1
หลกั สตู รสถานศกึ ษา
โรงเรียนบ้านกระหวัน
(ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๔
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
2
หลักสตู รสถานศกึ ษา
โรงเรียนบ้านกระหวัน
(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๔
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก
ประกาศโรงเรียนบ้านกระหวัน
เร่ือง ให้ใชห้ ลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นกระหวัน ( ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช๒๕๖๓)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
---------------------------------------------------------
โรงเรียนบ้านกระหวัน สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๔ ได้ดาเนินการ
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน ( ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช๒๕๕๑ และเอกสารประกอบหลกั สูตรขึ้น เพอื่ กาหนดใชเ้ ป็นกรอบและทิศทางใน
การจดั การเรยี นการสอนของโรงเรยี นบ้านกระหวัน
โดยโรงเรียนได้จัดทาและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กาหนดมาตรฐาน
การเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ม่งุ พัฒนาผเู้ รียนทกุ คนให้มีความสมดลุ ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสานึก
ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ังเจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา
ตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มตาม
ศกั ยภาพ
ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านกระหวัน ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน เมื่อวนั ที่ ๑๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๓ จงึ ประกาศใหใ้ ช้หลักสูตรโรงเรยี นต้ังแตบ่ ัดนเ้ี ปน็ ตน้ ไป
ประกาศ ณ วันที่๑๕ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๓
(นายบญุ เนื่อง บุญทะสมิ )
ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานโรงเรยี นบ้านกระหวัน
(นายผดุง ชาตดิ ร)
ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านกระหวัน
ข
คานา
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่
สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคาสั่งสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี ๓๐/
๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีคาสั่งให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปี
การศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใชใ้ นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ ต้งั แต่ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เปน็ หลักสตู ร
แกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรูเ้ ปน็ เป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรยี น มีพฒั นาการเตม็ ตามศกั ยภาพ มีคุณภาพและมที ักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อใหส้ อดคล้อง
กบั นโยบายและเปา้ หมายของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
โรงเรียนบ้านกระหวัน จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เพื่อนาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศกึ ษาและจัดการเรียนการสอน
โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนด
วิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาส
ให้โรงเรยี นสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตรการเรยี นการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น
โดยมกี รอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มคี วามพรอ้ มในการก้าวสู่สังคม
คุณภาพ มีความรอู้ ย่างแท้จรงิ และมที ักษะในศตวรรษที่ ๒๑
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ในเอกสารเล่มน้ี ช่วยทาให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ
เห็นผลคาดหวังท่ีต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงาน
ทเี่ กีย่ วข้องในระดับท้องถิน่ และสถานศึกษาร่วมกนั พฒั นาหลักสตู รไดอ้ ย่างมัน่ ใจ ทาใหก้ ารจดั ทาหลกั สูตรในระดับ
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งข้ึน อีกท้ังยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรอื่ งการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่
ระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม
ผ้เู รียนทุกกล่มุ เป้าหมายในระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
การจัดหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวงั ได้ ทุกฝา่ ยทเี่ ก่ยี วข้อง
ทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคล ต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
ในการวางแผน ดาเนินการ สง่ เสริม สนับสนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แกไ้ ข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่
คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู้ ีก่ าหนดไว้
งานวิชาการ
โรงเรยี นบ้านกระหวนั
สารบญั ค
เร่ือง หนา้
ประกาศโรงเรียน ก
คานา ข
สารบญั ค
ส่วนท่ี ๑ ความนา ๑
๑
วิสยั ทัศนโ์ รงเรียน ๑
พนั ธกิจโรงเรียน ๒
เปา้ ประสงคโ์ รงเรียน ๒
สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ๒
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๓
ค่านิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ๓
หลกั สูตรต้านทจุ รติ ศึกษา ๔
สว่ นที่ ๒ โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรยี นบา้ นกระหวัน ๑๒
สว่ นที่ ๓ คาอธบิ ายรายวิชา ๑๓
กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ๒๒
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ๓๐
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๑
กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๔๙
กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ประวตั ิศาสตร)์ ๕๖
กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖๕
กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ๗๒
กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ ๗๙
กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ๘๗
รายวชิ าเพิม่ เติม หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๑๐๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
๑๒๘
- กิจกรรมแนะแนว ๑๓๕
- กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี
- กิจกรรมชุมนุม
- กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
สว่ นท่ี ๔ เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
ภาคผนวก
๑
ส่วนที่ ๑
ความนา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นแผนหรือแนวทาง หรือข้อกาหนดของการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนบา้ นกระหวนั ที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพอื่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดมงุ่
พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพท่ีสุจริต ตลอดจน
การรู้จักอนรุ ักษว์ ัฒนธรรม ประเพณที อ้ งถนิ่ โดยมงุ่ หวงั ให้มีความสมบูรณ์ทง้ั ด้านรา่ งกาย จิตใจ และสติปัญญา อีก
ทั้งมีความรู้และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิต และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล เพ่ือการแข่งขันในยุค
ปัจจุบนั ดงั น้นั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงประกอบด้วยสาระสาคัญของหลักสูตรแกนกลาง สาระความรู้ท่ี
เก่ียวข้องกบั ชุมชนท้องถิน่ และสาระสาคญั ท่ีโรงเรียนพฒั นาเพ่ิมเติม โดยจดั เป็นสาระการเรยี นร้รู ายวิชาพนื้ ฐานตาม
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายปีในระดับ
ประถมศกึ ษา และกาหนดคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของโรงเรยี นบ้านกระหวนั ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียน
บา้ นกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิสัยทัศนโ์ รงเรยี น
โรงเรยี นบ้านกระหวนั จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั จดั การศกึ ษาภาคบังคับ
ให้ประชากรวัยเรียนได้เรียนอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีความรู้คู่คุณธรรม ตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง นาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รบั ไปใช้ในชีวิตประจาวนั ใช้โรงเรยี นเป็นฐานในการบรหิ าร
บนพน้ื ฐานของหลกั ธรรมภิบาลและผูน้ าการเปล่ียนแปลง เป็นแนวทางในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา
พันธกิจโรงเรียน
๑. จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั
๒. ส่งเสริมให้นักเรียนมีระเบียบ มีวินัย มีคุณธรรม นาความรู้ท่ีได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันตามหลัก
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๓. สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมีความรักในชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และมีความภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย
ในระบอบประชาธปิ ไตย
๔. สง่ เสรมิ ให้บุคลากรมกี ารพฒั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง
๕. บรหิ ารจดั การใชก้ ารบรหิ ารโรงเรยี นเป็นฐานบนพืน้ ฐานของหลกั ธรรมภบิ าลและผนู้ าการ
เปลยี่ นแปลง
๖. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ประสานงาน ร่วมกับชุมชนและหน่วยงานอื่นเพอื่ พัฒนาสถานศกึ ษา
๒
เปา้ ประสงค์โรงเรียน
ผ้เู รยี นมีความรู้ความสามารถตามเกณฑม์ าตรฐานของสถานศกึ ษา สามารถอ่านออกเขยี นได้ถกู ตอ้ งตาม
หลักภาษา มีทักษะการคิดวิเคราะห์ มีคุณธรรม อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถนา
เทคโนโลยีมาใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสรา้ งสรรค์ และอยรู่ ่วมกับสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังน้ี
๑ .ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถา่ ยทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความร้สู กึ และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์
อนั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมทงั้ การเจรจาต่อรอง เพ่ือขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ
การเลอื กรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธกี ารสื่อสารท่มี ีประสิทธิภาพ
โดยคานงึ ถึงผลกระทบทีม่ ีต่อตนเองและสังคม
๒ . ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ อย่างสร้างสรรค์
การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพ่ือนาไปสูก่ ารสร้างองค์ความรูห้ รือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
เกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓ .ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่เี ผชญิ ได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม บนพ้นื ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรม และข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพนั ธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา และมกี ารตดั สินใจ
ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ โดยคานึงถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ข้ึนตอ่ ตนเอง สังคม และสงิ่ แวดล้อม
๔ .ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ นการดาเนิน
ชีวิตประจาวนั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนร้อู ยา่ งตอ่ เนื่อง การทางาน และการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมด้วยการสร้างเสริม
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกบั
การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบตอ่
ตนเองและผอู้ ่นื
๕ .ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ
และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสื่อสาร การทางาน
การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมคี ณุ ธรรม
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่
รว่ มกับผู้อ่นื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซื่อสัตยส์ ุจริต
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุง่ ม่ันในการทางาน
๓
๗. รักความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ
คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.
