45
4.1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ให้สถานศึกษารายงาน
ผลสัมฤทธ์ิในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านคุณธรรม
จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
อาชีวศกึ ษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธ์ิ
ประเด็นที่ 1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์
1.3.1 การดแู ลและแนะแนวผู้เรียน
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียน 234 กลุ่มมีครูที่ปรึกษาได้รับการแต่งต้ังให้ทาหน้าท่ีดูแล แนะนา
แนวทางปฏิบตั ิท่เี หมาะสม
2. ครูท่ีปรึกษาได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าท่ี จัดกิจกรรมพบครูที่ปรึกษา
(Homeroom) ดังนี้ ภาคเรียนที่ 1/2564 จานวน 9 คร้ัง ภาคเรียนท่ี 2/2564
จานวน 9 คร้ัง
3. สถานศึกษาจัดโครงการ/กจิ กรรม เพอื่ ดูแลให้ผ้เู รยี นสามารถสาเร็จการศึกษา
ตามระยะเวลาท่ีหลักสูตรกาหนดจานวน 3 โครงการ/กิจกรรม 4. ผู้สาเร็จ
การศกึ ษา 2564 จานวน 615 คน (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 27 เมษายน 2565)
เชิงคณุ ภาพ 1. ครูท่ีปรึกษา ทาหน้าที่ดูแลนักเรียน นักศึกษา ให้คาแนะนาและแนวทาง
ปฏิบัติท่ีเหมาะสมแกน่ ักเรียน นกั ศึกษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ มีผลประเมินความ
พึงพอใจการปฏิบัตหิ น้าท่คี รูท่ปี รึกษา อย่รู ะดับ ดีมาก
2. ผู้สาเร็จการศึกษาเทียบกับจานวนแรกเข้าคิดเป็นร้อยละ 38.53 (ข้อมูล ณ
วนั ท่ี 27 เมษายน 2565)
ผลสะท้อน ผู้ปกครองนักเรียน นักศึกษา มีความพอใจ ยอมรับในการดูแลแนะแนวผู้เรียน
อย่ใู นระดับ ปานกลาง
1.3.2 ผู้เรียนมีคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
เชิงปรมิ าณ สมาชกิ เข้าร่วมโครงการ
เชงิ คุณภาพ 1. สถานศึกษามีการดาเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรม การปลูกฝังจิตสานกึ ด้าน
การรักชาติเทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ และทะนุบารงุ ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม
2. สถานศึกษามีการดาเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม การปลูกฝงั จิตสานึกด้าน
การอนุรกั ษส์ งิ่ แวดล้อม
3. สถานศึกษามีการดาเนินงานตามโครงการ/กจิ กรรม ด้านกฬี าและนันทนาการ
4. สถานศึกษามีการดาเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม การปลูกฝังจิตสานึก
ด้านปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลสะท้อน 1. นักเรียน นักศึกษาแสดงการเทิดพระเกียรติและช่วยกันปกป้องรักษาสถาบัน
พระมหากษัตริย์
46
2. นักเรียน นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและนาความรู้สู่การ
ปฏิบัติจริง เพ่ือให้ศาสนาเป็นเคร่ืองบาบัดทุกข์และกล่อมเกลาจิตใจได้อย่าง
แทจ้ ริง
3. นักเรียน นักศึกษาได้มีจิตสานึกที่ดีต่อการอนุรักษ์ศิลปะ และวัฒนธรรม
ประจาทอ้ งถนิ่
4. นักเรียน นักศึกษามจี ติ สานึกในวฒั นธรรมประเพณีของไทย
5. คณะกรรมการชมรม มีส่วนร่วมในการคิด การทางาน ได้มีโอกาสฝึกฝน
ตนเองในการท่จี ะก้าวไปส่กู ารเป็นผู้นาท่ีดีในอนาคต
1.3.3 การมงี านทาและศึกษาตอ่ ของผู้สาเร็จการศึกษา
เชงิ ปริมาณ จานวนผู้สาเร็จการศกึ ษา ปวช. และ ปวส. ในปีการศึกษาทผี่ ่านมา จานวน 917
มีงานทาในสถานประกอบการหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพ
อิสระหรือศกึ ษาต่อ จานวน 788 คน
เชงิ คณุ ภาพ ร้อยละของผูส้ าเร็จการศกึ ษา ปวช. และ ปวส. ในปีการศกึ ษาทผ่ี ่านมา มงี านทา
ในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือ
ศึกษาต่อ ร้อยละ 85.93
ผลสะท้อน องค์การ หน่วยงานภายนอก หรือผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรับสถานศึกษาใน
การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สาเร็จการศึกษามีงานทาในสถานประกอบการ
หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชพี อสิ ระหรอื ศึกษาตอ่
2) จุดเด่น
1. วิทยาลัยมีการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนได้ปฏิบัตจิ ริง เพื่อพัฒนาทักษะความรู้
เฉพาะดา้ น
2. การฝึกทกั ษะ จากการฝกึ ประสบการณ์ในสถานประกอบการจรงิ
3. เป็นศูนย์บ่มเพาะฯ ท่ีมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองทุกปีการศึกษา ผู้เรียนมีสมรรถนะใน
การเปน็ ผ้ปู ระกอบการหรอื ประกอบอาชพี อิสระ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลอยา่ งดี
4. สถานศึกษามีการประกวดในการสง่ เสริม สนบั สนุนใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะ
วชิ าชพี ในการเขา้ รว่ มการประกวดแขง่ ขันท้ังในระดับจังหวัด ระดบั ภาค และระดับชาติ
5. สถานศึกษามีการมอบหมายหน้าที่ครูท่ีปรึกษา พร้อมกาหนดปฏิทินการปฏิบัติงาน
อย่างชัดเจน
6. ครูที่ปรึกษา ปฏบิ ัติหน้าทีอ่ ยา่ งมคี วามรับผิดชอบ เคร่งครดั
7. สถานศึกษามีเครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อช่วยประสานการดูแลผู้เรียนท้ังท่ีบ้านพัก และ
สถานศกึ ษา
8. สถานศกึ ษามกี ารนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้งาน เพ่อื ติดตาม ดแู ลผ้เู รยี น
9. นกั เรยี น นกั ศึกษา ให้ความร่วมมอื ในการเข้าร่วมกิจกรรมเปน็ อย่างดี
10. บุคลากรทางการศกึ ษาใหค้ วามร่วมมอื ในการเข้าร่วมกจิ กรรมเปน็ อยา่ งดี
11. มีการตดิ ตามข้อมูลผู้สาเร็จการศกึ ษาท่มี งี านทาและศึกษาต่อ อยา่ งตอ่ เนื่อง
47
12. มีการประเมินความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อการทางานของผู้สาเร็จ
การศึกษา
13. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้บริการในสถานประกอบการท่ีมีผู้สาเร็จการศึกษา
ทางานอยู่
3) จุดท่คี วรพัฒนา
1. รูปแบบการสอบทฤษฎีเพื่อให้ประหยัดกระดาษคาตอบและกระดาษเขียนตอบ
ควรจดั รูปแบบการสอนออนไลน์
2. ผู้เรียนท่ีเข้าร่วมโครงการเป็นผู้ประกอบการหรือประกอบอาชีพอิสระ ยังมีความสนใจ
น้อยการกระจายผู้ประกอบการยังไม่ครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ ขาดแหล่งเรียนรู้และสถาน
ประกอบการดีเด่นภายในจงั หวดั
3. วิทยาลัยฯ ควรมีการสนับสนุนใหน้ ักเรียน นกั ศึกษา ได้มีการเข้าร่วมการแข่งขันทักษะ
วชิ าชีพในระดบั สถานศกึ ษา เพือ่ สร้างความสามัคคี การแลกเปลีย่ นการเรียนรู้ และสามารถนาไปใช้ใน
การทางานหรอื การดาเนินชีวติ ใหเ้ กิดประโยชน์
4. จานวนผู้สาเร็จการศึกษามีปริมาณน้อย ควรจัดกิจกรรม/โครงการในการดูแลและแนะ
แนวใหม้ ากข้ึน
5. ควรจัดทาวจิ ยั สารวจ สาเหตุ เพ่อื วางแผนพัฒนาการดาเนินการดแู ลผู้เรียนใหต้ รงจดุ
6. ครุภัณฑส์ านักงานไมเ่ พียงพอกบั การใชง้ านของบุคลากร เชน่ คอมพวิ เตอร์
7. นักเรียน นักศึกษาขาดความรู้ความเข้าใจเร่ืองงานกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา
โดยเฉพาะ เรอื่ งบทบาทหน้าทขี่ องคณะกรรมการชมรม เป็นต้น
8. ควรมีการสนับสนุนทุนเสริมสร้างแรงจูงใจสาหรับคณะกรรมการ องค์การฯ
คณะกรรมการชมรม
9. มีห้องปฏิบตั งิ านกจิ กรรมเปน็ เอกเทศ
10. กิจกรรมบางโครงการไม่สามารถจัดข้ึนได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
4) ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา
1. จดั อบรมทาข้อสอบแบบออนไลนใ์ หค้ รบู ุคลกรอย่างทว่ั ถงึ
2. ส่งเสริมสนับสนุน เงินงบประมาณในการจัดโครงการ บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ
และสร้างแรงจงู ใจใหก้ ับนกั เรยี น นกั ศึกษาท่สี นใจเข้ารว่ มโครงการผ้ปู ระกอบการ
3. วิทยาลัยฯ ควรเปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษาทุกคนมากขึ้นให้ได้เลือกหรือทดสอบ
