผเู รียนไดฝ ก ทักษะ
ดา นการอาน คดิ วิเคราะหและเขยี นจนเกิดความรู ความเขาใจ เกิดทักษะและมผี ลการทดสอบ
ระดบั ชาติสงู ขึ้น
๒. ผลการพฒั นา

จากการจัดโครงการ/กิจกรรมอยางหลากหลาย สงผลใหผูเรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๘
กลุมสาระการเรียนรูสูงข้ึน มีสมรรถนะสาํ คัญตรงตามหลักสตู ร ผลการประเมินการอา น คิดวเิ คราะห
และเขียนมสี งู ขึ้น และสามารถยกระดับคณุ ภาพทางการศึกษา ทาํ ใหผ ลการทดสอบระดับชาติ (O-
NET) สูงกวาคาเฉลี่ยระดับประเทศ ทาํ ใหผ ลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานท่ี ๕ อยูในระดับดีมาก
๓. แนวทางการพัฒนา

ควรจดั กจิ กรรมพฒั นาใหผ เู รียนท่มี ีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ๐, ร, มส ไดพ ฒั นายงิ่ ขึ้น และมี
ผลการทดสอบทส่ี ูงขึ้นตอไป

๑๗

มาตรฐานท่ี ๖ ผูเรียนมีทกั ษะในการทาํ งาน รักการทาํ งาน สามารถทาํ งานรวมกบั ผูอ่ืนได และมี

เจตคตทิ ี่ดีตอ อาชพี สจุ รติ

ตวั บงช้ี รอ ยละ สอดคลองกับ ระบรุ องรอยหลักฐาน
ท่ไี ด มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน

๖.๑ วางแผนการทํางานและดําเนนิ การจนสําเรจ็ มฐ. ๑ คณุ ภาพ โครงการพัฒนาผเู รยี นใหมี

๖.๒ ทาํ งานอยา งมีความสขุ มุงม่ันพัฒนางาน และ ผูเรยี น ทักษะการทาํ งาน รักการ

ภูมิใจในผลงานของตนเอง ตบช. ๑.๑ ทํางาน สามารถทํางาน

๖.๓ ทาํ งานรวมกับผอู ื่นได ผลสัมฤทธิ์ทาง รว มกับผูอน่ื ได และมีเจต

๖.๔ มีความรสู ึกที่ดีตออาชีพสุจริตและหาความรู วชิ าการ คติทด่ี ีตออาชีพสุจริต โดย

เกีย่ วกับอาชีพที่ตนเองสนใจ จดั กิจกรรม ดังน้ี

- แหลงเรยี นรเู ศรษฐกจิ

พอเพยี งและภมู ปิ ญญา

ทอ งถ่ิน

- สง เสรมิ การจดั การเรียน

การสอนวิชาการงานอาชีพ

- การศกึ ษาตอของ

นักเรยี น ม.๓, ๖

- กจิ กรรมคายวิชาการ

ตา งๆ

- ตลาดนัดสุขภาพ

- ภาษาสสู ากล ไดแ ก

ละครภาษาองั กฤษ

- แนะแนวอาชพี

๑. วธิ ีการพฒั นา
โรงเรยี นไดด ําเนินการพฒั นาและสง เสรมิ ใหผูเรียนมีทักษะในการทํางาน รักการทํางาน

สามารถทาํ งานรว มกบั ผอู นื่ ได และมเี จตคติทดี ีตออาชีพสจุ รติ โดยไดจ ัดกจิ กรรมสงเสรมิ ศักยภาพ
ผูเ รยี นดานตา งๆ กิจกรรมแหลงเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพยี งและภมู ปิ ญ ญาทองถิ่น สงเสรมิ การจัดการ
เรยี นการสอนวชิ าการงานอาชพี การศกึ ษาตอของนักเรยี น ม.๓, ๖ กจิ กรรมคายวิชาการตางๆ
กจิ กรรมตลาดนัดสุขภาพ กจิ กรรมภาษาสสู ากล กิจกรรมแนะแนวอาชีพ

๑๘

๒. ผลการพฒั นา
จากการจัดโครงการ/กิจกรรมของโรงเรยี นเพอ่ื ฝกทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สง ผล

ใหผ เู รียนสามารถทํางานอยางเปนระบบ สามารถทาํ งานรว มกับผูอ ่ืนได และมเี จคติท่ีดีตออาชีพสุจรติ
ทําใหม ผี ลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานที่ ๖ ในระดบั ดีเย่ียม
๓. แนวทางการพัฒนา

สงเสรมิ การจัดกจิ กรรมฝก ทักษะในการทํางาน รกั การทํางาน สามารถทาํ งานอยางเปน
ระบบ ทาํ งานรว มกับผูอ่นื ได และมีเจคตทิ ่ดี ีตออาชพี สจุ ริตอยา งตอเน่ืองทุกป

๑๙

ดา นท่ี ๒ มาตรฐานดานการจัดการศกึ ษา (๖ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบงช้ี)

มาตรฐานที่ ๗ ครปู ฏบิ ัติงานตามบทบาทหนาท่ีอยางมีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผล

ตวั บง ช้ี รอ ยละ สอดคลองกบั ระบรุ องรอยหลักฐาน
ที่ได มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน

๗.๑ ครูมกี ารกาํ หนดเปาหมายคณุ ภาพผเู รียนท้ังดาน มาตรฐานที่ ๓ โครงการสงเสริมพฒั นา
กระบวนการจดั การ ศกั ยภาพครสู มู าตรฐาน
ความรู ทกั ษะกระบวนการ สมรรถนะ และ สากลใหป ฏบิ ัติงานตาม
คุณลักษณะที่พึงประสงค เรียนการสอน บทบาทหนา ท่อี ยา งมี
ท่ีเนน ผูเรียนเปน ประสทิ ธภิ าพ และเกดิ
๗.๒ ครมู ีการวิเคราะหผูเรียนเปน รายบุคคล และใช สาํ คญั
ขอมลู ในการวางแผนการจัดการเรยี นรูเพอ่ื พฒั นา ประสทิ ธผิ ลไดแก กิจกรรม
ศักยภาพของผเู รยี น
- กจิ กรรมวิจัยและ
๗.๓ ครอู อกแบบและการจดั การเรียนรทู ่ีตอบสนอง
ความแตกตา งระหวางบุคคลและพฒั นาการทาง พัฒนาการเรียนการสอน
สตปิ ญ ญา
- กจิ กรรมพัฒนาศกั ยภาพ
๗.๔ ครใู ชสอื่ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมผนวกกบั การ
นาํ บริบทและภมู ิปญญาของทองถนิ่ มาบูรณาการใน ครูจัดการเรียนการสอน
การจดั การเรยี นรู
- กิจกรรมนิเทศการเรยี น
๗.๕ ครมู ีการวัดและประเมินผลทีม่ งุ เนนการ
พฒั นาการเรยี นรูของผเู รียน ดว ยวิธีการท่ี การสอน
หลากหลาย
และรอ งรอยหลกั ฐานอ่ืน
๗.๖ ครใู หค าํ แนะนํา คําปรึกษา และแกไ ขปญ หา
ใหแกผ เู รยี นทง้ั ดานการเรยี นและคุณภาพชีวติ ดวย ไดแก
ความเสมอภาค
- รายงานการวิเคราะห
๗.๗ ครมู กี ารศกึ ษา วิจัยและพฒั นาการจดั การ
เรียนรใู นวิชาท่ีตนรบั ผดิ ชอบ และใชผลในการปรบั ผเู รียนรายบุคคล
การสอน
- แผนการจัดการเรียนรู
๗.๘ ครปู ระพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเปนแบบอยา งทดี่ ี และ
เปน สมาชิกทด่ี ขี องสถานศกึ ษา - สอ่ื นวัตกรรม

๗.๙ ครจู ัดการเรยี นการสอนตามวชิ าที่ไดร ับ - แผนการวัดและ
มอบหมายเต็มเวลา และจดั บรรยากาศท่ีเอ้ือตอการ
เรียนรอู ยา งเตม็ ความสามารถ ประเมนิ ผลรายวชิ า

- แฟมระบบดูแลชว ยเหลือ

นกั เรยี น

- SDQ (ครูท่ปี รกึ ษา)