๑. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
๒. ซ่ือสัตย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณใ์ นส่งิ ท่ีดีงามเพอื่ สว่ นรวม
๓. กตัญญูต่อพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์
๔. ใฝห่ าความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเลา่ เรยี น ท้งั ทางตรงและทางอ้อม
๕. รักษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม
๖. มีศีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี อ่ ผ้อู ่นื เผ่ือแผแ่ ละแบง่ ปนั
๗. เขา้ ใจเรียนรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ที่ถูกตอ้ ง
๘. มีระเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู้ ้อยรจู้ กั การเคารพผ้ใู หญ่
๙. มีสติรตู้ ัว รู้คดิ ร้ทู า ร้ปู ฏบิ ัติตามพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว
๑๐. รู้จกั ดารงตนอยูโ่ ดยใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
รู้จักอดออมไว้ใช้เม่ือยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมท่ีจะขยายกิจการเมื่อมี
ความพรอ้ ม เม่อื มีภูมิคุ้มกนั ทด่ี ี
๑๑. มีความเข้มแข็งทั้งรา่ งกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัว
ตอ่ บาปตามหลกั ของศาสนา
๑๒. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชาติ มากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเอง
หลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ได้จัดทาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาสาหรับใช้ในทุกระดับการศึกษา
ในส่วนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้จัดทาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม
“การปอ้ งกนั การทจุ ริต” ข้ึน และคณะรฐั มนตรีมมี ติเหน็ ชอบหลักสูตรต้านทจุ ริตศึกษา เมอื่ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑
และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา
โดยมุ่งเน้นการสร้างความรคู้ วามเข้าใจที่ถูกต้องเกย่ี วกับความหมายและขอบเขตของการกระทาทุจริตในลักษณะ
ต่าง ๆ ทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม ความเสียหายทเ่ี กดิ จากการทจุ รติ ความสาคญั ของการต่อตา้ นการทจุ ริต รวมทั้งจดั
ใหม้ กี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ขิ องการจดั หลักสตู รในแต่ละชว่ งวัยของผู้เรียนด้วย
หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) รายวิชาเพ่ิมเติม “การป้องกันการทุจริต”
ประกอบดว้ ย ๔ หนว่ ยการเรียนรู้ ได้แก่ ๑) การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
๒) ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต ๓) STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจริต ๔) พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบต่อ
สังคม ที่สถานศึกษาจัดให้กับผู้เรยี นเพ่อื ปลูกฝังและป้องกันการทุจริตไมใ่ ห้เกดิ ขึ้น โดยเริ่มปลูกฝังผู้เรียนต้ังแต่ชั้น
ปฐมวัยจนถึงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการ มีสมรรถนะที่สาคัญ และมี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
๔
ส่วนท่ี ๒
โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นบา้ นกระหวนั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้สอนและผู้ที่
เกย่ี วข้องในการจดั การเรียนรู้ตามหลกั สตู รของสถานศึกษามีแนวปฏบิ ัติ ดังน้ี
ระดับการศกึ ษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดังน้ี
ระดับประถมศกึ ษา (ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖) การศกึ ษาระดับนีเ้ ปน็ ชว่ งแรกของการศึกษาภาคบังคับ
มุ่งเนน้ ทกั ษะพนื้ ฐานดา้ นการอา่ น การเขียน การคิดคานวณ ทักษะการคิดพนื้ ฐาน การติดต่อสอื่ สาร กระบวนการ
เรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย
สตปิ ัญญา อารมณ์ สงั คม และวัฒนธรรม โดยเน้นจดั การเรียนรูแ้ บบบูรณาการ
การจดั เวลาเรียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้จัดเวลาเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ และกิจกรรม
พฒั นาผูเ้ รียน โดยจดั ใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ท จุดเนน้ ของโรงเรยี น และสภาพของผเู้ รยี น ดงั น้ี
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖) จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวันละ 6
ชว่ั โมง
โครงสรา้ งหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกอบดว้ ยโครงสรา้ งเวลาเรยี นและโครงสรา้ งหลักสูตรช้ัน
ปี ดังนี้
๑. โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างท่ีแสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ กลุ่มสาระ 8 ท่เี ปน็ เวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนรายวชิ าเพ่ิมเตมิ และเวลาในการจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
จาแนกแตล่ ะชั้นปี ในระดบั ประถมศึกษา ดังนี้
๕
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านกระหวนั
โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น : ชว่ั โมง/ปี
ระดับประถมศกึ ษา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้/วิชาพ้ืนฐาน ป.๑ ป.๒ ป3. ป4. ป.๕ ป6.
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑60 ๑60 ๑60
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑60 ๑60 ๑60
สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒0 ๑๒0 ๑๒0
ประวัติศาสตร์ 80 80 80 80 80 80
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ศิลปะ ๔0 ๔0 ๔0 ๘0 ๘0 ๘0
การงานอาชพี 40 40 40 ๘0 ๘0 ๘0
ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔0 ๔0 ๔0
รวมเวลาเรยี น (รายวชิ าพื้นฐาน) 200 200 200 ๘0 ๘0 ๘0
920 920 920 840 840 840
รายวิชาเพิ่มเติม
หน้าที่พลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรยี น (รายวิชาเพิ่มเติม) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔0 ๔0 ๔0
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนกั เรียน ๔๐ ๔0 ๔0 ๔0 ๔0 ๔0
ลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ชุมนมุ *
กิจกรรมเพื่อสงั คม (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐)
และสาธารณประโยชน*์ *
รวมเวลา (กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น) ๑๒0 ๑๒0 ๑๒0 ๑๒0 ๑๒0 ๑๒0
๑,๐80 ช่ัวโมง ๑,๐๐๐ ชัว่ โมง
รวมเวลาทง้ั หมด
*กิจกรรมชมุ นมุ นกั เรยี นเลือกเรียนตามความสนใจ
**ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ผนวกในกิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี
หมายเหตุ หลักสูตรต้านทุจรติ บรุ ณาการการเรียนสอนกับกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน วชิ าลูกเสือ-เนตรนารี
ตามหนงั สอื ราชการ สพฐ.ทศ่ี ธ ๐๔๐๐๘/ว๙๑๘ ลงวนั ที่ เมษายน ๒๕๖๒
๒. โครงสร้างหลักสตู รชนั้ ปี เปน็ โครงสรา้ งทแี่ สดงรายละเอียดเวลาเรยี นของรายวิชาพ้นื ฐาน รายวชิ ากจิ กรรม/
เพ่ิมเติม และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนจาแนกแตล่ ะชัน้ ปี ดงั นี้
๖
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกระหวนั
ระดบั ประถมศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑
รายวิชากิจกรรม/ เวลาเรียน
(ช่วั โมง/ป)ี (ชวั่ โมง/สปั ดาห)์
รหสั วชิ า รายวิชาพนื้ ฐาน
๙๒๐ ๒๓
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕
๒๐๐ ๕
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐ ๒
๘๐ ๒
ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐ ๑
๔๐ ๑
ส๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๑
๔๐ ๑
ส๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๒๐๐ ๕
๔๐ ๑
พ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑
๑๒๐ ๓
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑
(๘๐) (๒)
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑
๔๐ ๑
อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ (๑๐) ผนวกในกจิ กรรม
รหัสวิชา รายวิชาเพ่มิ เตมิ ลูกเสอื /เนตรนารี
ส๑๑๒๐๑ หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๑ ๑,๐๘๐ ๒๗
รหสั กจิ กรรม กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
ก๑๑๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนกั เรยี น
ก๑๑๙๐๒ ลูกเสอื เนตรนารี/
ก๑๑๙๐๓ ชุมนมุ *
ก๑๑๙๐๔ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
กจิ กรรมเพมิ่ ความรู้
รวมเวลาเรยี นทง้ั หมดตามโครงสรา้ งหลักสูตร
*กจิ กรรมชุมนุมนกั เรยี นเลือกเรียนตามความสนใจ
หมายเหตุ หลักสูตรตา้ นทุจริต บรุ ณาการการเรยี นสอนกับกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน วชิ าลกู เสอื -เนตรนารี
ตามหนังสอื ราชการ สพฐ.ทศ่ี ธ ๐๔๐๐๘/ว๙๑๘ ลงวันที่ เมษายน ๒๕๖๒
๗
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกระหวนั
ระดบั ประถมศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๒
รายวิชากิจกรรม/ เวลาเรียน
(ช่วั โมง/ป)ี (ชวั่ โมง/สปั ดาห)์
รหสั วชิ า รายวิชาพนื้ ฐาน
๙๒๐ ๒๓
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕
๒๐๐ ๕
ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐ ๒
๘๐ ๒
ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐ ๑
๔๐ ๑
ส๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๑
๔๐ ๑
ส๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๒๐๐ ๕
๔๐ ๑
พ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑
๑๒๐ ๓
ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑
(๘๐) (๒)
ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑
๔๐ ๑
อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ (๑๐) ผนวกในกจิ กรรม
รหัสวิชา รายวิชาเพ่มิ เตมิ ลูกเสอื /เนตรนารี
ส๑๒๒๐๑ หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๒ ๑,๐๘๐ ๒๗
รหสั กจิ กรรม กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
ก๑๒๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนกั เรยี น
ก๑๒๙๐๒ ลูกเสอื เนตรนารี/
ก๑๒๙๐๓ ชุมนมุ *
ก๑๒๙๐๔ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
กจิ กรรมเพมิ่ ความรู้
รวมเวลาเรยี นทง้ั หมดตามโครงสรา้ งหลักสูตร
*กจิ กรรมชุมนุมนกั เรยี นเลือกเรียนตามความสนใจ
หมายเหตุ หลักสูตรตา้ นทุจริต บรุ ณาการการเรยี นสอนกับกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน วชิ าลกู เสอื -เนตรนารี
ตามหนังสอื ราชการ สพฐ.ทศ่ี ธ ๐๔๐๐๘/ว๙๑๘ ลงวันที่ เมษายน ๒๕๖๒
๘
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกระหวนั
ระดบั ประถมศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓
รายวิชากิจกรรม/ เวลาเรียน
(ช่วั โมง/ป)ี (ชวั่ โมง/สปั ดาห)์
รหสั วชิ า รายวิชาพนื้ ฐาน
๙๒๐ ๒๓
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕
๒๐๐ ๕
ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐ ๒