ความถนัดด้านวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ เพื่อทางวิทยาลัยจะได้คัดเลือกตัวแทนนักเรียน นักศึกษาท่ีมี
ความพร้อม ไปเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพเพ่ือได้รับรางวัลเพ่ิมขึ้นและนาประสบการณ์การ
แข่งขนั มาปรบั ใชใ้ นการเรียนของนกั เรียน นกั ศกึ ษาได้
4. สถานศึกษามีการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการติดตามดูแลผู้เรียน และ
ประสานงานกับผู้ปกครอง ควรรณรงค์กระตุ้นให้ผู้มีความเกี่ยวข้องทุกฝ่ายงานทางานเป็นระบบเป็น
รปู ธรรมยิง่ ข้นึ
48
5. ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าท่ีของครูท่ีปรึกษาชมรม บุคลากรทุกท่านและนักเรียน
นักศกึ ษาในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมของวิทยาลัยฯ
6. สถานศึกษาขอความร่วมมือแผนกวิชาช่าง แต่ละแผนกให้ข้อมูลผู้สาเร็จการศึกษา
ที่ศึกษาต่อและทางานในแต่ละปี
7. สถานศึกษาขอข้อมูลผู้สาเร็จการศึกษาจากงานทะเบียน เช่น จานวนผู้สาเร็จการศึกษา
ขอ้ มูลผู้สาเร็จการศึกษา ทีศ่ ึกษาต่อสถานศึกษาอน่ื ได้ทาหนังสือขอคายืนยันของผู้สาเร็จการศึกษาว่า
สาเรจ็ การศกึ ษาจริง
8. สถานศึกษาขอความร่วมมือไปยังหน่วยงาน/สถานประกอบการที่ผู้สาเร็จการศึกษาได้
ทางาน โดยให้ข้อมูลการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สาเร็จการศึกษา ณ หน่วยงาน/สถาน
ประกอบการนั้น
49
4.2 มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชีวศึกษา
4.2.1 ด้านหลกั สูตรอาชีวศึกษา ให้สถานศึกษารายงานผลสมั ฤทธใ์ิ นการพัฒนาการจดั การ
อาชีวศึกษาด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
อาชีวศกึ ษา ดังน้ี
1) ผลสัมฤทธ์ิ
ประเดน็ ท่ี 2.1 ด้านหลกั สูตรอาชวี ศึกษา
2.1.1 การพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ
เชิงปรมิ าณ จานวนสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปรับปรุง
รายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาเพิ่มเติม แผนกวิชาไม่มี
การปรับปรุงหลักสตู รฐานสมรรถนะรายวิชา
เชงิ คณุ ภาพ ผลการประเมินการพัฒนาหลักสูตรสมรรถนะอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับ
คุณภาพ ยอดเยยี่ ม
ผลสะทอ้ น หลักสูตรที่วิทยาลัยฯ ดาเนินการจัดการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาให้เป็น
หลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบสร้างความเช่ือม่ันให้กับผู้เรียน
ผปู้ กครอง และสถานประกอบการในการรบั นักศึกษาเข้าฝกึ งาน
2.1.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ
กาหนดรายวชิ าเพ่มิ เติม
เชงิ ปริมาณ จานวนสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือ
ปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาเพ่ิมเติม
จานวน 1 แผนก คดิ เป็นร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ สาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการพัฒนาหลักสูตรสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา
หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาเพ่ิมเติม อยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเยีย่ ม
ผลสะทอ้ น สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ให้ทันตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี สามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน และ
ทันต่อเหตุการณ์
50
4.2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธ์ิในการ
พัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ตามรายการประเมินคุณภาพ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา ดังน้ี
1) ผลสมั ฤทธิ์
ประเดน็ ที่ 2.2 ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา
2.2.1 คณุ ภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏบิ ตั ิ
เชิงปริมาณ ปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยเทคนิคเลยมีครูที่จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การ
ปฏิบัติทมี่ ีคุณภาพ จานวน 163 คน จากจานวนทัง้ หมด 163 คน
เชงิ คณุ ภาพ ผลการประเมนิ คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 100 ตาม เกณฑก์ าร
ประเมนิ ระดบั คณุ ภาพยอดเย่ียม
ผลสะทอ้ น ครูผู้สอนจัดทาแผนการสอน มีการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชาการบูรณาการ
คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมคุณลักษณะที่พึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มีการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ใช้สื่อ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และ
เทคโนโลยีที่นามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมมีการวัดและประเมินผล
ตามสภาพจริง
2.2.2 การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและนาไปใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน
เชงิ ปริมาณ วิทยาลัยเทคนิคเลย มีครูที่จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
และนาไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน จานวน 163 คน
เชงิ คณุ ภาพ ร้อยละของครูผู้สอนท่ีจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียน
เปน็ สาคัญและนาไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนรอ้ ยละ 100
ผลสะท้อน ครูผู้สอนได้จัดทาแผนการสอนครบทุกรายวิชาที่สอนและนาแผนการสอนสู่การ
ปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ
ตลาดแรงงาน เพื่อเพ่ิมโอกาส และค้นหาความสามารถให้นักเรียน นักศึกษาได้
ประกอบอาชีพตามสายงานท่ีได้ศึกษามาและนามาปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ดี
ยง่ิ ข้นึ
2.2.3 การจัดการเรยี นการสอน
เชิงปริมาณ ครผู ้สู อนมีคณุ วุฒิการศึกษาตรงตามสาขาวชิ าที่สอน มีการจัดทาแผนการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญทุกรายวิชาท่ีสอน จัดการเรียนการสอนตรงตาม
แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนท่ีหลากหลาย มีการวัดและ
ประเมินผลตามสภาพจริงมีการใช้ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา
แหล่งเรียนรู้ และทาวิจัย เพ่ือคุณภาพการจัดการเรียนรู้และแก้ปัญหาการ
จดั การเรยี นรู้ ในปีการศกึ ษา 2564 จานวนเฉลี่ยรวมครทู ้ังหมด 163 คน
เชิงคณุ ภาพ ผลการประเมินการจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 100 ตามเกณฑ์การประเมิน
ระดับคุณภาพยอดเยีย่ ม
51
ผลสะทอ้ น สถานศึกษาได้ครูผู้สอนท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาที่ตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน และมี
การจัดทาแผนการเรียนรู้ทุกรายวิชาท่ีจัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการ
จัดการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง รวมถึงเทคโนโลยี แหล่ง
เรยี นร้ทู คี่ รบถ้วนเพ่ือเกดิ ประโยชน์ต่อการเรยี นรู้ของนกั เรียน นกั ศึกษา
2.2.4 การบริหารจัดการชั้นเรียน
เชิงปรมิ าณ สถานศึกษามีจานวนครูทั้งหมด 163 คน โดยครูผู้สอนทุกท่านได้จัดทาข้อมูล
ผู้เรียนเป็นรายบุคคลทั้งหมดมีข้อมูลสารสนเทศ เอกสารประจาชั้นเรียน
และรายวิชาเป็นปัจจุบนั ใชเ้ ทคนิควิธีการบรหิ ารจดั การช้ันเรียนให้มีบรรยากาศ
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีวิธีการเสริมแรงให้ผู้เรียนมีความมุ่งม่ันต้ังใจในการเรียน
และดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี นรายบุคคลด้านการเรียนและด้านอืน่ ๆ