- วจิ ัยในชั้นเรียน

- บันทกึ นเิ ทศการสอน

- รายงานผลการ

ปฏิบัติงานของครู

๒๐

๑. วิธกี ารพัฒนา
โรงเรยี นกาํ หนดใหครวู ิเคราะหผเู รยี นรายบุคคล จดั ทําแผนการวดั ผลประเมนิ ผล และจดั ทาํ

แผนการจดั การเรียนรู การใชสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการเรยี นรู ตลอดจนมกี ารจัดทํา
วิจยั ในชั้นเรยี นและนาํ ผลวจิ ัยไปใชใ นการพัฒนาการจัดการเรียนรูของครูและผเู รยี น มีการนิเทศการ
จดั การเรยี นการสอน การจัดทําแผนการจัดการเรียนรโู ดยครผู ูเ ช่ียวชาญ เขา สงั เกตการณส อนตลอด
ชั่วโมงทีส่ อนครบทกุ คน และใหค ําแนะนาํ ครแู บบกัลยาณมิตร เพ่อื พัฒนากระบวนการจัดการเรยี น
การสอนใหบ รรลผุ ลแกนักเรียนสงู สุด
๒. ผลการพฒั นา

จากการที่ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นรตู ามแผนการจัดการเรียนรทู ก่ี าํ หนดไว และการนิเทศการ
สอนโดยผเู ชย่ี วชาญ สง ผลใหม ีผลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานที่ ๗ อยูใ นระดบั ดีเยยี่ ม
๓. แนวทางการพฒั นา

สง เสริมใหค รจู ัดทาํ แผนการจัดการเรียนรูท่เี นนการบูรณาการกับภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ

๒๑

มาตรฐานที่ ๘ ผูบ ริหารปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา ที่อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล

ตวั บง ช้ี ระดับ สอดคลองกับ ระบรุ องรอยหลกั ฐาน
คุณภาพ มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน

๘.๑ ผบู ริหารมีวสิ ยั ทศั น ภาวะผนู ํา และความคิด มาตรฐานที่ ๒ โรงเรยี นบรหิ ารจัด

ริเรม่ิ ท่ีเนนการพัฒนาผูเรียน กระบวนการ การศึกษาโดยให

๘.๒ ผูบริหารใชหลักการบรหิ ารแบบมสี วนรว มและ บรหิ ารและการ คณะกรรมการสถานศึกษา

ใชขอมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเปน ฐานคิด จดั การของผูบริหาร ครผู ปู กครอง และชมุ ชนมี

ทั้งดานวชิ าการและการจัดการ สถานศกึ ษา สว นรว มในการบริหาร

๘.๓ ผบู ริหารสามารถบริหารจดั การการศึกษาให สถานศึกษา

บรรลุเปาหมายตามท่ีกาํ หนดไวใ นแผนปฏบิ ตั กิ าร รอ งรอยหลกั ฐานอ่นื ๆ

๘.๔ ผูบรหิ ารสง เสรมิ และพฒั นาศักยภาพบุคลากร ไดแ ก

ใหพรอ มรบั การกระจายอาํ นาจ - แผนพฒั นาคณุ ภาพการ

๘.๕ นักเรยี น ผูปกครอง และชมุ ชนพึงพอใจผลการ จัดการศึกษา
บรหิ ารการจดั การศึกษา - แผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป

๘.๖ ผบู รหิ ารใหคาํ แนะนํา คาํ ปรึกษาทางวิชาการ - สรปุ รายงานโครงการ
และเอาใจใสการจดั การศึกษาเตม็ ศักยภาพและเต็ม - รายงานประจําป
เวลา - หลักสตู รสถานศกึ ษา
- คาํ สัง่ ปฏบิ ตั ิงาน

- บนั ทกึ การประชุม

- แผนการจดั การเรยี นรู

- แฟมสะสมงานผูบริหาร

และครู

- เกยี รตบิ ัตร รางวัล

- สมุดเยีย่ ม สมุดนิเทศ

- แบบประเมนิ ความพึง

พอใจ

- ภาพกจิ กรรม

๒๒

๑. วิธีการพฒั นา
๑) โรงเรยี นจดั ประชุมฝา ยบรหิ ารโดยนาํ ผลการประเมนิ และขอเสนอแนะตา งๆ มาวิเคราะห

เพอื่ ใชใ นการวางแผนการจัดทาํ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจําป โครงการ/
กิจกรรม โดยแตงตั้งคณะทาํ งานตามความรู ความสามารถใหเหมาะสมกบั งาน

๒) ดําเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรมโดยใชกระบวนการ การมีสว นรว มของคณะกรรมการ
สถานศกึ ษา ผบู ริหาร ครู ผูปกครอง นักเรียน และใชก ระบวนการวจิ ยั ในการจัดการสถานศกึ ษาให
ครอบคลุมภารกิจทัง้ ๔ กลุมบรหิ ารงาน (วชิ าการ งบประมาณ บคุ คล และบริหารท่วั ไป)

๓) กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดาํ เนินงานตางๆ และรายงานผลการดาํ เนนิ งาน
๔) นาํ ผลการประเมนิ มาปรับปรุง เพ่อื พฒั นาการดําเนินงานตอไป
๒. ผลการพัฒนา
จากการจัดกิจกรรมโครงการ/กิจกรรม ตามวิสัยทัศน พนั ธกิจ เปาประสงค กลยทุ ธของ
โรงเรยี นอยา งหลากหลาย โดยใหครู นักเรยี น ผูป กครอง ชุมชน ผเู ก่ียวขอ งทุกฝา ยมสี วนรวมในการ
จดั การศึกษา สง ผลใหม ีผลการประเมินมาตรฐานท่ี ๘ อยูในระดบั ดีเย่ยี ม
๓. แนวทางการพัฒนา
นาํ ผลการนิเทศ กํากบั ติดตามของหนวยงานตน สงั กดั มาเปนแนวทางในการพัฒนาอยาง
ตอ เนื่อง

๒๓

มาตรฐานท่ี ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผูป กครอง ชุมชนปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหนาท่ี

อยา งมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผล

ตัวบง ช้ี ระดับ สอดคลองกับ ระบุรอ งรอยหลกั ฐาน
คณุ ภาพ มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน

๙.๑ คณะกรรมการสถานศกึ ษารูแ ละปฏิบัติหนาท่ี มาตรฐานท่ี ๒ โครงการสง เสรมิ

ตามท่รี ะเบียบกําหนด กระบวนการ คณะกรรมการสถานศึกษา

๙.๒ คณะกรรมการสถานศึกษากาํ กบั ติดตาม ดูแล บริหารและการ และผูปกครอง ชุมชน

และขบั เคลอื่ น การดําเนินงานของสถานศึกษาให จดั การของผูบ รหิ าร ปฏบิ ตั ิงานตามบทบาท

บรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย สถานศกึ ษา ตามหนา ที่อยา งมี

๙.๓ ผูป กครองและชมุ ชนเขามามีสวนรวมในการ ประสิทธภิ าพและเกดิ

พฒั นาสถานศึกษา ประสิทธิผล โดยจดั

กจิ กรรมและรอ งรอย

หลกั ฐานดงั น้ี

- รายงานการประชุม

คณะกรรมการสถานศึกษา

- รายงานการประชมุ

คณะกรรมการเครือขาย

ผปู กครองนักเรียน

- กจิ กรรมคา ยคุณธรรม

คานิยม 12 ประการ โดย

ผปู กครองมีสว นรว มจัด

กิจกรรม

- กจิ กรรมเดนิ -วงิ่ ฉลองสริ ิ

ราชสมบตั ิ ๗๐ ป โดย

เครือขายผปู กครอง

- กิจกรรมทัศนศึกษา

เครอื ขายผูป กครอง

- กิจกรรมสานสมั พันธ

ครอบครัว

๒๔

๑. วิธีการพฒั นา
๑) แตงตัง้ คณะกรรมการและทปี่ รกึ ษา ตามงานและกิจกรรมตางๆ
๒) มกี ารดําเนนิ งานตามโครงการ/กจิ กรรมตางๆ ท่ีมีจากการประชุมพจิ ารณาของ