๘๐ ๒
ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐ ๑
๔๐ ๑
ส๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๑
๔๐ ๑
ส๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๒๐๐ ๕
๔๐ ๑
พ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑
๑๒๐ ๓
ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑
(๘๐) (๒)
ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑
๔๐ ๑
อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ (๑๐) ผนวกในกจิ กรรม
รหัสวิชา รายวิชาเพ่มิ เตมิ ลูกเสอื /เนตรนารี
ส๑๓๒๐๑ หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๓ ๑,๐๘๐ ๒๗
รหสั กจิ กรรม กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
ก๑๓๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนกั เรยี น
ก๑๓๙๐๒ ลูกเสอื เนตรนารี/
ก๑๓๙๐๓ ชุมนมุ *
ก๑๓๙๐๔ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
กจิ กรรมเพมิ่ ความรู้
รวมเวลาเรยี นทง้ั หมดตามโครงสรา้ งหลักสูตร
*กจิ กรรมชุมนุมนกั เรยี นเลือกเรียนตามความสนใจ
หมายเหตุ หลักสูตรตา้ นทุจริต บรุ ณาการการเรยี นสอนกับกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน วชิ าลกู เสอื -เนตรนารี
ตามหนังสอื ราชการ สพฐ.ทศ่ี ธ ๐๔๐๐๘/ว๙๑๘ ลงวันที่ เมษายน ๒๕๖๒
๙
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกระหวนั
ระดับประถมศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔
รายวิชากิจกรรม/ เวลาเรียน
(ช่วั โมง/ป)ี (ชวั่ โมง/สปั ดาห)์
รหัสวิชา รายวิชาพนื้ ฐาน
๘๔๐ ๒๑
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑60 ๔
๑60 ๔
ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒0 ๓
๘0 ๒
ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐ ๑
๘0 ๒
ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘0 ๒
๔0 ๑
ส๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๘0 ๒
๔๐ ๑
พ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑
๑๒๐ ๓
ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑
(๘๐) (๒)
ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑
๔๐ ๑
อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ (๑๐) ผนวกในกจิ กรรม
รหสั วิชา รายวิชาเพ่มิ เตมิ ลูกเสอื /เนตรนารี
ส๑๔๒๐๑ หนา้ ท่ีพลเมือง ๔ ๑,๐๐๐ ๒๕
รหัสกิจกรรม กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
ก๑๔๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนกั เรียน
ก๑๔๙๐๒ ลกู เสอื เนตรนารี/
ก๑๔๙๐๓ ชุมนุม*
ก๑๔๙๐๔ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
กจิ กรรมเพมิ่ ความรู้
รวมเวลาเรียนท้ังหมดตามโครงสรา้ งหลักสูตร
*กิจกรรมชุมนุมนกั เรยี นเลือกเรียนตามความสนใจ
หมายเหตุ หลักสูตรตา้ นทจุ รติ บรุ ณาการการเรยี นสอนกับกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น วชิ าลกู เสอื -เนตรนารี
ตามหนังสอื ราชการ สพฐ.ท่ศี ธ ๐๔๐๐๘/ว๙๑๘ ลงวันที่ เมษายน ๒๕๖๒
๑๐
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกระหวนั
ระดับประถมศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕
รายวิชากิจกรรม/ เวลาเรยี น
(ชัว่ โมง/ปี) (ชั่วโมง/สัปดาห์)
รหัสวชิ า รายวชิ าพ้ืนฐาน
๘๔๐ ๒๑
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑60 ๔
๑60 ๔
ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒0 ๓
๘0 ๒
ว๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐ ๑
๘0 ๒
ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘0 ๒
๔0 ๑
ส๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๘0 ๒
๔๐ ๑
พ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑
๑๒๐ ๓
ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑
(๘๐) (๒)
ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑
๔๐ ๑
อ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ (๑๐) ผนวกในกจิ กรรม
รหัสวชิ า รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ลูกเสอื /เนตรนารี
ส๑๕๒๐๑ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๑,๐๐๐ ๒๕
รหสั กจิ กรรม กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
ก๑๕๙๐๑ กจิ กรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรยี น
ก๑๕๙๐๒ ลกู เสอื เนตรนารี/
ก๑๕๙๐๓ ชมุ นมุ *
ก๑๕๙๐๔ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
กจิ กรรมเพ่ิมความรู้
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมดตามโครงสร้างหลกั สูตร
*กจิ กรรมชุมนุมนกั เรยี นเลอื กเรยี นตามความสนใจ
หมายเหตุ หลักสูตรต้านทจุ ริต บุรณาการการเรยี นสอนกบั กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน วชิ าลกู เสือ-เนตรนารี
ตามหนังสือราชการ สพฐ.ท่ศี ธ ๐๔๐๐๘/ว๙๑๘ ลงวนั ท่ี เมษายน ๒๕๖๒
๑๑
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกระหวนั
ระดับประถมศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖
รายวิชากิจกรรม/ เวลาเรยี น
(ชัว่ โมง/ปี) (ชั่วโมง/สัปดาห์)
รหัสวชิ า รายวชิ าพ้ืนฐาน
๘๔๐ ๒๑
ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑60 ๔
๑60 ๔
ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒0 ๓
๘0 ๒
ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐ ๑
๘0 ๒
ส๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘0 ๒
๔0 ๑
ส๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๘0 ๒
๔๐ ๑
พ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๑
๑๒๐ ๓
ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑
(๘๐) (๒)
ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑
๔๐ ๑
อ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ (๑๐) ผนวกในกจิ กรรม
รหัสวชิ า รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ลูกเสอื /เนตรนารี
ส๑๖๒๐๑ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๖ ๑,๐๐๐ ๒๕
รหสั กจิ กรรม กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
ก๑๖๙๐๑ กจิ กรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรยี น
ก๑๖๙๐๒ ลกู เสอื เนตรนารี/
ก๑๖๙๐๓ ชมุ นมุ *
ก๑๖๙๐๔ กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
กจิ กรรมเพิ่มความรู้
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมดตามโครงสร้างหลกั สูตร
*กจิ กรรมชุมนุมนกั เรยี นเลอื กเรยี นตามความสนใจ
หมายเหตุ หลักสูตรต้านทจุ ริต บรุ ณาการการเรยี นสอนกบั กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน วชิ าลกู เสือ-เนตรนารี
ตามหนังสือราชการ สพฐ.ท่ศี ธ ๐๔๐๐๘/ว๙๑๘ ลงวนั ท่ี เมษายน ๒๕๖๒
๑๒
สว่ นที่ ๓
คาอธบิ ายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกระหวัน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดคาอธิบายรายวชิ าของวชิ าต่าง ๆ ทส่ี อนในแต่ละปีการศึกษา
ซึ่งประกอบดว้ ย ช่อื รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จานวนชวั่ โมงต่อปี ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั และสาระการเรียนรู้รายปี
คาอธิบายรายวชิ าจะชว่ ยให้ผู้สอนจัดหน่วยการเรียนรใู้ นแต่ละชั้นปี ไดส้ อดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้
เนื่องจากคาอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรียนรู้ท่ีผู้เรยี นต้องเรียนรู้ตลอดทั้งปี กลมุ่ ของสาระการเรยี นรู้ตลอดปี
จะมีจานวนมาก ดังนั้น การจัดเป็นหนว่ ยการเรียนรู้หลาย ๆ หน่วย จะช่วยให้กลุ่มของสาระการเรียนรู้มีขนาดเลก็ ลง
และบรู ณาการไดห้ ลากหลายมากข้ึน
โรงเรยี นบ้านกระหวนั ได้กาหนดรายละเอยี ดของคาอธิบายรายวิชาเรียงตามลาดับไว้ ดงั นี้
๑. คาอธบิ ายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖
๒. คาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถงึ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖
๓. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้น
ประถมศึกษาปที ่ี ๖
๔. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑
ถงึ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
๕. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
๖. คาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถงึ ชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ ๖
๗. คาอธบิ ายรายวชิ ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖
๘. คาอธบิ ายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถงึ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
๙. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑
ถึงช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
๑๐. คาอธิบายรายวิชาเพิม่ เตมิ วิชาหนา้ ที่พลเมือง ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖
๑๑. คาอธิบายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
๑๓
คาอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
๑๔
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑
กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง และข้อความสั้น ๆ บอกความหมายของคาและขอ้ ความ ตอบคาถาม
เล่าเร่ืองย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลอื กอา่ นหนังสอื ตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอ นาเสนอเร่ืองที่อ่าน บอกความหมาย
ของเครื่องหมายหรอื สญั ลกั ษณ์สาคัญท่ีมักพบเหน็ ในชีวิตประจาวัน มมี ารยาทในการอา่ น ฝกึ คัดลายมอื ดว้ ยตวั บรรจง
เตม็ บรรทัด เขียนสอื่ สารด้วยคาและประโยคง่าย ๆ มมี ารยาทในการเขยี น
ฝึกทกั ษะในการฟงั ฟงั คาแนะนา คาส่งั ง่าย ๆ และปฏบิ ัตติ าม ตอบคาถาม เลา่ เรือ่ ง พดู แสดงความคิดเห็น
และความรสู้ ึกจากเรื่องทฟ่ี งั และดู พูดสอื่ สารไดต้ ามวตั ถุประสงค์ เนน้ มารยาทในการฟงั การดูและการพดู
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
เรียบเรยี งคาเปน็ ประโยคง่าย ๆ ต่อคาคลอ้ งจองง่าย ๆ
บอกขอ้ คิดทีไ่ ด้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก ฝกึ ทอ่ งจาบทอาขยาน
ตามที่กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหา
ความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟงั
การดแู ละการพูด พดู แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด
เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สอ่ื สารได้ถูกตอ้ ง รกั การเรียนภาษาไทย เหน็ คณุ ค่าของการอนรุ กั ษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐานตวั ชี้วัด/
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชวี้ ัด
๑๕
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๒
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง
คาอธิบายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ อธบิ ายความหมายของคาและข้อความ
ท่ีอ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์
เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองท่ีอ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตาม
คาสง่ั หรือข้อแนะนา มีมารยาทในการอ่าน
ฝกึ คดั ลายมือด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทัด เขียนเรื่องสนั้ ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรอื่ งสั้น ๆ ตามจินตนาการ
มีมารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะการฟัง ฟังคาแนะนา คาส่ังที่ซับซอ้ นและปฏิบัติตาม เล่าเรือ่ ง บอกสาระสาคัญของเร่ือง ต้ังคาถาม
ตอบคาถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรสู้ กึ พดู ส่อื สารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟัง การดู
และการพดู
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
เรียบเรียงคาเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถนิ่ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
ฝึกจับใจความสาคัญจากเร่ือง ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟงั วรรณกรรมสาหรับเด็ก เพ่ือนาไปใช้
ในชีวิตประจาวัน ร้องบทร้องเล่นสาหรับเด็กในท้องถ่ิน ท่องจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่า
ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปญั หา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม
ตอบคาถาม ใช้ทกั ษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด
เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สอื่ สารไดถ้ ูกตอ้ ง รกั การเรยี นภาษาไทย เหน็ คณุ คา่ ของการอนุรักษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กบั ชวี ิตประจาวันไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐานตวั ช้ีวดั /
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตวั ช้ีวัด
๑๖
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง
คาอธิบายรายวิชา
ฝึกอา่ นออกเสียงคา ขอ้ ความ เรื่องส้นั ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อธบิ ายความหมายของคาและข้อความ
ที่อ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิดจากเรื่องที่อา่ น
เพือ่ นาไปใช้ในชีวิตประจาวนั เลอื กอา่ นหนงั สือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านขอ้ เขียน
เชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคาส่ังหรือข้อแนะนา อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ
มมี ารยาทในการอ่าน
ฝกึ คัดลายมือดว้ ยตัวบรรจงเตม็ บรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบนั ทึกประจาวนั เขยี นเร่ืองตามจินตนาการ
มีมารยาทในการเขยี น
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสาคัญ ต้ังคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดง
ความคิดเห็น ความร้สู กึ พดู สอื่ สารไดช้ ัดเจนตรงตามวตั ถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู
ฝกึ เขยี นตามหลกั การเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ระบชุ นิด หน้าที่ของคา ใช้พจนานุกรม
คน้ หาความหมายของคา แตง่ ประโยคงา่ ย ๆ แต่งคาคล้องจองและคาขวญั เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน
ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
ระบุข้อคดิ ท่ไี ดจ้ ากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั รู้จักเพลงพน้ื บา้ น เพลงกล่อมเด็ก
เพอื่ ปลูกฝงั ความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั วรรณคดีทอ่ี ่าน ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด
และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย
บนั ทกึ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟงั การดูและการพูด พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิด
รวบยอด
เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอ่ื สารได้ถกู ต้อง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคณุ คา่ ของการอนรุ ักษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชก้ ับชีวิตประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐานตัวชี้วดั /
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชว้ี ัด
๑๗
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
อ่านเร่ืองส้ัน ๆ ตามเวลาที่กาหนดและตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่าน
คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่ีอ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองที่อ่าน เพ่ือนาไปใช้
ในชวี ิตประจาวัน เลือกอ่านหนงั สอื ที่มคี ณุ ค่าตามความสนใจอยา่ งสมา่ เสมอและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเร่ืองท่ีอ่าน
มมี ารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมอื ด้วยตวั บรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่อื สารโดยใช้คาได้ถกู ต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพความคดิ เพื่อใชพ้ ฒั นางานเขียน เขียนย่อความจากเรอื่ งส้ัน ๆ
เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบันทกึ และเขียนรายงานจากการศกึ ษาค้นคว้า เขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ
มีมารยาทในการเขยี น
ฝกึ ทกั ษะการฟัง การดแู ละการพูด จาแนกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ เรื่องท่ีฟังและดู พดู สรปุ จากการฟัง
และดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับเร่ืองท่ีฟังและดู ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา มีมารยาท
ในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลกั การเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคาในบรบิ ทต่าง ๆ
ระบุชนิดและหนา้ ที่ของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
แต่งบทรอ้ ยกรองและคาขวญั บอกความหมายของสานวน เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้
ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตจริง
รอ้ งเพลงพน้ื บ้าน ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองท่มี คี ุณค่าตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอ่าน
กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก
การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคดิ
รวบยอด
เพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ ส่อื สารไดถ้ ูกต้อง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคณุ ค่าของการอนรุ ักษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความร้ไู ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นาไปประยุกตใ์ ช้กบั ชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๑๘
มาตรฐานตัวช้ีวัด/
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชว้ี ัด
๑๙
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕
กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่ีเป็น
การบรรยายและการพรรณนา อธบิ ายความหมายโดยนยั แยกข้อเทจ็ จรงิ ข้อคิดเหน็ วเิ คราะห์ แสดงความคิดเห็น
อ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม เลือกอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ มีมารยาท
ในการอ่าน
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพ
ความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น กรอกแบบ
รายการตา่ ง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรู้สกึ ตงั้ คาถาม ตอบคาถาม
วิเคราะหค์ วาม พูดรายงาน มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด
ระบุชนดิ และหน้าท่ีของคาในประโยค จาแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถนิ่ ใช้คาราชาศพั ท์ บอกคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แต่งบทร้อยกรอง ใช้สานวนไดถ้ ูกต้อง
สรุปเร่ืองจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีอ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม
ท่ีสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและ
บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคดิ วเิ คราะห์และสรุปความ กระบวนการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ กระบวนการสอ่ื ความ
กระบวนการแกป้ ญั หา การฝึกปฏิบัติ อธบิ าย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทกั ษะการฟงั การดแู ละการพูด
พูดแสดงความคดิ เห็น กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด
เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ ส่อื สารไดถ้ ูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เหน็ คณุ คา่ ของการอนรุ กั ษ์
ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรูไ้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์โดยใชว้ ธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้กบั ชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐานตัวชี้วดั /
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชว้ี ัด
๒๐
ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ฝกึ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่เี ป็นโวหาร
อ่านเรื่องส้ัน ๆ อย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น
เกย่ี วกับเรอื่ งทอ่ี า่ นเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต อา่ นงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คาสง่ั ข้อแนะนา และปฏบิ ัติตาม อธบิ าย
ความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภมู แิ ละกราฟ เลือกอา่ นหนงั สือตามความสนใจและอธิบาย
คุณคา่ ที่ไดร้ ับ มีมารยาทในการอ่าน
ฝึกคัดลายมอื ดว้ ยตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและครง่ึ บรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกตอ้ ง ชัดเจน และเหมาะสม
เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ เพอื่ ใชพ้ ฒั นางานเขียน เขยี นเรียงความ เขยี นยอ่ ความจากเรือ่ งอ่าน
เขยี นจดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มมี ารยาทในการเขยี น
ฝกึ ทกั ษะการฟัง การดูและการพดู พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ จดุ ประสงคข์ องเร่อื งทฟ่ี งั และดู ตั้งคาถาม
และตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรอื่ งที่ฟงั และดู วิเคราะหค์ วามน่าเชอ่ื ถือจากเรอ่ื งท่ีฟงั และดูสื่อโฆษณาอย่างมเี หตุผล
พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเช่ือถอื
มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู
ฝกึ วเิ คราะหช์ นิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอก
ความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระบลุ กั ษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วเิ คราะห์เปรยี บเทียบ
สานวนที่เปน็ คาพงั เพยและสภุ าษติ
ฝกึ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมทอี่ ่าน เล่านิทานพ้นื บ้านท้องถน่ิ ตนเองและนิทานพื้นบ้าน