เชงิ คุณภาพ สถานศึกษามีครูผู้สอนท่ีจัดทาข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล มีข้อมูลสารสนเทศ
และเอกสารประจาชั้นเรียนและรายวิชาเป็นปัจจุบัน มีเทคนิควิธีการบริหาร
จัดการชั้นเรียนให้มีบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ มีวิธีการเสริมแรงให้ผู้เรียน
มีความมุ่งมั่นต้ังใจในการเรียน และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคลด้านการ
เรยี นและดา้ นอืน่ ๆ
ผลสะทอ้ น ครูผู้สอนมีการจัดทาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยใช้ระบบดูแลผู้เรียนมา
บรหิ ารจดั การชน้ั เรียน
2.2.5 การพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชพี
เชิงปริมาณ 1. จานวนครูผู้สอนท่ีทาแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมการพัฒนาวิชาชีพ
133 คน 2. จานวนครูผู้สอนท่ีได้รับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12 ช่ัวโมงต่อปี
จานวน 156 คน 3. จานวนครูผู้สอนที่มผี ลจากการพฒั นาตนเองและการพัฒนา
วิชาชีพ 163 คน 4. จานวนครูผู้สอนท่ีมีผลจากการพัฒนาตนเองและพัฒนา
วิชาชพี ไดร้ บั การยอมรับหรือเผยแพร่ 3 คน
เชงิ คณุ ภาพ จานวนครูผู้สอนที่นาผลจากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ใน
การจดั การเรียนการสอน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
ผลสะท้อน ครูผู้สอนจัดทาแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมกระบวนการพัฒนาวิชาชีพ
ได้รับการพัฒนาแผนพัฒนาตนเองและกระบวนการพัฒนาวิชาชีพมีการนาผล
การพัฒนาตนเองมาใช้ในการเรียนการสอน
2.2.6 การเข้าถงึ ระบบอนิ เทอร์เนต็ ความเร็วสงู เพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรยี น
เชงิ ปรมิ าณ ห้องเรียนที่มีการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงท่ีให้บริการอินเทอร์เน็ต
จานวน 137 ห้อง
เชิงคณุ ภาพ ทางสถานศึกษาไดม้ ีการพฒั นาระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสงู ใหม้ ีความพร้อมต่อ
การให้บริการแก่บุคลากรและนักเรียน นักศึกษา อย่างสม่าเสมอและมีการ
พัฒนาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ
ผลสะทอ้ น บุคลากรและนักเรียน นักศึกษามีการยอมรับในหลักการของการเรียนการสอน
ใน e-Learning และการส่อื สารแบบไร้สาย
52
4.2.3 ด้านการบริหารจัดการ ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการ
อาชวี ศกึ ษาดา้ นการบริหารจดั การ ตามรายการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
ดงั น้ี
1) ผลสมั ฤทธิ์
ประเดน็ ท่ี 2.3 ด้านการบรหิ ารจัดการ
2.3.1 การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพอื่ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
เชิงปรมิ าณ ระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีใชง้ าน จานวน 11 ระบบ ประกอบดว้ ยมี
1. เวบ็ ไซต์ (www.loeitech.ac.th)
2. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ (AMS-e-Office)
3. ระบบข้อมลู ศูนยก์ าลงั คนอาชวี ศกึ ษา
4. ระบบ ศธ.02 ออนไลน์
5. ระบบซอฟต์แวร์บริหารจัดการด้านการอาชีวศึกษา (EnlightSoft EDR)
ประกอบไปด้วย ระบบวัดผล ระบบงานทะเบียน ระบบงานกิจกรรม ระบบงาน
ปกครอง ระบบงานครทู ี่ปรึกษา ระบบงานสารบรรณ ระบบประเมนิ ครผู ู้สอน
6. e-Learning เพื่อพฒั นาอาชีพ ตามพระราชดารสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
7. e-Learning วิทยาลยั เทคนคิ เลย
8. ระบบหอ้ งสมดุ ดจิ ติ ตอล
9. e-Mail ของสถานศึกษา ([email protected])
10. Facebook ของสถานศึกษา
11. แอพพลเิ คช่ัน Line ประชาสัมพันธ์ขา่ วสาร
เชงิ คณุ ภาพ การรับข้อมูลสารสนเทศ ทั้งผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถ
นาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ในระดบั ปานกลาง
ผลสะทอ้ น การนาระบบสารสนเทศ มาใช้ในการบรหิ ารจดั การข้อมูลข่าวสาร ทาให้ลดเวลา
ในการทางาน ลดปญั หาในการสบื ค้นและการจัดเก็บได้ดี
2.3.2 อาคารสถานที่ หอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบตั ิการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม
เชิงปริมาณ ร้อยละของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานที่ได้รับการพัฒนาใหเ้ อ้ือต่อการ
จัดการเรยี นรู้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
เชงิ คณุ ภาพ 1. อาคารสถานท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน
หรืองานฟาร์ม และส่ิงอานวยความสะดวกในการให้บริการผู้เรียนเพียงพอต่อ
ความต้องการ
2. การพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานท่ี ห้องเรียน
หอ้ งปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ หรือโรงงานฟาร์ม และสิ่งอานวยความสะดวก
ตามแผนงาน โครงการทีก่ าหนด
3. สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานท่ี ห้องปฏิบัติการ แหล่งเรียนรู้
โรงฝกึ งาน หรืองานฟารม์ และสง่ิ อานวยความสะดวกท่ีเอือ้ ต่อการจัดการเรียนรู้
53
ผลสะทอ้ น มีองค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องเข้ามาใช้บริการ อาคาร
สถานที่ ห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ตั ิการ หรือโรงฝึกงานฟาร์ม
2.3.3 ระบบสาธารณปู โภคพื้นฐาน
เชิงปริมาณ ระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคม
ภายในสถานศึกษา ระบบการส่ือสารภายใน และระบบรักษาความปลอดภัย
ได้รับการบารงุ รกั ษาและพัฒนาอย่างเปน็ ระบบร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคม
ภายในสถานศึกษา ระบบการส่ือสารภายใน และระบบรักษาความปลอดภัย
ได้รับการบารงุ รักษาอย่างสม่าเสมอ
ผลสะท้อน นักเรียน นักศึกษา ครูอาจารย์ บุคลากรทางการศึกษามีระบบสาธารณูปโภค
พ้ืนฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคมภายในสถานศึกษา
ระบบการสื่อสารภายใน และระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีและเพียงพอ
ต่อความต้องการ
2.3.4 แหล่งเรียนรูแ้ ละศูนยว์ ิทยบรกิ าร
เชงิ ปริมาณ 1.จานวนผเู้ ข้าใช้บริการในศนู ยว์ ิทยบริการ คิดเป็นร้อยละ 79.17 ในปีการศึกษา
2564
2. จานวนผู้เข้าใชบ้ รกิ ารห้องสมดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.47
3. จานวนผเู้ ขา้ ใช้บรกิ ารหอ้ งอินเทอร์เนต็ คิดเปน็ รอ้ ยละ 53.70
เชิงคณุ ภาพ แหล่งเรียนรู้จากศูนย์วิทยบริการ จะมีงานห้องสมุด ห้องอินเทอร์เน็ต และห้อง
คอมพวิ เตอร์ ซงึ่ ประเมนิ จากสถานท่ีจรงิ
ผลสะท้อน ความพึงพอใจของผู้บริการใช้ห้องสมุด ห้องอินเทอร์เน็ต และห้องคอมพิวเตอร์
ดูได้จากสถิติรายเดือนขอแต่ละภาคเรียน และตรวจสอบจากการเข้าใช้บริการ
ของห้องคอมพวิ เตอร์
2.3.5 ระบบอนิ เทอร์เนต็ ความเร็วสูงเพ่อื การใช้งานดา้ นสารสนเทศภายในสถานศกึ ษา
เชงิ ปริมาณ มีเส้นทาง link สัญญาณ 1,600 Mbps ประกอบดว้ ย
1. เครอื ข่าย UniNet ความเร็ว 1000 Mbps
2. เครอื ขา่ ย TOT ความเรว็ 600/300 Mbps
เชงิ คณุ ภาพ ในเวลาปกติสามารถ ใช้ Band Width รวมเป็น 1,600 แต่หากเกิดปัญหา
เสน้ ทางใดเส้นทางหน่ึงระบบยังสามารถใช้งานได้
ผลสะทอ้ น การใชง้ านจริงในปัจจุบันค่า Band Width จะอยู่ประมาณ 690 Mbps คิดเป็น
ประมาณ 43 % ของ Band Width ที่ใชง้ านได้
54
4.2.4 ด้านการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการ
จัดการอาชีวศึกษาด้านการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาอาชีวศกึ ษา ดังน้ี
1) ผลสัมฤทธ์ิ
ประเด็นท่ี 2.4 ด้านการนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
2.4.1 การจดั การอาชวี ศกึ ษาสู่ระบบทวิภาคี