คณะกรรมการกจิ กรรมตา งๆ
๓) สรปุ ผลรายงานดาํ เนินการกจิ กรรมท่ีดาํ เนินการตามท่ีกาํ หนดไว
๔) นาํ ขอ เสนอแนะทไ่ี ดจากการรายงาน ไปปรบั ปรงุ แกไข เพอ่ื พัฒนาใหด ียงิ่ ๆข้ึนไป

๒. ผลการพฒั นา
คณะกรรมการสถานศึกษา มีความรคู วามเขาใจและสามารถปฏิบตั ิหนาท่ีตามระเบียบ

กระทรวงศึกษาธกิ ารโดยสามารถกาํ กบั ตดิ ตามดูแล ขับเคลือ่ นดําเนนิ งานของสถานศึกษาใหบ รรลุผล
สาํ เรจ็ ตามเปาหมาย และผปู กครอง ชุมชนไดเขามามีสวนรวมในการพฒั นาสถานศึกษา ทําใหม ผี ลการ
ประเมนิ มาตรฐานท่ี ๙ อยูใ นระดบั ดเี ยี่ยม
๓. แนวทางการพฒั นา

มกี ารสํารวจความพงึ พอใจของคณะกรรมการสถานศึกษา และคณะกรรมการเครือขาย
ผปู กครองตอ ผลการดําเนินงานของสถานศกึ ษา และจัดโครงการสง เสริมและพฒั นาการปฏบิ ตั ิงาน
ของคณะกรรมการสถานศกึ ษา

๒๕

มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศกึ ษามกี ารจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู และกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพ
ผูเรียนอยางรอบดา น

ตัวบง ชี้ ระดับ สอดคลองกับ ระบรุ องรอยหลกั ฐาน
คณุ ภาพ มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน
๑๐.๑ หลักสตู รสถานศกึ ษาเหมาะสมและสอดคลอง
กับทอ งถิน่ มาตรฐานที่ ๒ - หลกั สูตรสถานศกึ ษา
๑๐.๒ จัดรายวชิ าเพ่ิมเติมทห่ี ลากหลายใหผูเ รียน กระบวนการ - หลกั สูตรกลมุ สาระ
เลือกเรยี นตามความถนดั ความสามารถและความ บริหารและการ - โครงสรางรายวชิ า
สนใจ จดั การของผูบริหาร - กจิ กรรมสงเสริมการ
๑๐.๓ จัดกิจกรรมพัฒนาผูเ รยี นที่สงเสริมและ สถานศึกษา ปฏิบัติงานหลักสูตร
ตอบสนองความตองการ ความสามารถ ความถนดั สถานศกึ ษา
และความสนใจของผูเ รยี น - กจิ กรรมนเิ ทศภายใน
๑๐.๔ สนับสนุนใหค รูจดั กระบวนการเรยี นรทู ่ีให - แบบบันทึกรายงานการ
ผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ิจริงจนสรปุ ความรูไดดวย จดั กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน
ตนเอง - การอบรมพัฒนา
๑๐.๕ นิเทศภายใน กาํ กบั ติดตามตรวจสอบ และนํา บุคลากร
ผลไปปรับปรุงการเรยี นการสอนอยางสม่าํ เสมอ - กจิ กรรมสง เสริมการ
๑๐.๖ จัดระบบดแู ลชว ยเหลือผเู รียนท่ีมีประสิทธภิ าพ ดําเนนิ งานตามระบบการ
และครอบคลุมถงึ ผูเรียนทุกคน ดแู ลชวยเหลอื นักเรียน
- กจิ กรรมประชมุ เชงิ
ปฏิบตั ิการทบทวนการ
ดาํ เนนิ งานตามระบบการ
ดูแลชว ยเหลอื นักเรยี น

๑. วิธีการพฒั นา
๑) เขียนโครงการ/กิจกรรมพัฒนาหลักสตู ร กจิ กรรมนเิ ทศภายใน และกจิ กรรมของงาน

ระบบการดูแลชว ยเหลือนักเรียน
๒) แตง ตง้ั คณะกรรมการรับผิดชอบกิจกรรม และประสานงานผูเกย่ี วขอ ง
๓) ดําเนนิ งานตามแผน โครงการ/กิจกรรมท่กี ําหนด ดังน้ี
๓.๑) ประชุมคณะกรรมการวิชาการ
๓.๒) อบรมพฒั นาบุคลากร ทบทวนการปรับหลักสตู ร การจดั ทําแผนการจดั การเรียนรู

๒๖

๓.๓) พัฒนาหลักสูตร
๓.๔) นิเทศแผนการจัดการเรียนรูแ ละการสอน
๓.๕) รายงานระบบดแู ลชวยเหลือนกั เรยี น
๔) ประเมนิ ผลการดําเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม
๕) สรุปและรายงานผลการดําเนนิ งานตามโครงการ/กจิ กรรม
๒. ผลการพฒั นา
จากการดาํ เนนิ งานตามโครงการ/กจิ กรรมอยา งหลากหลาย เพอ่ื พฒั นาสถานศกึ ษาใหมีการ
จดั หลักสตู ร กระบวนการเรยี นรู และกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเรยี นอยา งรอบดา น ทําใหมผี ลการ
ประเมนิ มาตรฐานที่ ๑๐ อยใู นระดับ ดีเยย่ี ม
๓. แนวทางการพฒั นา
๑) พัฒนาหลกั สูตรใหส อดคลองกบั การเปลี่ยนแปลงในปจจุบนั
๒) เพิ่มแผนการเรยี นใหหลากหลาย สอดคลอ งกับความตองการของผเู รยี น เชน ศลิ ป-
นติ ิศาสตร-รฐั ศาสตร ศิลป-ภาษาเกาหล/ี ญป่ี นุ /ฝรง่ั เศส
๓) จดั กจิ กรรมลดเวลาเรียนใหหลากหลายสอดคลองกบั อาชีพในทอ งถิ่น
๔) ประเมินทบทวนระบบการเรยี นรหู รือทบทวนการจัดทาํ หลักสตู รใหก ับบคุ ลากรทุกคน
เน่อื งจากมีบุคลากรมาใหมห ลายคน
๕) สรปุ ความคดิ เห็นจากการใชหลกั สตู รแตล ะหลักสตู ร เชน สสวท. ,EP , E-SMAT ,
หองเรยี นปกติ
๖) พฒั นาการจดั การเรียนการสอนโดยใช Social Network

๒๗

มาตรฐานท่ี ๑๑ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอมและการบริการทส่ี ง เสรมิ ใหผเู รยี นพฒั นา
เตม็ ศกั ยภาพ

ตัวบงชี้ ระดับ สอดคลอ งกับ ระบรุ องรอยหลักฐาน
คณุ ภาพ มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน
๑๑.๑ หอ งเรียน หองปฏบิ ตั ิการ อาคารเรียนมน่ั คง
สะอาดและปลอดภยั มสี ่งิ อํานวยความสะดวก มาตรฐานท่ี ๒ โครงการพัฒนาสถาน
พอเพียง อยูในสภาพใชการไดดี สภาพแวดลอมรม กระบวนการ ศกึ ษาใหมีการจดั การ
ร่นื และมีแหลง เรียนรสู าํ หรบั ผูเ รียน บรหิ ารและการ สภาพแวดลอมและการ
๑๑.๒ จัดโครงการ กจิ กรรมท่ีสงเสรมิ สุขภาพอนามัย จัดการของผบู รหิ าร บริการที่สง เสริมใหผ ูเรยี น
และความปลอดภยั ของผูเ รียน สถานศกึ ษา พฒั นาเต็มศักยภาพ กิจ
๑๑.๓ จดั หองสมดุ ท่ใี หบ รกิ ารส่ือและเทคโนโลยี ประกอบดว ย
สารสนเทศทเ่ี อ้ือใหผเู รยี นเรยี นรูดวยตนเองและหรือ - โครงการส่งิ แวดลอมงาม
เรียนรูแ บบมีสว นรวม ตา สถานศกึ ษาปลอดภัย
- กจิ กรรมปรบั ปรุง
สภาพแวดลอ ม ภมู ิทัศน
แหลง เรียนรตู า งๆ
- โครงการสงเสริม
ประสทิ ธิภาพงานบริการ
- กิจกรรมเฝา ระวัง
สขุ าภบิ าลอาหาร
- กจิ กรรมพัฒนางาน
พยาบาล
- กิจกรรมสงเสรมิ สุขภาพ
- กิจกรรมสงเสรมิ การ
ดาํ เนนิ งานหอ งสมดุ