ของท้องถ่นิ อน่ื อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่านและนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาบทอาขยาน
ตามทีก่ าหนดและบทร้อย โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการ
แก้ปัญหา กระบวนการสังเกต กระบวนการแยกข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า กระบวนการใช้เทคโนโลยี
ในการสอื่ สาร กระบวนการใช้ทกั ษะทางภาษา การฝกึ ปฏิบัติ อธิบาย บนั ทกึ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใชท้ ักษะ
การฟงั การดแู ละการพดู พูดแสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ ส่อื สารไดถ้ กู ตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคณุ ค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทยและตวั เลขไทย สามารถนาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนโ์ ดยใชว้ ธิ ีการของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถ
นาไปประยุกต์ใชก้ บั ชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
๒๑
มาตรฐานตัวช้ีวัด/
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชว้ี ัด
๒๒
คาอธบิ ายรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
๒๓
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
คาอธิบายรายวิชา
บอกจานวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงส่ิงต่าง ๆ ตามจานวนทกี่ าหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
แสดงจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > <
เรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จานวน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
แสดงการบวกและประโยคสญั ลักษณ์แสดงการลบของจานวนนับไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์
ปญั หาการบวกและโจทยป์ ัญหาการลบของจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐
ระบจุ านวนทหี่ ายไปในแบบรปู ของจานวนทเ่ี พ่มิ ข้นึ หรอื ลดลงทีละ ๑ และทลี ะ ๑๐ และระบรุ ูปท่หี ายไป
ในแบบรปู ซ้าของรูปเรขาคณติ และรูปอน่ื ๆ ที่สมาชิกในแตล่ ะชุดทซี่ ้ามี ๒ รปู
วัดและเปรียบเทียบความยาวเปน็ เซนติเมตร เป็นเมตร วัดและเปรียบเทยี บน้าหนกั เปน็ กิโลกรัม เปน็ ขีด
และใชห้ นว่ ยทไี่ ม่ใชห่ นว่ ยมาตรฐาน
จาแนกรูปสามเหล่ยี ม รปู ส่เี หลย่ี ม วงกลม วงรี ทรงสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย
ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เมื่อกาหนดรปู ๑ รปู แทน ๑ หน่วย
มาตรฐานตัวชี้วัด/
ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวม ๕ มาตรฐาน ๑๐ ตัวชว้ี ัด
๒๔
ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
บอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสง่ิ ต่าง ๆ ตามจานวนทกี่ าหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย
ตัวหนงั สือแสดงจานวนนับไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทยี บจานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้เคร่ืองหมาย
= ≠ > < เรียงลาดบั จานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จานวนจากสถานการณ์ตา่ ง ๆ หาค่าของตัว
ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐
และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวนไม่เกิน ๒ หลัก
หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารทีต่ ัวตงั้ ไมเ่ กนิ ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี ๑ หลัก
ท้ังหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวธิ ี
หาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขนั้ ตอน ของจานวนนับไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐
แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ียวกับเวลาท่มี หี นว่ ยเดี่ยวและเปน็ หนว่ ยเดียวกัน วัดและเปรยี บเทียบ
ความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร พร้อมทง้ั แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบเกีย่ วกับความยาว
ที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมท้ัง
แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบเกีย่ วกบั นา้ หนักท่ีมีหนว่ ยเป็นกโิ ลกรัมและกรมั กิโลกรมั และขดี
วัดและเปรยี บเทียบปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ลติ ร
จาแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลยี่ มและวงกลม
ใชข้ อ้ มลู จากแผนภมู ิรปู ภาพในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาเมอื่ กาหนดรูป ๑ รูป แทน ๒ หนว่ ย ๕ หนว่ ย
หรอื ๑๐ หนว่ ย
มาตรฐานตวั ช้ีวดั /
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒๒/, ป.๒๓/, ป.๒๔/, ป.๒๕/, ป.๒๖/, ป.๒๗/, ป.๒๘/
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒๒/, ป.๒๓/, ป.๒๔/, ป.๒๕/, ป.๒๖/
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวม ๔ มาตรฐาน ๑๖ ตัวชีว้ ัด
๒๕
ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
คาอธิบายรายวิชา
อ่านและเขยี น ตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนงั สือ แสดงจานวนนับไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
เปรียบเทยี บและเรียงลาดับจานวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณต์ า่ ง ๆ บอก อา่ น และเขียนเศษส่วน
ท่ีแสดงปริมาณสิง่ ต่าง ๆ และแสดงสงิ่ ต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกาหนด เปรียบเทียบเศษสว่ นทต่ี ัวเศษเท่ากัน โดยท่ีตัวเศษ
น้อยกว่าหรอื เท่ากบั ตัวส่วน หาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบของจานวนนับ
ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวน
ไม่เกนิ ๔ หลกั และจานวน ๒ หลักกับจานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหาร
ท่ีตวั ตัง้ ไม่เกนิ ๔ หลกั ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคน และแสดงวธิ กี ารหาคาตอบของ
โจทยป์ ัญหา ๒ ขั้นตอน ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
การบวกของเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมท้ังแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์
ปัญหาการลบของเสษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน
ระบุจานวนท่ีหายไปในแบบรูปของจานวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทีละเท่า ๆ กนั
แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงนิ เวลา และระยะเวลา เลอื กใช้เคร่ืองมือความยาวท่ีเหมาะสม
วัดและบอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตร
และเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวระหว่างเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร
จากสถานการณ์ต่าง ๆ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาเกี่ยวกับความยาวทีม่ ีหนว่ ยเปน็ เซนติเมตรและมิลลิเมตร
เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด
กโิ ลกรมั และกรมั คาดคะเนนา้ หนักเป็นกโิ ลกรมั และเปน็ ขีด เปรยี บเทียบน้าหนักและแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์
ปัญหาเกย่ี วกับน้าหนักทม่ี หี นว่ ยเปน็ กโิ ลกรัมกับกรมั เมตรกิ ตันกับกโิ ลกรมั จากสถานการณต์ ่าง ๆ เลอื กใช้เครื่องตวง
ที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตรความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร
และแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาเกยี่ วกบั ปรมิ าตรและความจุที่มหี นว่ ยเป็นลิตรและมลิ ลเิ มตร
ระบรุ ปู เรขาคณติ สองมิติทมี่ ีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร
เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ขอ้ มลู จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา เขียนตาราง
ทางเดียวจากข้อมูลทเี่ ป็นจานวนนับ และใชข้ ้อมลู จากตารางทางเดยี วในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา
๒๖
มาตรฐานตัวชี้วดั /
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐,
ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐,
,ป.๓/๑๑,ป.๓/๑๒,ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๘ ตัวชว้ี ัด
๒๗
ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐
เปรียบเทยี บและเรียงลาดับจานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณต์ ่าง ๆ บอก อา่ น และเขียนเศษส่วน
จานวนคละแสดงปริมาณสงิ่ ตา่ ง ๆ และแสดงส่งิ ต่าง ๆ ตามเศษส่วน จานวนคละที่กาหนด เปรยี บเทยี บ เรยี งลาดับ
เศษส่วนและจานวนคละท่ีตัวส่วนตัวหน่ึงเป็นพหุคูณของอีกตัวหน่ึง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง
แสดงปริมาณของส่ิงต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามทศนิยมท่ีกาหนด เปรียบเทียบและเรียงลาดับทศนิยมไมเ่ กิน
๓ ตาแหน่งจากสถานการณ์ต่าง ๆ ประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ
อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบของจานวนนับที่มากกว่า
๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก ๒ จานวน
ท่ีมีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หาผลลัพธ์
การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจานวนนบั และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา ๒ ข้ันตอนของจานวนนับ
ทีม่ ากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สรา้ งโจทยป์ ัญหา ๒ ขนั้ ตอนของจานวนนบั และ ๐ พร้อมทงั้ หาคาตอบ หาผลบวก
ผลลบของเศษสว่ นและจานวนคละที่ตวั ส่วนตัวหนึง่ เป็นพหุคูณของอีกตัวหน่งึ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
การบวกและการลบเศษส่วนและจานวนคละท่ีตวั ส่วนตัวหนงึ่ เปน็ พหุคูณของอกี ตัวหน่ึง หาผลบวก ผลลบของทศนิยม
ไม่เกนิ ๓ ตาแหนง่ และแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบ ๒ ขั้นตอนของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง
แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกย่ี วกับเวลา วัดและสร้างมมุ โดยใชโ้ พรแทรกเตอร์ แสดงวิธหี าคาตอบ
ของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จาแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม
ส่วนประกอบของมุมและเขยี นสญั ลักษณ์แสดงมุม สร้างรปู สี่เหล่ียมมุมฉากเมอื่ กาหนดความยาวของดา้ น
ใช้ข้อมูลจากแผนภมู ิแท่ง ตารางสองทางในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา
มาตรฐานตวั ช้ีวัด/
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐,
ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวม ๔ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชีว้ ัด
๒๘
ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
เขียนเศษส่วนท่ีมตี ัวส่วนเปน็ ตวั ประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรอื ๑,๐๐๐ ในรูปทศนยิ ม แสดงวิธีหาคาตอบ
ของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจานวนคละ แสดงวิธี
หาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ข้ันตอน หาผลคูณของทศนิยมที่ผลคูณ
เป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง หาผลหารท่ีตัวต้ังเป็นจานวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และตัวหารเป็น
จานวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ
การหารทศนิยม ๒ ขนั้ ตอน และแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาร้อยละไมเ่ กิน ๒ ขนั้ ตอน
แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาว น้าหนกั ท่มี ีการเปล่ยี นหน่วยและเขยี นในรูปทศนิยม
แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงส่ีเหลี่ยม
มุมฉาก แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
ดา้ นขนานและรูปส่ีเหลี่ยมขนมเปียกปนู สรา้ งเส้นตรงหรือสว่ นของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือสว่ นของเส้นตรง
ท่ีกาหนดให้ จาแนกรูปสี่เหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัตขิ องรปู สร้างรูปส่ีเหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เม่ือกาหนดความยาว
ของด้านและขนาดของมมุ หรอื เม่อื กาหนดความยาวของเสน้ ทแยงมมุ และบอกลักษณะของปริซมึ
ใชข้ ้อมลู จากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนแผนภูมิแทง่ จากข้อมูลที่เป็นจานวนนบั
มาตรฐานตวั ชี้วัด/
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๔ มาตรฐาน ๑๙ ตัวชี้วัด
๒๙
ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง
คาอธิบายรายวชิ า
เปรียบเทยี บ เรยี งลาดบั เศษสว่ นและจานวนคละ จากสถานการณต์ ่าง ๆ เขยี นอตั ราสว่ นแสดงการเปรียบเทียบ
ปรมิ าณ ๒ ปรมิ าณจากขอ้ ความหรอื สถานการณ์ โดยที่ปริมาณแตล่ ะปริมาณเป็นจานวนนับ หาอตั ราสว่ นที่เท่ากับ
อัตราส่วนทีก่ าหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น.ของจานนับไม่เกิน ๓ จานวน แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาโดย
ใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจานวนคละ
แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจานวนคละ ๒-๓ ข้ันตอน หาผลหารของทศนิยมท่ตี ัวหารและผลหาร
เปน็ ทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ๓ ขน้ั ตอน
แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละ ๒-๓ ขน้ั ตอน และแสดง
วธิ คี ดิ และหาคาตอบของปญั หาเกยี่ วกับแบบรปู
แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาเกย่ี วกับปริมาตรของรปู เรขาคณติ สามมติ ิที่ประกอบด้วยทรงสเ่ี หลี่ยม
มมุ ฉาก แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลย่ี ม และความยาว
รอบรูปและพ้นื ท่ีของวงกลม จาแนกรูปสามเหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัติของรปู สรา้ งรูปสามเหลี่ยมเม่ือกาหนด
ความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติ
ท่ีประกอบจากรปู คลี่ และระบุรูปคล่ีของรูปเรขาคณติ สามมิติ
ใชข้ ้อมลู จากแผนภมู ริ ูปวงกลมในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา
มาตรฐานตวั ชี้วัด/
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐,
ป.๖/๑๑
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๐ ตัวชี้วัด
๓๐
คาอธิบายรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
๓๑
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ระบุช่ือพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆ จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ บอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับ
การดารงชวี ติ ของสตั ว์ในบริเวณท่ีอาศยั อยู่ ระบชุ ่ือ บรรยายลกั ษณะและบอกหนา้ ทขี่ องส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายมนุษย์
สตั ว์ และพชื รวมท้ังบรรยายการทาหน้าที่รว่ มกันของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายมนษุ ยใ์ นการทากิจกรรมต่าง ๆ จากข้อมูล
ท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึงความสาคัญของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่าง ๆ อย่างถูกต้อง
ให้ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ
อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทาวัตถุซึ่งทาจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติที่สังเกตได้ บรรยายการเกิดเสียงและทิศทาง
การเคล่อื นที่ของเสยี งจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์
ระบุดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวนั และกลางคืนจากข้อมูลที่รวบรวมได้ อธิบายสาเหตุท่ีมองไม่เหน็
ดวงดาวสว่ นใหญ่ในเวลากลางวนั จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ อธิบายลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะเฉพาะตัว
ทีส่ งั เกตได้
แกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใชก้ ารลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ แสดงลาดบั ขน้ั ตอนการทางานหรือการแก้ปญั หา
อย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ ใช้เทคโนโลยี
ในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลง
ในการใชค้ อมพิวเตอร์ร่วมกนั ดแู ลรักษาอุปกรณเ์ บอื้ งต้น ใชง้ านอย่างเหมาะสม
มาตรฐานตัวช้ีวดั /
ว ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
รวม ๗ มาตรฐาน ๑๕ ตวั ช้วี ัด
๓๒
คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ระบุว่าพืชต้องการแสงและนา้ เพื่อการเจรญิ เติบโต โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักถึง
ความจาเป็นท่ีพืชต้องการได้รับน้าและแสงเพ่ือการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รับส่ิงดังกล่าวอย่างเหมาะสม
สร้างแบบจาลองท่ีบรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เปรียบเทียบลักษณะสิ่งมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตจากข้อมูลท่ีรวบรวม
ได้
เปรียบเทียบสมบตั กิ ารดดู ซับน้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ และระบุการนาสมบัตกิ ารดดู ซับน้า
ของวสั ดุไปประยกุ ต์ใช้ในการทาวัตถุในชวี ิตประจาวัน อธิบายสมบัตทิ ี่สงั เกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนาวัสดุมาผสมกัน
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เปรยี บเทียบสมบัติที่สังเกตได้ของวสั ดุ เพอื่ นามาทาเป็นวัตถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์
และอธิบายการนาวัสดุท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักถึงประโยชนข์ องการนาวสั ดทุ ี่
ใชแ้ ลว้ กลับมาใชใ้ หม่ โดยการนาวัสดทุ ใ่ี ชแ้ ล้วกลับมาใช้ใหม่
บรรยายแนวการเคลอื่ นที่ของแสงจากแหลง่ กาเนิดแสง และอธิบายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์
ตระหนกั ในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเหน็ โดยเสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั อนั ตรายจากการมองเห็น
วัตถุในที่มีแสงสวา่ งไมเ่ หมาะสม
ระบุส่วนประกอบของดิน และจาแนกชนิดของดินโดยใช้ลักษณะเนื้อดินและการจับตัวเป็นเกณฑ์
อธบิ ายการใช้ประโยชน์จากดนิ จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้
แสดงลาดับขั้นตอนการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ
เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง
จัดหมวดหมู่ ค้นหา จัดเกบ็ เรยี กใชข้ ้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ปฏิบตั ิตามข้อตกลง
ในการใช้คอมพิวเตอรร์ ว่ มกัน ดูแลรกั ษาอุปกรณเ์ บอื้ งตน้ ใชง้ านอย่างเหมาะสม
มาตรฐานตวั ช้ีวดั /
ว ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
รวม ๖ มาตรฐาน ๑๖ ตัวช้ีวัด
๓๓
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง
คาอธิบายรายวชิ า
บรรยายสิ่งท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษย์และสัตวโ์ ดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้
ตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร น้า และอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับสิ่งเหล่านี้อย่างเหมาะสม
สร้างแบบจาลองท่ีบรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์และเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนดิ ตระหนักถึงคุณค่า
ของชวี ิตสตั วโ์ ดยไม่ทาให้วัฏจกั รชวี ติ ของสัตว์เปลย่ี นแปลง
อธิบายว่าวัตถุประกอบข้ึนจากชิ้นส่วนย่อย ๆ ซ่ึงสามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกันเป็นวัตถุ
ชิ้นใหม่ได้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายการเปล่ียนแปลงของวัสดุเม่ือทาให้ร้อนข้ึนหรือทาให้เย็นลงโดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์
เปรยี บเทยี บและยกตวั อย่างแรงสมั ผัสและแรงไม่สัมผัสทมี่ ีผลต่อการเคล่ือนท่ีของวัตถุโดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
จาแนกวัตถุโดยใช้การดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุข้ัวแม่เหล็กและพยากรณ์ผลที่
เกิดข้นึ ระหว่างข้ัวแม่เหลก็ เม่ือนามาเข้าใกลก้ ันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ยกตวั อย่างการเปลี่ยนพลังงานหน่งึ ไปเป็น
อีกพลงั งานหน่ึงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ บรรยายการทางานของเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้าและระบุแหลง่ พลงั งานใน
การผลิตไฟฟ้าจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ตระหนักในประโยชน์และโทษของไฟฟา้ โดยนาเสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่าง
ประหยัด และปลอดภัย
อธิบายแบบรปู เส้นทางการข้ึนและตกของดวงอาทติ ย์โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ อธิบายสาเหตุการเกิด
ปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน และการกาหนดทิศโดยใช้แบบจาลอง
ตระหนักถึงความสาคัญของดวงอาทิตย์ โดยบรรยายประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวติ ระบุส่วนประกอบของ
อากาศ บรรยายความสาคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิตจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้
ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของอากาศ โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบตั ิตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ อธบิ าย
การเกดิ ลมจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ บรรยายประโยชน์และโทษของลมจากข้อมูลท่รี วบรวมได้
แสดงอลั กอรทิ มึ ในการทางานหรอื การแกป้ ัญหาอยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขยี นโปรแกรม
อย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม
ประมวลผล และนาเสนอขอ้ มูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ตามวตั ถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏบิ ัติ
ตามข้อตกลงในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต
๓๔
มาตรฐานตัวช้ีวัด/
ว ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕
รวม ๗ มาตรฐาน ๒๕ ตวั ชวี้ ัด
๓๕
คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง
คาอธิบายรายวชิ า
บรรยายหน้าที่ของราก ลาต้น ใบ และดอกของพืชดอกโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้
ความเหมือน และความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์
จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ จาแนกสัตว์
ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ี
รวบรวมได้ บรรยายลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
กลมุ่ สัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยน้านม และยกตัวอยา่ งส่ิงมีชีวิตในแต่ละกลุม่
เปรยี บเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยดื หยุ่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุ
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษจ์ ากการทดลองและระบุการนาสมบัติเร่ืองความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน
และการนาไฟฟา้ ของวัสดไุ ปใชใ้ นชวี ิตประจาวันผา่ นกระบวนการออกแบบชิ้นงาน แลกเปลี่ยนความคดิ กับผู้อื่น
โดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุอย่างมีเหตุผลจากการทดลอง เปรียบเทียบสมบัติของสสาร
ทง้ั ๓ สถานะ จากข้อมลู ท่ไี ด้จากการสงั เกตมวล การต้องการทอ่ี ยู่ รูปร่างและปรมิ าตรของสสาร ใช้เครอื่ งมอื เพือ่ วัดมวล
และปริมาตรของสสารท้ัง ๓ สถานะ ระบผุ ลของแรงโน้มถว่ งทมี่ ตี อ่ วัตถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ใช้เคร่อื งชง่ั สปรงิ
ในการวัดน้าหนักของวัตถุ บรรยายมวลของวัตถุท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีของวตั ถุจากหลักฐานเชงิ
ประจักษ์ จาแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง จากลักษณะการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ
ผ่านวัตถนุ น้ั เปน็ เกณฑ์โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
อธิบายแบบรปู เสน้ ทางการขึ้นและตกของดวงจนั ทร์ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ สร้างแบบจาลองท่อี ธบิ าย
แบบรูป การเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ สร้างแบบจาลอง
แสดงองคป์ ระกอบของระบบสุริยะ และอธบิ ายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะหต์ ่าง ๆ จากแบบจาลอง
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย
ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแกไ้ ข ใช้อินเทอร์เน็ต
ค้นหาความรู้ และประเมินความนา่ เชือ่ ถือของข้อมูล รวบรวม ประเมนิ นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์
ที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน
เคารพในสทิ ธิของผูอ้ น่ื แจง้ ผู้เกี่ยวขอ้ งเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลทไ่ี ม่เหมาะสม
๓๖
มาตรฐานตัวชี้วดั /
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ว ๒ ๓. ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวม ๗ มาตรฐาน ๒๑ ตัวช้วี ัด
๓๗
คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
บรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับการดารงชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจากการปรับตัว
ของส่งิ มีชีวิตในแตล่ ะแหล่งท่ีอยู่ อธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชวี ิตกบั ส่งิ มชี วี ติ และความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่ิงมีชวี ิต
กับสงิ่ ไม่มีชีวติ เพอื่ ประโยชน์ตอ่ การดารงชีวิต เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหนา้ ท่ีของสิง่ มีชวี ิตที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภค
ในโซ่อาหาร ตระหนักในคุณค่าของส่ิงแวดล้อมที่มีต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต โดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา
ส่ิงแวดลอ้ ม อธิบายลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สูล่ ูกของพชื สตั ว์ และมนุษย์ แสดงความอยากรู้
อยากเหน็ โดยการถามคาถามเกยี่ วกบั ลักษณะทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั ของตนเองกบั พอ่ แม่
อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เม่ือทาให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
อธิบายการละลายของสารในนา้ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกดิ การเปลี่ยนแปลง
ทางเคมีโดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ วิเคราะหแ์ ละระบกุ ารเปล่ยี นแปลงทผี่ ันกลบั ไดแ้ ละการเปลยี่ นแปลงท่ีผันกลับ
ไมไ่ ด้ อธบิ ายวิธกี ารหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกนั ท่ีกระทาต่อวัตถุในกรณที ่ีวัตถุอยู่นิ่งจากหลักฐาน
เชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทาต่อวัตถุท่ีอยใู่ นแนวเดียวกันและแรงลัพธท์ ี่กระทาต่อวัตถุ ใช้เคร่ืองชัง่
สปรงิ ในการวัดแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ระบผุ ลของแรงเสียดทานทีม่ ีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลอ่ื นท่ีของวัตถุจากหลักฐาน
เชิงประจักษ์ เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงท่ีอย่ใู นแนวเดยี วกันท่กี ระทาต่อวัตถุ อธบิ ายการไดย้ ินเสยี ง
ผ่านตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่า
ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสยี งคอ่ ย วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับเสียง
ตระหนักในคณุ คา่ ของความรู้เร่อื งระดบั เสียงโดยเสนอแนะแนวทางในการหลกี เลีย่ งและลดมลพษิ ทางเสยี ง
เปรยี บเทยี บความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจาลอง ใชแ้ ผนท่ีดาวระบุตาแหน่งและ
เส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบายแบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์
บนทอ้ งฟ้าในรอบปี เปรยี บเทียบปริมาณนา้ ในแต่ละแหลง่ และระบุปริมาณน้าที่มนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึงคุณค่าของนา้ โดยนาเสนอแนวทางการใช้นา้ อย่างประหยัดและการอนุรักษน์ า้
สร้างแบบจาลองที่อธิบายการหมุนเวยี นของน้าในวัฏจักรน้า เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง
และน้าค้างแข็งจากแบบจาลอง เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หมิ ะ และลกู เห็บจากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้
ใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปญั หา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปญั หาอยา่ งง่าย
ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมท่ีมกี ารใช้เหตุผลเชิงตรรกะอยา่ งง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใชอ้ ินเทอร์เน็ต
ค้นหาข้อมูล ติดต่อส่ือสารและทางานร่วมกนั ประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือของข้อมูล รวบรวม ประเมนิ นาเสนอข้อมูล
และสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอนิ เทอร์เน็ตที่หลากหลาย เพ่ือแก้ปัญหาในชวี ติ
ประจาวนั ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มมี ารยาท เขา้ ใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธขิ องผู้อื่น
แจง้ ผเู้ กย่ี วข้องเมอื่ พบข้อมูลหรือบุคคลทีไ่ มเ่ หมาะสม
๓๘
มาตรฐานตัวชี้วดั /
ว ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตวั ช้วี ัด
๓๙
คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารท่ีตนเองรับประทาน บอกแนวทาง
ในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วน ในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย รวมทง้ั ความปลอดภัย
ตอ่ สุขภาพ ตระหนักถงึ ความสาคัญของสารอาหาร โดยการเลอื กรบั ประทานอาหารทม่ี ีสารอาหารครบถว้ นในสัดส่วน
ท่เี หมาะสมกับเพศและวัย รวมทง้ั ปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ สรา้ งแบบจาลองระบบย่อยอาหาร และบรรยายหน้าทีข่ องอวัยวะ
ในระบบย่อยอาหาร รวมท้ังอธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร ตระหนักถึงความสาคัญของระบบ
ย่อยอาหาร โดยการบอกแนวทางในการดแู ลรกั ษาอวยั วะในระบบยอ่ ยอาหารใหท้ างานเปน็ ปกติ
อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก
การกรอง และการตกตะกอนโดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ รวมทัง้ ระบวุ ิธีแกป้ ญั หาในชีวติ ประจาวันเกย่ี วกับการแยกสาร
อธิบายการเกดิ และผลของแรงไฟฟา้ ซง่ึ เกิดจากวัตถุที่ผ่านการขัดถูโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุส่วนประกอบ
และบรรยายหน้าท่ีของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพและ
ต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายวธิ กี ารและผลของการต่อ
เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยบอกประโยชน์
และการประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจาวัน ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายการต่อ
หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความรขู้ องการตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและ
แบบขนาน โดยบอกประโยชน์ ข้อจากัด และการประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการเกิดเงามดื เงามัว
สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิด และเปรียบเทียบปรากฏการณ์สุริยปุ ราคาและจันทรุปราคา อธิบาย
พฒั นาการของเทคโนโลยีอวกาศ และยกตัวอย่างการนาเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันจากข้อมูล
ทรี่ วบรวมได้ เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดหนิ อัคนี หนิ ตะกอน และหนิ แปร และอธบิ ายวัฏจักรหนิ จากแบบจาลอง
บรรยายและยกตัวอย่างการใช้ประโยชนข์ องหนิ และแร่ในชีวิตประจาวันจากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ สร้างแบบจาลอง
ท่ีอธิบายการเกดิ ซากดึกดาบรรพแ์ ละคาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดีตของซากดกึ ดาบรรพ์ เปรียบเทยี บการเกิดลมบก
ลมทะเล และมรสมุ รวมท้งั อธบิ ายผลท่มี ีตอ่ ส่งิ มีชีวติ และส่ิงแวดล้อม จากแบบจาลอง อธบิ ายผลของมรสมุ ต่อการเกิดฤดู
ของประเทศไทยจากข้อมลู ที่รวบรวมได้ บรรยายลักษณะและผลกระทบของนา้ ท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม
แผน่ ดนิ ไหว สึนามิ ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของภัยธรรมชาตแิ ละธรณพี ิบัตภิ ัย โดยนาเสนอแนวทางในการเฝ้าระวัง
และปฏิบตั ิตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณพี ิบตั ิภยั ท่ีอาจเกดิ ในท้องถ่ิน สร้างแบบจาลองท่ีอธบิ ายการเกิด
ปรากฏการณเ์ รือนกระจก และผลของปรากฏการณ์เรือนกระจกตอ่ สิ่งมีชีวิต ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของปรากฏการณ์