เชิงปรมิ าณ มีนักเรียน นักศึกษาเข้าฝึกอาชีพในสถานประกอบการเต็ม 100 % ตรงตาม
สาขาวิชาของ นักเรยี น นกั ศกึ ษา
เชิงคุณภาพ นักเรียน นักศึกษา ได้ฝึกอาชีพในสถานประกอบการในลักษณะการทางานจริง
ผลสะทอ้ น ได้พัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ ในสถานประกอบการโดยผู้มีความเช่ียวชาญ
ในการทางาน
ได้รับความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการ กับสถานศึกษาในการจัดการ
เรยี นการสอนในสถานประกอบการ ท้งั ในระบบปกติ และระบบทวภิ าคี ตอ่ เนือ่ ง
และดว้ ยดเี สมอมา
2) จุดเดน่
1. สถานศึกษามีการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่ได้รับการพัฒนา และมีหลักสูตรฐาน
สมรรถนะทส่ี อดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยแี ละความต้องการของตลาดแรงงาน
2. สถานศึกษามีครูผู้สอนมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนตรงตาม
วิชาเอก สามารถจัดการเรยี นรูท้ ี่หลากหลายบรู ณาการกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สอดคล้อง
ตรงตามความต้องการของผเู้ รยี น
3. ครูผู้สอนมกี ารวิเคราะห์หลักสตู รรายวชิ า เพ่อื กาหนดหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ีมุ่งสมรรถนะอาชีพ
4. แผนการจัดการเรียนรู้มีการกาหนดการใช้สื่อเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยี
การจดั การเรยี นร้ทู ีเ่ หมาะสมและนามาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน
5. แผนการพัฒนาการเรียนรู้มีการกาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ด้วยรูปแบบวธิ ีการท่ีหลากหลาย
6. วิทยาลัยเทคนิคเลยยอมรับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนและนา
แผนการจัดการเรียนรู้มาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่มีองคป์ ระกอบครบถ้วน รวมถึงการ
ปรับใช้การเรียนการสอนออนไลน์ ในสถานการณ์โรคระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา ( COVID-19)
โดยเล็งเหน็ ความสาคญั ในการจัดการเรียนการสอนทมี่ คี ณุ ภาพมากยง่ิ ขนึ้
7. ครผู ้สู อนมีวุฒกิ ารศึกษาที่ตรงตามสาขาวชิ าที่สอน จดั ทาแผนการเรียนรู้ทุกรายวิชาที่สอน
8. แผนการจัดการเรียนรู้มีการกาหนดการใช้สื่อเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยี
การจัดการเรียนรู้ท่เี หมาะสมและนามาใชใ้ นการดว้ ยเทคนิควธิ กี ารท่ีหลากหลาย
9. แผนการจดั การเรียนรู้มกี ารกาหนด แนวทางการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
55
10. มีครูผู้สอนท่ีจัดทาข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล มีข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาชั้น
เรียนและรายวิชาเป็นปัจจุบัน มีเทคนิควิธีการบริหารจัดการช้ันเรียนให้มีบรรยากาศที่เอ้ือต่อการ
เรียนรู้ มีการเสริมสร้างให้ผู้เรียน มีความมุ่งม่ันต้ังใจในการเรียน และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล
ดา้ นการเรียนและดา้ นอน่ื ๆ
11. สถานศึกษาให้การสนับสนุนในด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ใน
การเรียนการสอนไดอ้ ย่างดีรวมถึงการจัดทาผลงานจากการพัฒนาตนเองและพฒั นาวิชาชีพ
12. มกี ารใช้ e-learning การเรียนการสอนออนไลน์ ดว้ ยวธิ ีตา่ ง ๆ ในหลกั สูตรการศกึ ษา
และพฒั นาหลกั สตู รการศึกษาใหท้ นั สมัย โดยให้แต่ละแผนกเปน็ ผูด้ าเนนิ การ
13. มรี ะบบงานพื้นฐานรองรบั การพัฒนาเพอ่ื ให้เกิดประสทิ ธภิ าพ
14. สามารถบริหารจัดการระบบไฟฟ้า ระบบประปา ระบบคมนาคม ระบบการส่ือสาร
รวมทั้งการจัดระบบรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่ออานวยประโยชน์
สาหรับให้ผู้บริการ
15. สนับสนุนใหน้ กั เรยี น นักศึกษา เกดิ การเรยี นรูแ้ ละดูแลศกึ ษาดว้ ยตนเอง
16. นักเรยี น นักศกึ ษาทราบถึงแหลง่ ขอ้ มลู การเรียนร้ดู ้วยตนเอง
17. สรา้ งนสิ ยั รกั การอ่านแก่นกั เรียน นักศึกษา
18. นกั เรยี น นกั ศึกษา สามารถค้นคว้าข้อมลู จากเทคโนโลยีใหม่ ๆ
19. สถานศึกษามีระบบสารองในการใชง้ านอินเทอรเ์ น็ต
3) จุดที่ควรพฒั นา
1. สถานศึกษาควรมกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงอย่างตอ่ เนื่อง
2. ครูผู้สอนที่จัดทาการปรับปรุงรายวิชา ยังขาดความเข้าใจในการจัดทาหลักฐาน
ทเ่ี ก็บหลักฐานตามขน้ั ตอน PDCA
3. สถานศึกษาควรมีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้มีการกาหนดรูปแบบการเรียนรู้
สู่การปฏิบัติและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีการเตรียมค วามพร้อมในการจัดการ
เรียนรู้ออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพต่อนกั เรียนมากข้ึน ในเหตุการณ์มโี รคระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) เพ่ือใหน้ ักเรยี น นักศกึ ษาได้ตนื่ ตวั ต่อการเรียนออนไลน์เพ่ิมมากข้นึ
4. ครูผสู้ อนควรจัดทาการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สกู่ ารปฏบิ ัติท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
โดยมีกิจกรรมท่ีหลากหลายสอดแทรกไปในกิจกรรมการเรยี นการสอน และนาไปใช้ในการจดั การเรียน
การสอนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่นักเรียน นักศึกษา กระตุ้นให้นักเรียน นักศึกษาปรับตัวในการ
เรยี นออนไลน์สถานการณโ์ รคระบาดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ใหม้ ากยิง่ ข้นึ
5. ครูผสู้ อนควรมีการจดั การเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย ให้ความรูห้ รอื วธิ ีการเรียนรู้ที่หลากหลาย
เสริมเพ่ิมเติมให้นักเรียน นักศึกษาและมีการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ให้มี
ประสิทธิภาพต่อนักเรียนมากขึ้น ในเหตุการณ์มีโรคระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
เพื่อใหน้ กั เรียนไดต้ นื่ ตวั ตอ่ การเรยี นออนไลนเ์ พม่ิ มากขนึ้
6. นักเรียน นักศึกษา บางคนมีการเปล่ียนแปลงข้อมูล เช่น เบอร์โทรศัพท์ตนเอง หรือ
ผูป้ กครอง ทาใหไ้ มส่ ามารถติดตามดูแลช่วยเหลือผเู้ รียนไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง
56
7. สถานศึกษาควรมีการจัดทาแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมพัฒนาวิชาชีพให้ครบทุกคน
ในสถานศกึ ษา
8. ขาดคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการรับผิดชอบด้าน ICT และเจ้าหน้าท่ีผู้ดูแล
ประจาของวิทยาลัย และการพัฒนา ICT เพื่อการศึกษายงั ไม่ไดร้ ับการสง่ เสริมอย่างเปน็ ระบบ
9. พัฒนา ปรับปรุง จุดให้บริการเข้าถึงสัญญาณ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง
ให้ครอบคลุมทุกพนื้ ท่ี
10. พัฒนาบุคลากร ทง้ั ผูใ้ ช้งาน และผูจ้ ดั การขอ้ มลู สารสนเทศ
11. ผ้บู รหิ าร ควรให้ความสาคัญในการนาระบบต่าง ๆ มาใชง้ านให้มากขึน้
12. ควรมีอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ใช้ในการค้นคว้าที่ดี ทันสมัย เหมาะสม และเพียงพอ
ต่อความต้องการของนักเรียน นักศกึ ษา
13. เพิ่มประสิทธภิ าพระบบภายในเชื่อมโยงระหวา่ งอาคารตา่ ง ๆ กบั ศูนยค์ วบคุม
14. เพิ่มจุดให้บริการเครือข่ายไร้สายให้ครอบคลุมพ้ืนที่ที่ใช้งาน ด้วยระบบท่ีควบคุมจาก
ส่วนกลางได้
4) ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
1. สถานศึกษาควรมีการส่งเสริม สนับสนุน กากับ ติดตามให้สาขางานมีการพัฒนา
หลักสูตรสมรรถนะปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาเพิ่มเติมอย่าง
ตอ่ เนื่อง
2. ควรมีการพัฒนาปรับปรุงรายวิชาอย่างต่อเนื่อง และควรมีการจัดประชุมแต่ละแผนก
วชิ าเกย่ี วกับเรอ่ื งการจดั ทาเอกสารข้ันตอนตาม PDCA