๑. วิธกี ารพัฒนา
โรงเรียนมีการจัดทาํ โครงการพัฒนาสถานศึกษาใหมีสภาพแวดลอ มและการบริการที่สง เสรมิ

ใหผูเ รียนพัฒนาเตม็ ศักยภาพ โดยจัดสภาพแวดลอ มสิง่ อํานวยความสะดวกใหกบั นักเรียน ดว ยการจัด
หอ งเรยี น แหลง เรยี นรู หอ งน้ํา โรงอาหาร หอ งประชุมท่สี ะอาด ถูกสุขลักษณะ และมีหองสมุด หอง
สบื คนขอมูลโดยใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไดแก โปรแกรมหองสมุดอตั โนมัติ หอ งสมุดออนไลน หอ ง

๒๘

สอื่ ดานภาษาหรือหองมัลตมิ เี ดีย ใหผ ูเรยี นเรยี นรูด ว ยตนเองและหรือเรยี นรูแบบมีสวนรวม และ
สงเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภยั ของผเู รียน
๒. ผลการพัฒนา

จากการดาํ เนินการโครงการ/กจิ กรรมอยา งหลากหลายเพ่ือจัดสภาพแวดลอมและการบริการ
ทีส่ งเสรมิ ใหผูเ รียนพฒั นาเต็มศกั ยภาพ ทําใหส ภาพแวดลอ ม สิง่ อํานวยความสะดวก และบรรยากาศ
การเรยี นรู มคี วามสะอาด มั่นคงแขง็ แรง ปลอดภยั พอเพยี ง และทนั สมยั มผี ลการประเมนิ คุณภาพ
มาตรฐานท่ี ๑๑ อยูใ นระดับดีเยยี่ ม
๓. แนวทางการพฒั นา

๑. ควรมกี ารสํารวจ ตรวจสอบ ดูแลระหวา งการใชงานอุปกรณตางๆ เพ่ือใหม ีอายุการใชงาน
ยาวนานข้นึ

๒. มีการซอ มบาํ รุงอุปกรณตางๆ ใหอ ยูในสภาพทใี่ ชงานไดตลอดเวลา

มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาตามท่กี าํ หนดใน

กฎกระทรวง

ตัวบง ช้ี ระดบั สอดคลอ งกับ ระบรุ อ งรอยหลกั ฐาน
คณุ ภาพ มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน

๑๒.๑ กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๔

๑๒.๒ จดั ทาํ และดําเนนิ การตามแผนพัฒนาการจัด ระบบการประกัน

การศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุงพฒั นาคุณภาพตาม คณุ ภาพภายในทีม่ ี

มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ประสทิ ธผิ ล

๑๒.๓ จดั ระบบขอมลู สารสนเทศและใชสารสนเทศ

ในการบริหารจัดการเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา

๑๒.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ

ภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๑๒.๕ นาํ ผลการประเมนิ คณุ ภาพท้ังภายในและ

ภายนอกไปใชวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยา ง

ตอ เน่ือง

๑๒.๖ จดั ทํารายงานประจําปทีเ่ ปนรายงานการ

ประเมินคุณภาพภายใน

๒๙

๑. วิธีการพฒั นา
โรงเรียนมกี ารประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง โดยเนน

หลักการมสี ว นรวมของบุคลากรทุกฝาย มีกระบวนการทํางานตามระบบคณุ ภาพ PDCA ใหเ ปน ไปตาม
แผนปฏิบัตกิ าร จัดทาํ ระบบสารสนเทศเปนหมวดหมู ครอบคลมุ ทันสมัย ใชเทคโนโลยีชว ยบริหาร
จดั การ และนาํ ผลการประเมินไปใชใ นการปรับปรงุ พัฒนาสถานศึกษาและจัดทํารายงานประจําปโ ดย
ความรว มมอื จากบุคลากรทุกคนในโรงเรยี น
๒. ผลการพฒั นา

จากการดาํ เนนิ โครงการ/กจิ กรรมตางๆ เพ่ือการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
สง ผลใหโ รงเรยี นมรี ะบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ มผี ลการประเมิน
คณุ ภาพมาตรฐานท่ี ๑๒ อยใู นระดบั ดีเยีย่ ม
๓. แนวทางการพัฒนา

โรงเรยี นจัดระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง โดยการมีสวนรว มของ
บคุ ลากรทุกฝาย

๓๐

ดานท่ี ๓ มาตรฐานดานการสรา งสงั คมแหงการเรียนรู (๑ มาตรฐาน ๒ ตัวบงชี้)

มาตรฐานท่ี ๑๓ สถานศกึ ษามกี ารสราง สง เสริม สนบั สนุน ใหสถานศกึ ษาเปนสังคมแหง การ
เรยี นรู

ตวั บงช้ี ระดับ สอดคลองกบั ระบุรองรอยหลกั ฐาน
คุณภาพ มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน
๑๓.๑ มีการสรางและพฒั นาแหลงเรียนรูภายใน
สถานศกึ ษาและใชประโยชนจ ากแหลงเรียนรู ทั้ง มาตรฐานที่ ๒ - แผนพัฒนาคุณภาพ
ภายในและภายนอกสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาการ กระบวนการ การศกึ ษา
เรียนรูของผูเรียนและบคุ ลากรของสถานศกึ ษา บริหารและการ - แผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป
รวมท้ังผูท่เี กย่ี วของ จัดการของผบู รหิ าร - ขอมลู สารสนเทศ
๑๓.๒ มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรรู ะหวางบคุ ลากร สถานศึกษา - รายงานการนเิ ทศตดิ ตาม
ภายในสถานศกึ ษา ระหวา งสถานศกึ ษากบั ครอบครัว การดาํ เนนิ งาน
ชมุ ชน และองคกรทีเ่ ก่ยี วของ - บันทกึ การประชุม
- สถิตกิ ารใชหอ ง
Resource Center
- รายงานการดาํ เนนิ
กิจกรรม
- รายงานผลการ
ปฏิบัตงิ าน
- ทะเบยี นแหลงเรยี นรู
- ภาพถาย
- ปายนเิ ทศ

๑. วิธีการพัฒนา
๑. โรงเรียนมกี ารสรา งและพัฒนาแหลง เรยี นรูภ ายในสถานศกึ ษา เพื่อสง เสริมใหผ เู รียน ใฝ

เรยี นรู สามารถนําความรูไปใชป ระโยชนไดอยา งเหมาะสม
๒. โรงเรียนสนับสนุนผูเ รยี น บุคลากรภายในสถานศกึ ษา และผูมสี วนเกยี่ วของเกิด

กระบวนการเรียนรู จากแหลงเรียนรทู ง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา
๓. ครูทกุ กลุมสาระการเรยี นรูมกี ารใชแ หลง เรยี นรู ภมู ิปญ ญาทองถิ่น และเครือขา ยชมุ ชน

เพ่ือการจัดการเรยี นรู

๓๑

๒. ผลการพัฒนา
ผลจากการสรางและพัฒนาแหลง เรยี นรูภายในสถานศกึ ษาและใชประโยชนจากแหลง เรียนรู

ทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ตลอดจนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูร ะหวางบคุ ลากรภายใน
สถานศกึ ษา ระหวางสถานศึกษากับครอบครวั ชุมชน และองคก รทเี่ กย่ี วของ สงผลใหผ เู รยี นและ
บคุ ลากรของสถานศึกษาไดรับการพฒั นาการเรียนรูม ผี ลการประเมินคุณภาพมาตรฐานท่ี ๑๓ อยูใน
ระดับดีเยยี่ ม
๓. แนวทางการพัฒนา

โรงเรยี นควรกาํ หนดการประเมินการใชแหลง เรียนรูทุกป เพอ่ื นาํ ไปใชในการพฒั นา

แหลง เรียนรขู องผูเ รยี นและบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