เรอื นกระจก โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัตติ นเพ่อื ลดกิจกรรมทีก่ อ่ ให้เกดิ แก๊สเรือนกระจก
๔๐
ใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวธิ กี ารแก้ปญั หาทพี่ บในชวี ิตประจาวนั ออกแบบและเขียน
โปรแกรมอย่างง่าย เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ต
ในการคน้ หาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกนั อย่างปลอดภัย เขา้ ใจสิทธิและหน้าที่
ของตน เคารพในสิทธิของผอู้ นื่ แจง้ ผ้เู ก่ยี วข้องเม่ือพบขอ้ มูลหรอื บคุ คลทไ่ี ม่เหมาะสม
มาตรฐานตัวช้ีวัด/
ว ๑.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๕ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖๒/
ว ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๕ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒, ป.๖/๓ , ป.๖/๔
รวม ๗ มาตรฐาน ๓๐ ตัวชว้ี ัด
๔๑
คาอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
๔๒
คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษาฯ
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง
คาอธิบายรายวชิ า
บอกพุทธประวตั ิ หรอื ประวัตขิ องศาสดาทต่ี นนบั ถอื โดยสงั เขป ช่ืนชมและบอกแบบอยา่ งการดาเนินชีวิต
และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด บอกความหมาย ความสาคัญ
และเคารพพระรตั นตรัย ปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรอื หลกั ธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติท่ีเป็นพ้ืนฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจติ
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถือตามท่ีกาหนด บาเพ็ญประโยชนต์ ่อวัดหรือศาสนสถานของศาสนาท่ีตนนบั ถอื
แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม
และวันสาคัญทางศาสนาตามที่กาหนดได้ถูกต้อง
ระบุสินคา้ และบรกิ ารทใ่ี ชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวัน ยกตัวอยา่ งการใช้จ่ายเงินในชีวิตประจาวนั ท่ีไม่เกนิ ตวั
และเห็นประโยชน์ของการออม ยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากรในชีวิตประจาวันอย่างประหยัด อธิบายเหตุผล
ความจาเป็นทคี่ นตอ้ งทางานอยา่ งสุจรติ
จาแนกสงิ่ แวดลอ้ มรอบตัวท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างข้ึน ระบุความสัมพันธ์ของตาแหน่ง
ระยะ ทิศของส่ิงต่าง ๆ ใช้แผนผังแสดงตาแหน่งของส่ิงต่าง ๆ ในห้องเรียน สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพอากาศในรอบวัน บอกสิง่ แวดล้อมทเ่ี กิดตามธรรมชาติท่ีส่งผลต่อความเปน็ อยูข่ องมนษุ ย์ สังเกตและเปรียบเทียบ
การเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดล้อมเพ่ือการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม มีส่วนร่วมในการดูแลส่ิงแวดล้อมท่ีบ้านและ
ห้องเรยี น
มาตรฐานตัวชี้วัด/
ส ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔
ส ๕.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
รวม ๖ มาตรฐาน ๑๘ ตัวช้ีวัด
๔๓
คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ส๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษาฯ
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
บอกความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึง
การออกผนวช หรือประวัติศาสดาท่ีตนนับถือตามท่ีกาหนด ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิด
จากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด บอกความหมาย ความสาคัญ และเคารพ
พระรัตนตรยั ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถือตามทกี่ าหนด
ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียนตามหลักศาสนา เห็นคุณค่าและสวดมนต์
แผ่เมตตา มีสติท่ีเป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพทุ ธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถอื
ตามท่ีกาหนด บอกช่ือศาสนา ศาสดา และความสาคัญของคัมภรี ์ของศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนาอ่ืน ๆ ปฏิบัติตน
อยา่ งเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาท่ตี นนบั ถือ ตามทีก่ าหนดได้ถูกตอ้ ง ปฏบิ ัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวนั สาคัญ
ทางศาสนา ตามที่กาหนดได้ถูกตอ้ ง
ระบุทรัพยากรที่นามาผลิตสินค้าและบรกิ ารที่ใช้ในชีวิตประจาวนั บอกท่ีมาของรายได้และรายจ่ายของ
ตนเองและครอบครัว บนั ทึกรายรบั รายจา่ ยของตนเอง สรุปผลดขี องการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายไดแ้ ละการออม
อธิบายการแลกเปล่ียนสินคา้ และบรกิ ารโดยวธิ ตี ่าง ๆ บอกความสัมพันธ์ระหวา่ งผซู้ ื้อและผูข้ าย
ระบุสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น ซ่ึงปรากฏระหว่างบ้านกับโรงเรียน ระบุตาแหน่ง
และลักษณะทางกายภาพของสิง่ ต่าง ๆ ที่ปรากฏในแผนผงั แผนที่ รปู ถ่าย และลูกโลก สังเกตและแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างโลก ดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจันทร์ ทีท่ าใหเ้ กดิ ปรากฏการณ์ อธิบายความสาคัญของสงิ่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ
และที่มนษุ ยส์ ร้างขน้ึ จาแนกและใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ ท่ีใช้แล้วไม่หมดไป ที่ใช้แล้วหมดไป และสรา้ งทดแทนข้ึนใหม่
ไดอ้ ยา่ งคุม้ คา่ อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งฤดูกาลกับการดาเนนิ ชีวิตของมนุษย์ มสี ว่ นร่วมในการจัดการส่ิงแวดล้อม
ในโรงเรียน
มาตรฐานตวั ชี้วดั /
ส ๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔ , ป.๒/๖ , ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้ีวัด
๔๔
คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ส๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาฯ
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
อธิบายความสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็นรากฐานสาคญั ของวัฒนธรรมไทย
สรุปพทุ ธประวัตติ งั้ แตก่ ารบาเพญ็ เพียรจนถงึ ปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถอื ตามทก่ี าหนด ชน่ื ชมและ
บอกแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด
บอกความหมาย ความสาคัญของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาท่ีตนนับถือ แสดงความเคารพพระรัตนตรยั
และปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลกั ธรรมของศาสนาทีต่ นนบั ถือตามที่กาหนด เหน็ คณุ ค่า
และสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสตทิ ี่เปน็ พน้ื ฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา
ที่ตนนับถือตามที่กาหนด บอกชื่อ ความสาคัญและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถาน
และศาสนบุคคลของศาสนาอืน่ ๆ ปฏิบตั ติ นอยา่ งเหมาะสมตอ่ สาวก ศาสนสถาน ศาสนวตั ถขุ องศาสนาทตี่ นนับถือ
ตามท่ีกาหนดได้ถูกต้อง เห็นคุณค่า และปฏิบัติตนในศาสนพิธีพิธีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา ตามที่กาหนด
ได้ถูกตอ้ ง แสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ หรอื แสดงตนเปน็ ศาสนิกชนของศาสนาท่ีตนนับถอื
จาแนกความต้องการและความจาเป็นในการใช้สินค้าและบริการในการดารงชีวิต วิเคราะห์การใช้จ่าย
ของตนเอง อธบิ ายได้ว่าทรพั ยากรทม่ี ีอยจู่ ากัดมีผลต่อการผลิตและบรโิ ภคสนิ ค้าและบรกิ าร บอกสินค้าและบริการ
ทีร่ ัฐจดั หาและให้บรกิ ารแก่ประชาชน บอกความสาคัญของภาษีและบทบาทของประชาชนในการเสยี ภาษี อธบิ าย
เหตุผลการแขง่ ขนั ทางการค้า ทมี่ ีผลทาใหร้ าคาสนิ ค้าลดลง
สารวจขอ้ มูลทางภูมิศาสตร์ในโรงเรยี นและชมุ ชนโดยใชแ้ ผนผงั แผนที่ และรูปถา่ ย เพอ่ื แสดงความสัมพันธ์
ของตาแหน่ง ระยะ ทิศทาง วาดแผนผังเพ่ือแสดงตาแหน่งท่ีตั้งของสถานที่สาคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดล้อมของชุมชนในอดีตกับปัจจุบัน อธิบายการใช้ประโยชน์จากส่ิงแวดล้อม
และทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความต้องการพนื้ ฐานของมนุษย์ และการประกอบอาชีพ อธิบายสาเหตุที่ทาให้
เกิดมลพิษโดยมนุษย์ อธิบายความแตกต่างของลักษณะเมืองและชนบท อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ
ทางกายภาพกบั การดาเนนิ ชีวิตของคนในชุมชน มีส่วนร่วมในการจดั การสิง่ แวดลอ้ มในชุมชน
มาตรฐานตัวช้ีวดั /
ส ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗
ส ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ส ๕.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๖
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๔ ตวั ชีว้ ัด
๔๕
คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษาฯ
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง
คาอธิบายรายวชิ า
อธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถอื ในฐานะเป็นศนู ย์รวมจติ ใจของศาสนิกชน
สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด เห็นคุณค่า
และปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง
ตามท่ีกาหนด แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถือตามท่ีกาหนด ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรยี น
และชุมชนตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิต เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติ
ท่ีเป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์ อธิบายประวัติ
ศาสดาของศาสนาอ่นื ๆ โดยสงั เขป อภิปรายความสาคญั และมสี ่วนร่วมในการบารงุ รักษาศาสนสถานของศาสนา
ที่ตนนับถือ มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนท่ีดี ตามที่กาหนด ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมและวันสาคัญ
ทางศาสนา ตามทีก่ าหนดไดถ้ กู ต้อง
ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการ บอกสิทธิพื้นฐานและรักษาผลประโยชน์ของตนเอง
ในฐานะผ้บู รโิ ภค อธิบายหลักการของเศรษฐกจิ พอเพียงและนาไปใช้ในชวี ิตประจาวันของตนเอง อธบิ ายความสัมพันธ์
ทางเศรษฐกจิ ของคนในชุมชน อธิบายหน้าทเ่ี บ้อื งตน้ ของเงิน
สืบคน้ และอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพในจงั หวัดของตน ดว้ ยแผนท่แี ละรูปถ่าย ระบุแหลง่ ทรัพยากร
และสถานท่ีสาคญั ในจังหวัดของตนด้วยแผนท่แี ละรูปถา่ ย อธิบายลักษณะทางกายภาพท่ีสง่ ผลต่อแหลง่ ทรัพยากร
และสถานทสี่ าคญั ในจงั หวัด วิเคราะห์ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพท่ีสง่ ผลต่อการดาเนินชวี ิตของคนในจงั หวัด อธบิ าย
การเปล่ยี นแปลงส่งิ แวดลอ้ มในจังหวัด และผลทเี่ กดิ จากการเปล่ียนแปลง นาเสนอแนวทางการจัดการส่งิ แวดล้อม
ในจงั หวัด
มาตรฐานตวั ชี้วัด/
ส ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ , ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ส ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ส ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๕.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้ีวัด