3. ครผู ู้สอนควรจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ท่มี ีกิจกรรมการเรียนร้ทู ่ีหลากหลายให้ผูเ้ รียน
ได้ปฏิบัติจริงเหมาะสมกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน สามารถนาไปปรับใช้
ในชีวิตประจาวนั หรือเป็นอีกทางเลอื กให้นักเรียนไดเ้ รยี นรจู้ ากความสามารถและความถนดั ของตนเอง
ไปใช้ประกอบอาชพี ไดใ้ นอนาคต สร้างรายได้ให้กบั ตนเองและนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์สงู สุด
4. วิทยาลัยฯ ควรส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ
ท่เี น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั และนาไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนทกุ รายวชิ า
5. ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริงเหมาะสมกับ
ความสามารถหรือความถนัดของนักเรียน นักศึกษา ไปใชใ้ นการประกอบอาชีพในอนาคต สร้างรายได้
ใหก้ ับตนเองและครอบครวั ตอ่ ไป
6. ครูผสู้ อน หรือครูที่ปรกึ ษาควรตดิ ตามนักเรียน นักศึกษา อยา่ งต่อเนื่อง
7. กระตุ้นหรือแรงบนั ดาลใจใหบ้ คุ ลากรในสถานศกึ ษาเข้ารว่ มรบั การพฒั นาวิชาชพี
8. แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการรับผิดชอบดา้ น ICT พร้อมเจ้าหนา้ ท่ีผู้ดูแล
ประจาเพอ่ื พฒั นา ICT รวมถงึ การใหบ้ ริการได้รวดเรว็ เป็นระบบและดยี ง่ิ ข้ึน
9. ระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีใช้งานในระบบต่าง ๆ ควรได้รับการพัฒนาให้เป็นระบบงาน
เดยี วกันใช้ฐานข้อมูลรว่ มกันได้ เพ่ือลดเวลาการนาเข้าข้อมลู และลดเวลาการประมวลผล
10. ครูผู้สอนควรนานักเรียน นักศึกษา มาศึกษาการค้นคว้าข้อมูลและการใช้บริการใน
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร โดยมี บรรณารักษ์ และเจา้ หน้าที่ห้องอินเทอรเ์ นต็ คอยใหค้ าแนะนาและชว่ ยเหลือ
57
11. ผูส้ อนฝึกให้นักเรียน นักศึกษา คน้ ควา้ ขอ้ มลู ด้วยตวั เอง
12. สถานศึกษาควรจัดหาเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในการค้นคว้าที่ทันสมัย เหมาะสม และ
เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของนักเรียน นักศึกษา
13. ควรมีการจดั สรรงบประมาณในการพฒั นาระบบ การซ่อมบารุงให้สามารถทาได้อย่าง
ง่ายและรวดเรว็
4.3 มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้
4.3.1 ดา้ นความร่วมมือในการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ ให้สถานศึกษารายงานผลสมั ฤทธ์ใิ น
การพัฒนาการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ตามรายการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้
1) ผลสมั ฤทธ์ิ
ประเด็นที่ 3.1 ดา้ นความร่วมมอื ในการสร้างสังคมแห่งการเรยี น
3.1.1 การบรหิ ารสถานศกึ ษาแบบมสี ่วนรว่ ม
เชงิ ปรมิ าณ 1. มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การศึกษา และมีการประกันคุณภาพในสถานศึกษา ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการบริหารสถานศึกษาท่ีดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการ
กาหนดการ จัดทาและจัดส่งรายงาน การประเมินให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือ
หน่วยงานทีก่ ากบั ดูแลสถานศกึ ษาเปน็ ประจาทุกปีการศึกษา
2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ การ
จัดทาแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2561-2567) และแผนปฏิบัติราชการประจาปี
2564 จานวน 211 คน
3. มกี ารประชุมครู และบคุ ลากรทางการศึกษา วทิ ยาลยั เทคนิคเลย 7 ครัง้
4. มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา วทิ ยาลยั เทคนคิ เลย จานวน 7 คร้ัง
5. มรี ะบบขอ้ มลู สารสนเทศสาหรับการบรหิ ารจัดการท่ีใช้งานจานวน 11 ระบบ
ประกอบดว้ ย
1) เว็บไซต์ของสถานศึกษา (www.loeitech.ac.th)
2) ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ (AMS-e-Office)
3) ระบบขอ้ มลู ศนู ย์กาลงั อาชีวศกึ ษา
4) ระบบ ศธ.02 ออนไลน์
5) ระบบซอฟต์แวร์บริหารจัดการดา้ นอาชวี ศึกษา (EnlightSoft EDR) ประกอบ
ไปด้วยระบบวัดผล ระบบงานทะเบียน ระบบงานกิจกรรม ระบบงานปกครอง
ระบบงานครทู ่ีปรึกษา ระบบสารบรรณ ระบบประเมินครผู สู้ อน
6) e-Learning เพื่อพฒั นาอาชีพ ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ
7) e-Learning วทิ ยาลัยเทคนคิ เลย
8) ระบบห้องสมดุ ดจิ ิทลั
9) e-Mail.com ของสถานศกึ ษา ([email protected])
58
10) Facebook ของสถานศึกษา
11) แอพพลิเคชัน่ Line ประชาสัมพนั ธ์ขา่ วสาร
เชงิ คณุ ภาพ 1. ประสานงานฝ่ายต่าง ๆ ในสถานศึกษา สถานประกอบการ และหน่วยงาน
ภายนอก สานักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา
(องคก์ ารมหาชน) ในการดาเนินงานตามระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา มีความรู้และ
ความเข้าใจในรายละเอียดการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2561-2567) และ
แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี 2564
3. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเลย ตาม
เกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ด้านท่ี 3 ด้าน
ครูผู้สอนและผู้บริหารถานศึกษา 3.2 ผู้บริหารสถานศึกษา 3.2.1 การบริหาร
สถานศกึ ษาแบบมสี ว่ นร่วม ผลการประเมนิ คุณภาพระดบั สถานศึกษา ยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน 1. สถานศึกษาได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งเป็น
บคุ คลภายนอก และได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภายนอก
และสถานประกอบการในการบรหิ ารสถานศึกษา
2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษา
มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ ร่ ว ม กั น จั ด ท า ร่ า ง แ ผ น
ยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2561-2567) และแผนปฏิบัติราชการประจาปีการศึกษา
2564 ให้คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาพิจารณา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
พัฒนาการบริหารจัดการ การเรียนการสอน การจัดกิจกรรม และการปฏิบัติ
ราชการของวทิ ยาลยั ให้เกิดผลสมั ฤทธิ์ และบูรณาการไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม
3. การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา หรือ คณะกรรมการบริหาร
สถานศึกษา ในการบริหารจัดการสถานศึกษา มีการใช้นวัตกรรมในการบริหาร
จดั การสถานศกึ ษา
3.1.2 การระดมทรัพยากรเพอ่ื การจดั การเรียนการสอน
เชงิ ปริมาณ 1. สถานศึกษามีแผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรที่หลากหลายในการ
จดั การอาชีวศึกษาท้ังในประเทศและหรอื ต่างประเทศ เนือ่ งจากสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา 2019 COVID-19 มีการแพร่ระบาดในวง
กว้างและยกระดับความรุนแรงขึน้ ดังนั้น จึงเลอ่ื นจดั กจิ กรรมต่าง ๆ
2. สถานศึกษามีการประเมินผลการดาเนินงานตามแผนงาน โครงการในการ
ระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่าย เพื่อการปรับปรุงและ
พัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง
เชงิ คุณภาพ 1. การบริการแบบมีส่วนรว่ มเป็นการจูงใจให้ผูม้ ีส่วนร่วมปฏิบัตงิ านในองคก์ รได้
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจร่วมรับผิดชอบและร่วมมือในการพัฒนาองค์กรท่ี
ปฏิบัติอยู่ด้วยความเต็มใจ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานขององค์กรการทาให้
59
เกิดผลดีกับสถานศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถทางด้าน