๓๒

ดา นที่ ๔ มาตรฐานดานอตั ลักษณข องสถานศึกษา (๑ มาตรฐาน ๒ ตวั บงช้ี)

มาตรฐานท่ี ๑๔ การพัฒนาสถานศกึ ษาใหบ รรลเุ ปาหมายตามวิสยั ทัศน ปรัชญา และจุดเนนที่
กาํ หนดขึน้

ตัวบง ชี้ ระดบั สอดคลอ งกับ ระบุรอ งรอยหลักฐาน
คุณภาพ
๑๔.๑ จัดโครงการ กจิ กรรมท่ีสง เสริมใหผเู รียนบรรลุ มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน
ตามเปาหมายวิสยั ทัศน ปรัชญา และจุดเนนของ
สถานศึกษา มาตรฐานท่ี ๒ โครงการพัฒนาผูเรยี นใหม ี
๑๔.๒ ผลการดําเนินงานสง เสริมใหผเู รียนบรรลุตาม คุณภาพบรรลเุ ปา หมายตาม
เปา หมาย วสิ ัยทัศน ปรชั ญา และจุดเนนของ กระบวนการ
สถานศกึ ษา วสิ ยั ทัศน ปรัชญา และจุดเนน
บรหิ ารและการ ที่กาํ หนดไดแ ก
จัดการของผูบรหิ าร - TO BE NUMBER ONE
สถานศกึ ษา - หองเรยี นสขี าว

- พฒั นาวนิ ัยนกั เรยี น

- ประชมุ เครอื ขา ยผปู กครอง

- อบรมคณุ ธรรม จริยธรรม

นกั เรียน

- พฒั นาระบบดแู ลชวยเหลอื

นกั เรียนและจติ สาธารณะแก

นกั เรยี น

- กจิ กรรมวัชรรไี ซเคิล

- คา ยคานิยม 12 ประการ

- กิจกรรมจิตอาสา

- สงเสรมิ ประชาธิปไตย

- กจิ กรรมสง เสรมิ ความเปน

เลิศทางวชิ าการนักเรียน

โครงการสองภาษา

- English Program Camp

- CEFR Camp

- International Day

๑. วิธีการพฒั นา
โรงเรียนไดสง เสริมใหผ เู รยี นบรรลุตามเปา หมายวสิ ยั ทศั น ปรชั ญา และจดุ เนนของ

สถานศึกษา โดยใชการดําเนนิ งานตามระบบการดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน โดยยดึ ตามกระบวนการ
ADLI (Approach-Deployment-Learning-Integration) และจดั กิจกรรมสง เสริมและพัฒนาผูเรียน

๓๓

ใหม ีความสามารถเพ่ิมขนึ้ เชน กิจกรรมคา ยพฒั นาศักยภาพทางวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และ
ภาษาอังกฤษ เปน ตน
๒. ผลการพัฒนา

จากการดําเนนิ โครงการ/กจิ กรรมตา งๆ เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาใหบรรลเุ ปา หมายตาม
วสิ ัยทัศน ปรชั ญาและจุดเนนทก่ี ําหนดขนึ้ สง ผลใหผ เู รยี นไดรับการพฒั นาตามอัตลกั ษณ และ
เอกลักษณของสถานศึกษาที่กําหนดมีผลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานที่ ๑๔ อยูในระดับดีเยี่ยม
๓. แนวทางการพัฒนา

- ดําเนินการตามกระบวนการ ADLI
- มีการประเมินทบทวนระบบการดูแลชว ยเหลอื นกั เรียนทุกป
- จัดกจิ กรรมสง เสรมิ ผเู รยี นอยางตอ เน่ือง

๓๔

ดานที่ ๕ มาตรฐานดานมาตรการสง เสรมิ (๑ มาตรฐาน ๒ ตัวบงช้ี)

มาตรฐานที่ ๑๕ การจดั กจิ กรรมตามนโยบาย จดุ เนน แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและ
สง เสริมสถานศึกษาใหยกระดับคุณภาพสงู ขนึ้

ตัวบงชี้ ระดับ สอดคลอ งกับ ระบุรองรอยหลกั ฐาน
คุณภาพ มาตรฐานฯ ๒๕๕๙ ประกอบการรายงาน
๑๕.๑ จดั โครงการ กจิ กรรมพิเศษเพอื่ ตอบสนอง
นโยบาย จดุ เนน ตามแนวทางการปฏริ ปู การศึกษา มฐ. ๑ คุณภาพ สง เสริมการจดั กิจกรรม
๑๕.๒ ผลการดําเนนิ งานบรรลตุ ามเปา หมาย ผูเรยี น ตามนโยบาย จดุ เนน แนว

ทางการปฏริ ปู การศกึ ษา
เพื่อพัฒนาสงเสริม
สถานศึกษาใหยกระดบั
คณุ ภาพสูงข้ึน ไดแก
- กิจกรรมคายวิชาการของ
แตละกลุมสาระ
- กิจกรรมสงเสรมิ ความ
เปน เลิศทางวิชาการ
- กิจกรรมยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ๘
กลมุ สาระฯ
- กจิ กรรมสง เสริมการ
จดั การเรยี นรทู ี่เนนผูเรียน
เปนสําคัญ
- กิจกรรมสอนซอมเสริม
- กจิ กรรมสอนเสรมิ /ติว
สอบเขา มหาวทิ ยาลัย

๑. วิธกี ารพฒั นา
โรงเรยี นมกี ารจัดกิจกรรมเพื่อตอบสนองนโยบาย จดุ เนนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาโดย

กําหนดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสงเสริมสถานศกึ ษา ยกระดับคุณภาพสูงข้ึน มีการดําเนนิ โครงการ/
กจิ กรรมตามระบบคุณภาพ

๓๕

๒. ผลการพฒั นา
จากการจัดโครงการ/กิจกรรมตามนโยบาย จดุ เนนแนวทางการปฏริ ูปการศึกษาเพื่อพัฒนา

และสงเสริมสถานศกึ ษาใหยกระดบั คุณภาพสูงขึ้น ทาํ ใหผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๑๕ อยู
ในระดับดีเย่ียม
๓. แนวทางการพัฒนา

ครูและผูรบั ผดิ ชอบกจิ กรรม นําผลการจัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการมาวิเคราะหความเส่ียง
ตามกระบวนการควบคุมภายใน เพอ่ื วางแผนการจดั กจิ กรรมในปตอ ไป

๓๖

ตอนท่ี ๓

สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาและความตอ งการการชวยเหลอื

๑. สรปุ ผลการดาํ เนนิ งานในภาพรวม
ผลการดําเนนิ งานในภาพรวม
ดา นคณุ ภาพผูเ รยี น
โรงเรียนวชั รวิทยาไดจ ดั กจิ กรรมการเรียนการสอนอยางหลากหลายเพื่อพัฒนาผเู รยี นใน

ทกุ ๆ ดาน จากผลการพฒั นา พบวา ผเู รียนมีสุขภาวะท่ดี แี ละมีสนุ ทรยี ภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม
และคานยิ มท่ีพงึ ประสงค มีทักษะในการแสวงหาความรดู ว ยตนเอง รกั การเรียนรู และพัฒนาตนเอง
อยางตอเนอื่ ง มคี วามสามารถในการคดิ อยา งเปนระบบ คดิ สรางสรรค ตัดสนิ ใจ แกป ญ หาไดอยางมี
สติสมเหตุผล มีความรูและทักษะทจ่ี ําเปนตามหลักสูตร มีทักษะในการทาํ งาน รักการทาํ งาน สามารถ
ทํางานรวมกับผูอ่นื ได และมเี จตคติทีด่ ีตออาชพี สจุ ริต

ดา นการจดั การศึกษา
ผบู ริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผปู กครอง และชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาท
หนาทีอ่ ยางมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผล โรงเรียนมกี ารจดั หลกั สตู ร กระบวนการเรียนรู และ
กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ รยี นอยา งรอบดา น มกี ารจดั สภาพแวดลอมและการบรกิ ารทีส่ งเสรมิ ให
ผูเรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ และมีการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาตามทก่ี ําหนดใน
กฎกระทรวง
ดานการสรางสังคมแหงการเรยี นรู
โรงเรียนมีการสรา ง สง เสรมิ สนับสนนุ ใหส ถานศึกษาเปนสังคมแหงการเรยี นรู มีการ
สรา งพัฒนาแหลง เรียนรูภายในสถานศึกษา สงเสรมิ ใหผูเรยี น ใฝเ รียนรู สามารถนําความรไู ปใช
ประโยชนไดอยางเหมาะสม สนับสนุนผเู รียน บคุ ลากรภายในสถานศึกษา และผูมสี ว นเก่ียวของเกิด
กระบวนการเรยี นรู จากแหลงเรยี นรูทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ครูทกุ กลุม สาระการเรียนรมู ี
การใชแ หลง เรียนรู ภมู ปิ ญ ญาทองถน่ิ และเครือขายชุมชนเพอื่ การจัดการเรยี นรู
ดา นอตั ลกั ษณของสถานศกึ ษา
โรงเรียนมีการจัดโครงการ กจิ กรรมท่สี ง เสรมิ ใหผ ูเรียนพฒั นาบรรลเุ ปาหมายตาม
วสิ ยั ทัศน ปรชั ญาและจุดเนน ทก่ี าํ หนดขึ้น โดยใชการดาํ เนินงานตามระบบการดูแลชว ยเหลือนักเรยี น
และจัดกิจกรรมสง เสริมและพัฒนาผูเรยี นอยา งหลากหลาย

๓๗

ดานมาตรการสง เสรมิ
โรงเรียนจัดกจิ กรรมตามนโยบาย จดุ เนน แนวทางการปฏิรปู การศึกษาเพอื่ พฒั นาและ
สง เสรมิ สถานศกึ ษาใหยกระดับคุณภาพสูงขึ้น มีการดําเนนิ โครงการ/กจิ กรรมตามระบบคุณภาพ
PDCA จัดกิจกรรมสงเสรมิ พัฒนาผูเรียนอยางหลากหลาย

๒. จดุ เดนและจุดทค่ี วรพัฒนา
๑) มาตรฐานดานคุณภาพผเู รียน
จุดเดน โรงเรยี นวัชรวิทยาสงเสรมิ สนับสนนุ ใหค รูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยา ง

หลากหลาย โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อพฒั นาผเู รียนใหมคี ุณภาพตามเปาหมายท่ีกําหนดไว
จดุ ที่ควรพัฒนา พัฒนาผูเ รียนท่ีมีคณุ ภาพไมเ ปน ไปตามเกณฑในแตละดาน ใหม ีคณุ ภาพ

สูงขึน้ ตามเปาหมายที่กําหนดไว
๒) มาตรฐานดา นการจดั การศึกษา
จดุ เดน โรงเรียนมีการบริหารจดั การแบบมสี ว นรว ม มกี ารดาํ เนนิ งานตามแผนพัฒนา

คณุ ภาพการศึกษา และแผนปฏิบัตกิ ารของโรงเรยี น เพอื่ ใหมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรยี น

จดุ ทค่ี วรพัฒนา นาํ ผลการนเิ ทศ กํากับ ตดิ ตามและประเมินผลมาใชใ นการวางแผนการ
ปฏิบัติงาน

๓) มาตรฐานดานการสรา งสังคมแหง การเรยี นรู
จุดเดน โรงเรียนมกี ารสรางและพัฒนาแหลง เรียนรูภายในสถานศึกษา สนับสนนุ ผูเรยี น

บคุ ลากรภายในสถานศึกษา และผูม ีสว นเก่ยี วขอ งเกิดกระบวนการเรียนรู จากแหลงเรียนรูท้ังภายใน
และภายนอกสถานศึกษา

จดุ ที่ควรพัฒนา โรงเรยี นกาํ หนดใหมีการประเมนิ การใชแ หลงเรียนรู เพื่อนําไปใชใ นการ
พฒั นาแหลง เรียนรขู องสถานศกึ ษา

๔) มาตรฐานดานอัตลักษณของสถานศกึ ษา
จดุ เดน โรงเรยี นจัดกจิ กรรมสงเสรมิ และพฒั นาผเู รยี นใหบรรลเุ ปาหมายตามวิสยั ทัศน

ปรัชญาและจดุ เนนที่กาํ หนดขึ้นอยา งหลากหลาย
จุดท่ีควรพฒั นา ใชการประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพผเู รียนใหสูงขนึ้

๕) มาตรฐานดานมาตรการสง เสริม
จุดเดน โรงเรยี นจัดโครงการ กิจกรรมเพ่ือตอบสนองนโยบาย จุดเนน ตามแนวทางการ

ปฏิรูปการศึกษา โดยมุงเนนการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรยี นใหส งู ข้นึ

๓๘

๓. แนวทางการพฒั นาในอนาคต
๑) สง เสรมิ ใหผ ปู กครอง ชุมชน มสี ว นรวมจัดกจิ กรรมใหก บั ผูเรยี น
๒) สงเสริมการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเรียนใหมีคณุ ธรรม จริยธรรม คา นิยมอนั พึงประสงค และ

คานิยมหลัก ๑๒ ประการ และจดั กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารูใหสอดคลองความสามารถ ความ
ถนดั ความสนใจของผเู รยี น

๓) สงเสริมการจดั กจิ กรรมเพื่อพัฒนาผเู รียนใหเกดิ ทักษะตางๆ ตามมาตรฐานการศึกษา
เพื่อใหมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการศกึ ษาทีส่ ูงขึ้น

๔) พฒั นาครูใหส ามารถจดั การเรียนรไู ดอ ยา งมีประสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล
๕) ดําเนินโครงการ/กจิ กรรมตามแผนปฏิบัติการอยา งมรี ะบบ เพ่ือใหเ กดิ ผลลพั ธท่ีมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล โดยการมีสวนรว มของภาคเี ครือขา ยทุกฝา ย
๖) จดั ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาตามที่กําหนดใหก ฎกระทรวง
๗) กําหนดใหมีการนเิ ทศ กํากับ ติดตามและประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน และนําไปใชใ นการ
วางแผนการดําเนินงานตอไป

๔. ความตอ งการและการชว ยเหลือ
วิทยากรทมี่ ีความรูค วามสามารถเพ่ือพฒั นาครูและบุคลากรในโรงเรยี น

๓๙

ตอนที่ ๔

ภาคผนวก

๔๐

คาํ สงั่ โรงเรียนวัชรวิทยา
ท่ี 26 / 2559

เรือ่ ง แตงต้ังผรู ับผิดชอบปฏิบตั ิ พัฒนา และรายงานผล
การดําเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานของโรงเรยี น

--------------------------------------------------------

ดวยกระทรวงศึกษาธิการไดออกกฎกระทรวงวาดว ยระบบ หลักเกณฑ และวธิ ีการ
ประกนั คุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 2 สว นท่ี 1 ไดกําหนดใหโ รงเรียนจัดระบบการประกนั คุณภาพภายใน
ใหเปน หลกั ประกนั การพฒั นาคุณภาพการศึกษาตามภารกจิ อยางตอเนอื่ ง และพรอมรับการตรวจ
ประเมนิ คุณภาพภายนอกจากสาํ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา ตาม
หลกั เกณฑและวิธีการทก่ี ําหนดในหมวด 3

เพือ่ ใหเ กดิ ความพรอมในการปฏิบตั ิงาน บรรลุผลอยา งมีประสิทธิภาพและบังเกิด
ประสิทธิผลตามมาตรฐานและตัวบง ช้ี จงึ อาศยั อํานาจตามความในมาตรา 27 แหง พระราชบัญญตั ิ
ขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 แตง ต้งั คณะกรรมการฝา ยตางๆ รบั ผดิ ชอบ
ดังนี้