วชิ าการวิชาชีพ และทันตอ่ เทคโนโลยที ่ีมีการเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา
2. องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรเพื่อการ
จัดการเรียนการสอนและมีเครือข่ายความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือ
หนว่ ยงานอื่น ๆ เพือ่ พฒั นาศักยภาพครูและครูฝึกในสถานประกอบการ
ผลสะท้อน 1. องค์กร หน่วยงาน หรือ ผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการระดม
ทรัพยากร เพื่อจัดการเรียนการสอนและมีเครือข่ายความร่วมมือกับสถาน
ประกอบการหรือหน่วยงานอ่ืน ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพครู และครูฝึกในสถาน
ประกอบการ
2. หน่วยงาน บุคลากร และสถานประกอบการณ์ต่าง ๆ ได้บรจิ าคทุนการศกึ ษา
แก่ผู้เรียน ที่มีผลการเรียนดีความประพฤติเรียบร้อย ตั้งใจเรียน และมีจิตอาสา
แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ให้ได้รับทุนการศึกษาเพื่อประโยชน์ในการศึกษา
เล่าเรยี น
3. ผู้เรียน มีความรู้ ความสามารถและทักษะปฏิบัติจริงด้านวิชาชีพท่ีสามารถ
นาไปต่อยอดประกอบอาชีพได้
3.1.3 การบรกิ ารชมุ ชนและจิตอาสา
เชิงปริมาณ กจิ กรรมในการบรกิ ารและจติ อาสา ท้งั หมด 2 กจิ กรรม
เชงิ คุณภาพ 1. โครงการศนู ย์ซอ่ มสรา้ งเพอื่ ชมุ ชน Fix it Center จานวน 2 ศนู ย์
1) ศนู ยท์ ่ี 1 องค์การบริหารส่วนตาบลทา่ นครหงส์
2) ศูนยท์ ่ี 2 องค์การบริหารส่วนตาบลนา้ สวย
2. โครงการศนู ยซ์ ่อมสร้างเพ่อื ชมุ ชนแบบถาวรประจาจังหวดั เลย
ผลสะท้อน หน่วยงาน องค์กรท้องถิ่นและประชาชนทั่วไปให้การสนับสนุนและให้ความ
รว่ มมืออย่างดี
60
4.3.2 ด้านนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ใน
การพัฒนาการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้านนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย
ตามรายการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธิ์
ประเดน็ ท่ี 3.2 ดา้ นนวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั
3.2.1 ผลงานของผเู้ รียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื งานวจิ ยั
เชงิ ปรมิ าณ วิทยาลยั เทคนิคเลยได้มีการส่งเสริมสนบั สนุนให้ผเู้ รียนจัดสง่ิ ประดิษฐ์ของคนรุ่น
ใหม่จานวน 20 ผลงาน
เชงิ คณุ ภาพ ผู้เรียนมีทักษะประสบการณ์ในการจัดทาและการเข้าร่วมประกวดในระดับต่าง ๆ
และยังสามารถใช้ความรู้ทีเ่ รียนมา มาใช้ประยุกต์สร้างสรรค์ผลงานทจี่ ดั ทาขน้ึ
ผลสะท้อน 1. ผู้เรยี นสามารถทางานร่วมกันไดด้ ี มีการพัฒนาตอ่ ยอดผลงานสิง่ ประดษิ ฐ์
2. สามารถชว่ ยเหลือชมุ ชนในการแก้ปัญหาได้อยา่ งยังย่ืน
2) จดุ เดน่
1. การจัดทายุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2561-2567) และแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2564
งานวางแผนและงบประมาณ ได้มีการประชุมหัวหน้าแผนกวิชา หัวหน้างานต่าง ๆ และบุคลากร
ทางการศึกษา เพ่ือนาเสนอแผนงาน/โครงการและครุภัณฑ์ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการประกัน
คุณภาพทั้ง สอศ. และ สมศ. จึงจัดทาร่างแผนปฏิบัติราชการ ให้คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา
พจิ ารณา เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา การบรหิ ารจัดการ การเรียนการสอน การจัดกิจกรรม และ
การปฏิบัติราชการของวิทยาลัยให้เกิดผลสัมฤทธิ์และบูรณาการได้อ ย่างเป็นรูปธรรมจัดทารูปเล่ม
เพอ่ื เผยแพรต่ อ่ ไป
2. ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษา มีส่วนร่วมในการกาหนดมาตรฐานทางการศึกษา
จัดทาแผนพฒั นาและปฏิบตั ิราชการประจาปี โดยไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
3. มีระบบพื้นฐานรองรบั การพฒั นาเพื่อใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สุด
4. ประสานความร่วมมือและดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา ประสานงานความ
ร่วมมือกับต่างประเทศและความช่วยเหลือภายนอกในการร่วมลงทุนเพื่อการศึกษา ประสานและให้
ความร่วมมือต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา จดั ทาปฏิทนิ การปฏิบัตงิ านการเสนอโครงการ
และรายงานการปฏิบัติ ดูแล บารุงรักษาและรับผิดชอบทรัพย์สินของสถานศึกษาท่ีได้รับมอบหมาย
มีสภาพทางสังคม บรรยากาศและส่ิงแวดล้อมรอบ ๆ ตัวผู้เรียนท่ีเอื้ออานวยต่อการเรียนอย่าง
เหมาะสมมคี วามพรอ้ มในดา้ นวิชาการ และดา้ นเทคโนโลยีใฝเ่ รียนร้ใู นสงิ่ ใหม่
5. นกั เรยี น นักศึกษา ได้พัฒนาเพิม่ ทกั ษะทางดา้ นวิชาชีพ
6. ประชาชนท่ีเขา้ รบั บริการมที ัศนคตทิ ี่ดตี ่อสถานศึกษา
7. วิทยาลยั ไดร้ ับการชืน่ ชมในการช่วยเหลือแกป้ ัญหาแก่ชมุ ชน
8. ผู้ปกครองมีความไว้วางใจท่ีจะส่งบุตรหลานเข้ามาเรียนกับวิทยาลัย นอกจากนั้นยัง
ได้รับจัดทารูปเล่มเพ่ือประกอบการทาสิ่งประดิษฐ์ ลักษณะเน้ือหามีเอกสารประกอบแนวคิด
61
ทฤษฎีที่เก่ียวข้อง (งานวิจัย 5 บท) และท่ีสาคัญมีคู่มือประกอบด้วย ทาให้โครงการ/ส่ิงประดิษฐ์
มคี วามสมบูรณ์มากยงิ่ ขนึ้
3) จดุ ทีค่ วรพัฒนา
1. การจัดทาแผนงาน/โครงการท่ีทานอกแผนงานงบประมาณประจาปี จะต้องมีการปรับ
แผนบ่อยครั้งดังนั้น แผนกวิชาและงานต่าง ๆ ควรจะเสนอให้แล้วเสร็จก่อนจัดทารูปเล่มแผนปฏิบัติ
การประจาปี เพ่อื ไม่ใหก้ ระทบกบั งบประมาณท่ีไดร้ บั การจัดสรรแลว้
2. งบประมาณไม่เพยี งพอในการพัฒนาตามแผนพัฒนาสถานศึกษา
3. พัฒนา ปรับปรุง จุดบริการการเข้าถึงสัญญา เครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้
ครอบคลมุ ทุกพื้นที่
4. พฒั นาบุคลากร ท้งั ผูใ้ ช้งาน และผ้จู ัดการข้อมูลสารสนเทศ
5. ผ้บู ริหาร ควรให้ความสาคัญในการนาระบบตา่ ง ๆ มาใชง้ านท่ีมากข้ึน
6. เพ่ิมแหล่งการศึกษาค้นคว้าให้หลากหลาย เปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมทั้งใน
ด้านการบริหารงานวชิ าการบรหิ ารงานบุคคล การบรหิ ารงบประมาณและการบริหารงานทัว่ ไป
7. การประชาสมั พันธ์ถึงกลุ่มประชาชนท่รี บั บรกิ ารยงั ไม่ท่ัวถึงเทา่ ท่ีควร
8. ผู้เรยี นยงั ขาดทกั ษะในการนาเสนอผลงาน ทั้งดา้ นภาษาและบุคลกิ ภาพ
9. จานวนงานนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ งานวิจัยโครงการ บางสาขาแผนกวิชายังมีจานวน
น้อย จะต้องเสรมิ แรง/ความร้โู ดยการบูรณาการ แบบขา้ มวชิ า สอดแทรก เป็นตน้ เพอื่ จะทาให้จานวน
สิ่งประดิษฐ์ มีจานวนเพิ่มขึ้น และนักเรียน นักศึกษา จะได้บูรณาการในรายวิชาต่าง ๆ ได้อย่างมี
คณุ ภาพ และประสิทธภิ าพตอ่ ไป
10. ส่งเสริมให้ครูอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานเกี่ยวกับนวัตกรรมส่ิงประดิษฐ์งานวิจัย
และโครงการ ใหม้ จี านวนเพ่มิ ขนึ้
4) ข้อเสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
1. การดาเนินโครงการนอกแผนปฏิบัติราชการประจาปี ควรพิจารณาดาเนินการเฉพาะ
โครงการที่ไม่ส่งผลกระทบต่อโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีท่ีกาหนดไว้ และต้อง
มกี ารวางแผนระยะการจัดโครงการ เพอื่ ใหส้ ามารถจดั โครงการได้
2. ควรมีการจัดแผนการพฒั นาตามลาดบั ความสาคัญ
3. ระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีการใช้งาน ในระบบงานต่าง ๆ ควรได้รับการพัฒนาให้เป็น
ระบบงานเดยี วกันใชฐ้ านขอ้ มลู ร่วมกนั ได้ เพ่อื ลดการนาเข้าขอ้ มูล ลดเวลาการประมวลผล
4. ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดเป็นระบบความร่วมมอื ในการปฏิบตั ิงาน
5. ควรมีการพัฒนาทางดา้ นการประชาสัมพันธ์ ศูนย์ซอ่ มสรา้ งเพ่ือชมุ ชน Fix it center
6. ควรเพิม่ งบประมาณในการจดั ทาช้ินงานส่ิงประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจยั
สว่ นท่ี 5
ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561
ให้สถานศึกษารายงานผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการ
อาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 จานวน 3 มาตรฐาน ตามระดับการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ดังนี้
5.1 มาตรฐานที่ 1 คุณลกั ษณะของผู้สาเรจ็ การศกึ ษาอาชีวศึกษาที่พงึ ประสงค์
ตารางท่ี 1 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานท่ี 1 ในแตล่ ะประเด็นการ
ประเมิน
ประเด็นการประเมินท่ี 1 ด้านความรู้
ขอ้ การประเมนิ คะแนนทไี่ ด้
คา่ นาหนกั ค่าคะแนน (ค่านาหนักxค่า
คะแนน)
1.1 ผลการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี 20 5 100
ผลรวมคะแนนท่ไี ด้ 100
ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมนิ ท่ี 1 = (ผลรวมคะแนนท่ีได้ X 100.00
100) / 100
ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมนิ ท่ี 1 ด้านความรู้
ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
63
ประเด็นการประเมินที่ 2 ดา้ นทกั ษะและการประยุกตใ์ ช้
ขอ้ การประเมนิ คะแนนที่ได้
ค่านาหนัก คา่ คะแนน (คา่ นาหนักxค่า
คะแนน)
2.1 ผเู้ รียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการ 3 3 9
หรือการประกอบอาชีพอิสระ
2.2 ผลการแขง่ ขันทกั ษะวชิ าชพี 24 8
ผลรวมคะแนนท่ไี ด้ 17
ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินท่ี 2 = (ผลรวมคะแนนท่ไี ด้ X 68.00
100) / 25
ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ประเด็นการประเมินท่ี 2 ดา้ นทักษะและการประยุกตใ์ ช้
ยอดเยยี่ ม (ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พฒั นา (น้อยกว่ารอ้ ยละ 50.00)
64
ประเด็นการประเมินที่ 3 ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์
ข้อการประเมนิ คะแนนทีไ่ ด้
คา่ นาหนัก ค่าคะแนน (ค่านาหนักxคา่
คะแนน)
3.1 การดแู ลและแนะแนวผู้เรยี น 21 2
3.2 ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 25 10
3.3 การมงี านทาและศึกษาต่อของผสู้ าเร็จ 15 1 15
การศึกษา
ผลรวมคะแนนท่ไี ด้ 35
ร้อยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินท่ี 3 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 36.84
100) / 95
ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ประเดน็ การประเมินที่ 3 ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ
คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์
ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
65
5.2 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชวี ศกึ ษา
ตารางท่ี 2 ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานท่ี 2 ในแต่ละประเดน็ การ
ประเมิน
ประเดน็ การประเมนิ ท่ี 1 ด้านหลกั สูตรอาชีวศึกษา
ข้อการประเมนิ คะแนนทไ่ี ด้
คา่ นาหนกั ค่าคะแนน (คา่ นาหนกั xคา่
คะแนน)
1.1 การพฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะอย่างเปน็ 2 5 10
ระบบ
1.2 การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ หรือ 3 1 3
ปรบั ปรุงรายวิชา หรือปรบั ปรงุ รายวชิ าเดิม หรอื
กาหนดรายวิชาเพมิ่ เติม
ผลรวมคะแนนท่ไี ด้ 13
ร้อยละของคะแนน ประเดน็ การประเมนิ ท่ี 1 = (ผลรวมคะแนนทไี่ ด้ X 52.00
100) / 25
ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ประเด็นการประเมนิ ท่ี 3 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ
คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์
ยอดเยยี่ ม (ร้อยละ 80 ข้นึ ไป) ดีเลศิ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
66
ประเด็นการประเมินท่ี 2 ด้านการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษา
ข้อการประเมนิ คะแนนทไ่ี ด้
ค่านาหนกั คา่ คะแนน (ค่านาหนกั xคา่
คะแนน)
2.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรสู้ กู่ าร 25 10
ปฏิบตั ิ
2.2 การจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้สู่การปฏบิ ตั ิท่ี 3 5 15
เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั และนาไปใชใ้ นการจดั การ
เรียนการสอน
2.3 การจดั การเรียนการสอน 55 25
2.4 การบริหารจดั การช้ันเรยี น 35 15
2.5 การพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี 24 8
2.6 การเข้าถึงระบบอินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สูงเพ่ือ 2 1 2
การจัดการเรยี นการสอนในช้ันเรียน
ผลรวมคะแนนทีไ่ ด้ 75
ร้อยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินที่ 2 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 88.24
100) / 85
ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมนิ ที่ 2 ด้านการจัดการเรยี นการสอน
อาชีวศึกษา
ยอดเยยี่ ม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลังพฒั นา (น้อยกว่ารอ้ ยละ 50.00)
67
ประเดน็ การประเมินที่ 3 ดา้ นการบริหารจดั การ
ขอ้ การประเมนิ คะแนนทไ่ี ด้
ค่านาหนกั ค่าคะแนน (คา่ นาหนกั xค่า
คะแนน)
3.1 การบรหิ ารจดั การระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือ 5 5 25
การบริหารจัดการสถานศกึ ษา
3.2 อาคารสถานท่ี หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบตั กิ าร โรง 2 5 10
ฝกึ งาน หรืองานฟารม์
3.3 ระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน 25 10
3.4 แหล่งเรียนรู้และศนู ย์วทิ ยบรกิ าร 25 10
3.5 ระบบอินเทอรเ์ น็ตความเร็วสงู เพ่อื การใช้งาน 2 5 10
ดา้ นสารสนเทศภายในสถานศึกษา
ผลรวมคะแนนท่ีได้ 65
รอ้ ยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินท่ี 3 = (ผลรวมคะแนนท่ไี ด้ X 100.00
100) / 65
ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมนิ ที่ 3 ด้านการบรหิ ารจัดการ
ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ 80 ข้นึ ไป) ดเี ลศิ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
68
ประเด็นการประเมินที่ 4 ด้านการนานโยบายส่กู ารปฏิบตั ิ
ข้อการประเมิน คะแนนทีไ่ ด้
ค่านาหนัก ค่าคะแนน (คา่ นาหนกั xคา่
คะแนน)
4.1 การจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี 65 30
ผลรวมคะแนนที่ได้ 30
ร้อยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินที่ 4 = (ผลรวมคะแนนท่ีได้ X 100.00
100) / 30
ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเดน็ การประเมนิ ท่ี 4 ดา้ นการนานโยบายสู่การปฏิบตั ิ
ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ 80 ข้ึนไป) ดเี ลศิ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่ารอ้ ยละ 50.00)
69
5.3 มาตรฐานท่ี 3 การสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
ตารางที่ 3 ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 3 ในแตล่ ะประเดน็ การ
ประเมิน
ประเดน็ การประเมินท่ี 1 ด้านความร่วมมือในการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้
ข้อการประเมิน คะแนนทไ่ี ด้
คา่ นาหนัก คา่ คะแนน (คา่ นาหนักxคา่
คะแนน)
1.1 การบรหิ ารสถานศึกษาแบบมสี ว่ นรว่ ม 55 25
1.2 การระดมทรพั ยากรเพอื่ การจดั การเรยี นการสอน 2 5 10
1.3 การบริการชุมชนและจิตอาสา 25 10
ผลรวมคะแนนทีไ่ ด้ 45
รอ้ ยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินที่ 1 = (ผลรวมคะแนนทีไ่ ด้ X 100.00
100) / 45
ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเดน็ การประเมินที่ 1 ดา้ นความร่วมมือในการสรา้ ง