1. คณะกรรมการฝายอาํ นวยการ มีหนา ท่คี วบคุม กาํ กบั ดแู ลใหคําแนะนําแกไขปญ หา

ใหก ับกรรมการ

ฝายตา ง ๆ เพือ่ ใหเ กิดการดําเนนิ งานเปน ไปดวยความเรียบรอย ประกอบดวย

1. นายจํานง อินทพงษ ประธานกรรมการ

2. นางสริ ิวรรณ ตันติสันติสม รองประธานกรรมการ

3. ดร.สุรพล พมิ พสอน รองประธานกรรมการ

4. นายวิเชียร ยอดนิล รองประธานกรรมการ

5. นายประหยัด สิริกรรณะ รองประธานกรรมการ

6. นายแสน ถอสุวรรณ กรรมการ

7. นายสุนทร บญุ มี กรรมการ

8. นายชวลิต เรือนจรสั ศรี กรรมการและเลขานุการ

๔๑

2. คณะกรรมการฝายดาํ เนนิ การ มหี นา ท่ี

1. ปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานและตัวบงชใ้ี นมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนที่ไดร ับ

มอบหมาย

2. ปรบั ปรุง แกไ ข และพฒั นางานใหมีคณุ ภาพตามตัวบง ชที้ ร่ี บั ผดิ ชอบ

3. รายงานผลความกาวหนาการดําเนนิ งาน ตามมาตรฐานและตัวบง ชี้ทร่ี ับผดิ ชอบ

ประกอบดว ย

มาตรฐานดา นคณุ ภาพผูเรยี น (น้ําหนัก 30 คะแนน)

มาตรฐานท่ี 1 ผูเรยี นมีสขุ ภาวะทีด่ แี ละมสี นุ ทรียภาพ (5 คะแนน)

1.1 มสี ขุ นิสยั ในการดูแลสุขภาพและออกกําลังกายสมํา่ เสมอ (0.5 คะแนน)

1.2 มีน้าํ หนกั สว นสูง และมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑม าตรฐาน (0.5

คะแนน)

1.3 ปอ งกนั ตนเองจากส่ิงเสพติดใหโ ทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะทเี่ สยี่ งตอ

ความรุนแรง

โรคภยั อบุ ัตเิ หตุ และปญหาทางเพศ (1 คะแนน)

1.4 เหน็ คุณคาในตนเอง มีความมั่นใจ กลาแสดงออกอยา งเหมาะสม (1 คะแนน)

1.5 มีมนุษยสมั พันธท่ดี ีและใหเกียรติผอู นื่ (1 คะแนน)

1.6 สรา งผลงานจากการเขา รว มกิจกรรมดา นศิลปะ ดนตร/ี นาฏศิลป กีฬา/

นันทนาการตามจนิ ตนาการ (1 คะแนน)

ประกอบดวย

1. นายพิศาล คชฤทธิ์ ประธานกรรมการ

2. นายมนตชัย เชาวลติ โรจน รองประธานกรรมการ

3. นายสดุ ใจ จารุจติ ร กรรมการ

4. นายไพโรจน ยิง่ คดิ กรรมการ

5. นางสาวณฎั ธยาน ภุมมา กรรมการ

6. นางเพลนิ พศิ ศิริฤทัยวัฒนา กรรมการ

7. นายบุญเลิศ ศาสตรแ กว กรรมการ

8. นางชนกชนม บัวสําลี กรรมการ

9. นายสุรเดช อนิ จันทร กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานที่ 2 ผูเรียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และคานิยมทพ่ี งึ ประสงค (5 คะแนน)

2.1 มีคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงคตามหลกั สตู ร (2 คะแนน)

2.2 เอ้อื อาทรผูอ่ืนและกตญั ูกตเวทีตอ ผูมีพระคุณ (1 คะแนน)

๔๒

2.3 ยอมรบั ความคดิ และวัฒนธรรมทีแ่ ตกตาง (1 คะแนน)

2.4 ตระหนกั รคู ณุ คา รว มอนุรกั ษและพฒั นาสิง่ แวดลอ ม (1 คะแนน)

ประกอบดวย

1. นายภีมพล เหมภมู ิ ประธานกรรมการ

2. นางเกษณี สทุ ธิศาล รองประธานกรรมการ

3. นางนงนุช นอ ยเกดิ กรรมการ

4. นางวารุณี กาํ เนดิ กรรมการ

5. นายพรชยั โพธิ์มาก กรรมการ

6. นางสุวารี ยอดศรี กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานที่ 3 ผูเรยี นมีทักษะในการแสวงหาความรดู วยตนเอง รักการเรยี นรู และพัฒนาตนเอง

อยา งตอเนือ่ ง

(5 คะแนน)

3.1 มนี สิ ัยรักการอานและแสวงหาความรูดวยตนเองจากหองสมดุ แหลง เรยี นรู และ

ส่ือตา งๆ รอบตัว

(2 คะแนน)

3.2 มีทกั ษะในการอาน ฟง ดู พูด เขยี น และต้ังคําถามเพ่ือคน ควา หาความรู

เพ่มิ เติม (1 คะแนน)

3.3 เรียนรรู ว มกันเปน กลมุ แลกเปล่ียนความคิดเหน็ เพอื่ การเรยี นรรู ะหวางกนั (1

คะแนน)

3.4 ใชเทคโนโลยใี นการเรียนรแู ละนาํ เสนอผลงาน (1 คะแนน)

ประกอบดว ย

1. นางธนิษฐา อนิ ทะสี ประธานกรรมการ

2. นายเฉลมิ ทองเพชร รองประธานกรรมการ

3. นางปย ภทั ร พวงกลนิ่ กรรมการ

4. นายปฏิญญากร กําเนดิ กรรมการ

5. นายพรสรร ใจของ กรรมการ

6. นางพรทิพย ม่ันทรัพย กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานที่ 4 ผูเรียนมีความสามารถในการคิดอยางเปน ระบบ คดิ สรางสรรค ตัดสินใจ

แกป ญหาไดอยางมีสติสมเหตผุ ล (5 คะแนน)

4.1 สรุปความคดิ จากเร่ืองที่อา น ฟง และดู และสื่อสารโดยการพดู หรือเขียนตาม

ความคดิ ของตนเอง (2 คะแนน)

๔๓

4.2 นําเสนอวธิ ีคดิ วธิ ีแกป ญหาดวยภาษาหรือวธิ ีการของตนเอง (1 คะแนน)

4.3 กําหนดเปาหมาย คาดการณ ตดั สนิ ใจแกปญ หาโดยมีเหตผุ ลประกอบ

(1 คะแนน)

4.4 มีความคิดริเร่ิม และสรา งสรรคผลงานดว ยความภาคภูมใิ จ (1 คะแนน)

ประกอบดว ย

1. นางนภิ าวดี นวมอินทร ประธานกรรมการ

2. นางสวุ รรณา ปอ มใย รองประธานกรรมการ

3. นางอรษา อภิรมยวไิ ลชยั กรรมการ

4. นายชเู กียรติ สยุ ะลังกา กรรมการ

5. นางวนิดา เฉยไสย กรรมการ

6. นางนยั นา ศุภดิษฐ กรรมการ

7. นางตองจติ ต ทศั นแจมสขุ กรรมการ

8. นางวลั ลภา อินหลวง กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานที่ 5 ผเู รยี นมีความรแู ละทักษะท่ีจาํ เปนตามหลักสตู ร (5 คะแนน)

5.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเฉลีย่ แตล ะกลุมสาระเปนไปตามเกณฑ (1 คะแนน)

5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสําคญั ตามหลักสูตรเปนไปตามเกณฑ (1 คะแนน)

5.3 ผลการประเมนิ การอา น คดิ วิเคราะห และเขียนเปน ไปตามเกณฑ (2 คะแนน)

5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเปนไปตามเกณฑ (1 คะแนน)

ประกอบดว ย

1. นายสรุ ะศกั ดิ์ ยอดหงษ ประธานกรรมการ

2. นางรุง ศรี พิมพส อน รองประธานกรรมการ

3. นางสาวพรทิพย เขียวเกิด กรรมการ

4. นางภัคจริ า กติ ตสิ ิริบณั ฑิต กรรมการ

5. นางศิลาพร รามันพงษ กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานท่ี 6 ผูเ รียนมีทักษะในการทาํ งาน รักการทํางาน สามารถทาํ งานรว มกบั ผูอื่นได

และมเี จตคตทิ ดี่ ตี ออาชพี สุจรติ (5 คะแนน)

6.1 วางแผนการทาํ งานและดําเนินการจนสําเรจ็ (2 คะแนน)

6.2 ทาํ งานอยางมีความสุข มุงมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง

(1 คะแนน)

6.3 ทาํ งานรว มกบั ผอู ื่นได (1 คะแนน)

๔๔

6.4 มคี วามรูส กึ ที่ดตี ออาชีพสุจริตและหาความรเู กี่ยวกับอาชพี ทีต่ นเองสนใจ

(1 คะแนน)

ประกอบดว ย

1. นางอมั พรภัสร สพุ ชรวงศ ประธานกรรมการ

2. นายสัญญา อนุ พานชิ ย รองประธานกรรมการ

3. นายศักด์ศิ ิริ ธรรมบุตร กรรมการ

4. นางสาวสมิตานนั ต สขุ มาก กรรมการ

5. นางโชติชญาน เรือนจรสั ศรี กรรมการ

6. นางศรีวิไล บญุ ญอนนั ตศริ ิ กรรมการ

7. นางศิริพร เกตุเจริญ กรรมการ

8. นายสมชาย สุวรรณจักร กรรมการ

9. นายประยูร จิระเดชประไพ กรรมการ

10. นางเพลินใจ ประสารศรี กรรมการ

11.นางสาวนติ ยา อดเิ รก กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานดา นการจดั การศึกษา (นํ้าหนกั 50 คะแนน)

มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนาที่อยางมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล

(10 คะแนน)

7.1 ครมู กี ารกาํ หนดเปา หมายคุณภาพผเู รยี นท้งั ดานความรู ทกั ษะกระบวนการ

สมรรถนะ และคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค (1 คะแนน)

7.2 ครมู กี ารวิเคราะหผเู รยี นเปนรายบุคคล และใชข อมูลในการวางแผนการ

จดั การเรียนรเู พื่อพฒั นาศักยภาพของผูเรียน (1 คะแนน)

7.3 ครูออกแบบและการจดั การเรียนรทู ี่ตอบสนองความแตกตางระหวา งบคุ คล

และพฒั นาการทางสตปิ ญ ญา (2 คะแนน)

7.4 ครใู ชสอ่ื และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมผนวกกบั การนาํ บริบทและภูมิปญญาของ

ทองถ่ิน

มาบูรณาการในการจดั การเรียนรู (1 คะแนน)

7.5 ครูมกี ารวัดและประเมินผลที่มุง เนนการพฒั นาการเรยี นรูของผูเรียน ดว ย

วธิ กี ารทห่ี ลากหลาย

(1 คะแนน)

7.6 ครใู หคําแนะนาํ คําปรึกษา และแกไขปญ หาใหแ กผ ูเรียนทงั้ ดานการเรียนและ

คณุ ภาพชวี ิตดว ยความเสมอภาค (1 คะแนน)

๔๕

7.7 ครมู กี ารศึกษา วจิ ัยและพัฒนาการจัดการเรยี นรูในวิชาทีต่ นรับผิดชอบ และ

ใชผ ลในการปรบั การสอน (1 คะแนน)

7.8 ครปู ระพฤติปฏิบัติตนเปน แบบอยางที่ดี และเปนสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา

(1 คะแนน)

7.9 ครูจดั การเรยี นการสอนตามวชิ าท่ไี ดร บั มอบหมายเต็มเวลา และจดั

บรรยากาศท่เี อื้อตอการเรยี นรูอยางเตม็ ความสามารถ (1 คะแนน)

ประกอบดวย

1. นายวิเชยี ร ยอดนลิ ประธานกรรมการ

2. นางสาวประภาพรรณ อนันตวงศ รองประธานกรรมการ

3. นางชลธิชา ตรงสกุล กรรมการ

4. นางสมทรง พันธศ รี กรรมการ

5. นางสาววารุณี กระสานติ์ครี ี กรรมการ

6. นายสิรชิ ยั เจนทศั นเอกจติ กรรมการ

7. นางปานจนั ทร ภูวิชิต กรรมการ

8. นางรัตนา สะสม กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานที่ 8 ผูบรหิ ารปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา ที่อยางมปี ระสิทธภิ าพและเกดิ

ประสิทธผิ ล (10 คะแนน)

8.1 ผูบรหิ ารมวี สิ ัยทัศน ภาวะผนู ํา และความคิดรเิ ริ่มทเี่ นนการพัฒนาผูเ รียน

(1 คะแนน)

8.2 ผบู รหิ ารใชห ลกั การบรหิ ารแบบมีสวนรวมและใชข อมูลผลการประเมินหรือ

ผลการวจิ ัยเปน ฐานคิดทง้ั ดานวิชาการและการจดั การ (2 คะแนน)

8.3 ผบู ริหารสามารถบริหารจัดการการศกึ ษาใหบ รรลุเปา หมายตามทก่ี ําหนดไวใน

แผนปฏบิ ัติการ (2 คะแนน)

8.4 ผบู ริหารสง เสริมและพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรใหพรอ มรบั การกระจายอํานาจ

(2 คะแนน)

8.5 นักเรยี น ผูปกครอง และชมุ ชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา (1

คะแนน)

8.6 ผูบริหารใหคําแนะนํา คาํ ปรกึ ษาทางวชิ าการและเอาใจใสก ารจัดการศึกษา

เตม็ ศกั ยภาพและเต็มเวลา (2 คะแนน)

ประกอบดวย

1. นางสิริวรรณ ตันติสนั ติสม ประธานกรรมการ

๔๖

2. นายประหยัด สริ ิกรรณะ รองประธานกรรมการ

3. นายวิเชยี ร ยอดนลิ กรรมการ

4. ดร.สุรพล พิมพสอน กรรมการ

5. นางมาลินี อินจันทร กรรมการ

6. นางสุรชา บรุ ษุ ศรี กรรมการ

7. นางสาวนนั ทวญั ใยยวง กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานที่ 9 กรรมการสถานศึกษา และผูป กครอง ชุมชนปฏบิ ัติงานตามบทบาทหนาท่ี

อยางมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล (5 คะแนน)

9.1 กรรมการสถานศึกษารูและปฏิบตั ิหนาทต่ี ามที่ระเบยี บกําหนด (2 คะแนน)

9.2 กรรมการสถานศกึ ษากํากับติดตาม ดแู ล และขบั เคล่ือนการดําเนนิ งานของ

สถานศึกษาใหบรรลุผลสาํ เร็จตามเปาหมาย (1 คะแนน)

9.3 ผูป กครองและชมุ ชนเขามามีสว นรว มในการพฒั นาสถานศึกษา (2 คะแนน)

ประกอบดว ย

1. นางสาวจงดี สกั กายะกรมงคล ประธานกรรมการ

2. นายประภาส ธารเปย ม รองประธานกรรมการ

3. ดร.ศุภชลา เพชรแกมทอง กรรมการ

4. นางสาวนโิ ลบล เหลาเขตกจิ กรรมการ

5. นางศิลาพร รามนั พงษ กรรมการ

6. นางตวงรัตน อนอนิ กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานที่ 10 สถานศกึ ษามีการจัดหลกั สูตร กระบวนการเรยี นรู และกจิ กรรมพฒั นา

คุณภาพผูเ รียนอยางรอบดาน (10 คะแนน)

10.1 หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคลอ งกับทองถ่ิน (2 คะแนน)

10.2 จดั รายวิชาเพ่มิ เติมทีห่ ลากหลายใหผเู รยี นเลือกเรยี นตามความถนัด

ความสามารถและความสนใจ (2 คะแนน)

10.3 จดั กิจกรรมพฒั นาผูเ รียนท่ีสง เสริมและตอบสนองความตองการ

ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน (1 คะแนน)

10.4 สนบั สนนุ ใหครูจัดกระบวนการเรยี นรทู ใ่ี หผเู รียนไดลงมือปฏบิ ัตจิ ริงจนสรปุ

ความรไู ดด ว ยตนเอง (1 คะแนน)

10.5 นิเทศภายใน กาํ กับ ตดิ ตามตรวจสอบ และนําผลไปปรับปรุงการเรียนการ

สอนอยา งสมํ่าเสมอ (2 คะแนน)


Click to View FlipBook Version