สังคมแหง่ การเรียนรู้
ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
70
ประเดน็ การประเมนิ ท่ี 2 ดา้ นนวตั กรรม สิง่ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย
ขอ้ การประเมนิ คะแนนที่ได้
ค่านาหนัก ค่าคะแนน (คา่ นาหนักxคา่
คะแนน)
2.1 ผลงานของผูเ้ รียนด้านนวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ 3 3 9
งานสร้างสรรค์ หรอื งานวจิ ัย
ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ 9
รอ้ ยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 2 = (ผลรวมคะแนนทีไ่ ด้ X 60.00
100) / 15
ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ประเด็นการประเมนิ ท่ี 2 ดา้ นนวตั กรรม สิ่งประดษิ ฐ์
งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ยั
ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ 80 ข้นึ ไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลังพฒั นา (น้อยกว่ารอ้ ยละ 50.00)
71
5.4 สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาโดยภาพรวม
ตารางท่ี 4 สรุปผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยภาพรวม
ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา รอ้ ยละ
ตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ.2561
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูส้ าเร็จการศกึ ษาอาชีวศึกษาท่พี งึ ประสงค์ 69.09
ประเดน็ ท่ี 1.1 ดา้ นความรู้ 100
ประเด็นท่ี 1.2 ดา้ นทักษะและการประยุกตใ์ ช้ 68
ประเดน็ ที่ 1.3 ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 36.84
มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชีวศึกษา 89.27
ประเดน็ ที่ 2.1 ดา้ นหลักสตู รอาชวี ศึกษา 52
ประเด็นท่ี 2.2 ดา้ นการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา 88.24
ประเด็นท่ี 2.3 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ 100
ประเด็นท่ี 2.4 ด้านการนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 100
มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ 90
ประเด็นที่ 3.1 ด้านความรว่ มมือในการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ 100
ประเดน็ ที่ 3.2 ด้านนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั 60
สรปุ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 80.21
ระดับคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
ยอดเยีย่ ม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
41
ส่วนท่ี 6
ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามบริบทของสถานศึกษาท่กี าหนด
เพ่ิมเตมิ
สถานศึกษารายงานการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษาทก่ี าหนดเพ่มิ เติม ในแตล่ ะมาตรฐานและประเด็นการประเมนิ ดงั นี้
- ไมม่ ีขอ้ กาหนดเพ่มิ เตมิ -
สว่ นท่ี 7
แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ให้สถานศกึ ษานาผลการประเมินและการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาศึกษา
วเิ คราะหเ์ พ่ือกาหนดแผนพัฒนายกระดบั คุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาให้เพิ่มขนึ้ โดยมเี ปา้ หมายใน
การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้อยใู่ นระดับคุณภาพ “ยอดเยี่ยม” รายละเอยี ดดังนี้
มาตรฐานและประเด็นการประเมนิ แผนพัฒนาเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม)
มาตรฐานที่ 1 คณุ ลักษณะของผ้สู าเร็จการศกึ ษาอาชีวศึกษาทพ่ี งึ ประสงค์
1.1 ดา้ นความรู้ 1. โครงการทดสอบฝีมือมาตรฐานวิชาชีพ
2. โครงการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ด้านอาชวี ศึกษา V-NET และ PV-NET
3. โครงการพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพรว่ มกับ
องค์กรภายนอกและประชาคมเครือขา่ ย
4. โครงการสอนตวิ เตอร์(Tutor) เพ่ือเตรียมความ
พรอ้ มก่อนการสอบจรงิ (V-NET)
5. โครงการวเิ คราะห์ข้อสอบ/จดั ทาธนาคารข้อสอบ
6. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษากอ่ นออกฝกึ อาชพี
7. โครงการสมั มนาการฝึกอาชีพ
8. โครงการนเิ ทศฝึกอาชีพภาคฤดรู ้อน
9. โครงการแขง่ ขันทักษะวชิ าชีพและวิชาสามัญ
10. โครงการ English Speaking Day
11. โครงการASEAN Day
12. โครงการจ้างครูต่างประเทศ
13. โครงการพฒั นาทกั ษะทางภาษาเพ่ือการประกอบ
อาชพี หรอื ศึกษาต่อได้กับนกั เรยี น นกั ศึกษา ปวช.3/
ปวส.2
14. โครงการ English Day Camp ไดก้ ับนักเรียน
นกั ศกึ ษา
15. โครงการตวิ ความรภู้ าษาอังกฤษกอ่ นสอบV-NET
ให้กับ นักศึกษา ปวช.3/ปวส.2
16. โครงการเปิดหลักสตู รการเรียนการสอนระบบทวิศกึ ษา
17. โครงการเปดิ หลกั สูตรการเรยี นการสอนระบบทวิภาคี
มาตรฐานและประเดน็ การประเมิน 74
1.2 ดา้ นทักษะและการประยุกตใ์ ช้
1.3 ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะท่พี ึง แผนพัฒนาเพ่ือยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของ
ประสงค์ สถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม)
มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชวี ศกึ ษา 18. โครงการเปดิ หลกั สตู รการเรยี นการสอนระดบั
2.1 ด้านหลกั สูตรอาชวี ศึกษา ปรญิ ญาตรี
1. โครงการส่งเสริมสวัสดิการนกั เรยี น นักศึกษา
(อินเตอรเ์ นต็ )
2. โครงการสง่ เสริมหอ้ งเรยี นพเิ ศษดา้ นวชิ าการ
1. โครงการลดปญั หาการออกกลางคนั ของผู้เรียน
อาชวี ศึกษาผา่ นระบบ ออนไลน์ (SMS)
2. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ (ป.ตร)ี
3. โครงการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และปจั ฉิมนเิ ทศของ
สถานประกอบการ (ป.ตร)ี
3. โครงการปจั ฉมิ นิเทศ มอบใบประกาศนยี บัตรและ
อาลาพระวษิ ณุกรรม
4. โครงการสง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมนกั เรียน นักศกึ ษา
5. โครงการสง่ เสรมิ ดนตรี กีฬา นนั ทนาการ
6. โครงการอบรมจริยธรรมนาชวี ิต (นักเรยี น ระดบั ปวช.2)
7. โครงการมอบประกาศนยี บัตรสอบธรรมะ
8. โครงการสอบธรรมศึกษาชั้นนักธรรมตรี
9. โครงการอบรมคณุ ธรรม จริยธรรม (ป.ตรี)
10. โครงการเข้าค่ายปฐมนิเทศนกั เรียนนกั ศกึ ษาใหม่
11. โครงการแขง่ ขันทักษะวชิ าชีพและวิชาสามญั
12. โครงการฝกึ อบรมผู้ชว่ ยเจ้าหนา้ ทีต่ ารวจงานจราจร
13. โครงการค่ายอาสาสามัญสัมพันธ์
1. โครงการแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาชีพและวชิ าสามญั
2. โครงการทดสอบฝมี ือมาตรฐานวิชาชีพ
3. โครงการพฒั นาข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพรว่ มกบั
องค์กรภายนอกและประชาคมเครือขา่ ย
4. โครงการเสรมิ ทกั ษะทางคณิตศาสตร์
5. โครงการปรบั พนื้ ฐานก่อนเรยี นของนักศึกษา ป.ตรี ปี 1
6. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการการพัฒนาหลักสตู ร
และการเขยี นแผนการจดั การเรียนรฐู้ านสมรรถนะ
อาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาตรฐานและประเดน็ การประเมิน 75
2.2 ด้านการจดั การเรยี นการสอนอาชีวศึกษา
แผนพัฒนาเพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษาของ
2.3 ด้านการบริหารจดั การ สถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม)
7. โครงการวจิ ัยรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
อาชีพ STEM Education การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะ
1. โครงการจา้ งครหู รือผเู้ ชยี่ วชาญในสาขาเฉพาะ
2. โครงการจัดซอื้ ส่ือการเรียนรู้หนังสอื อ่าน
ประกอบการเรียนการสอน
3. โครงการเชญิ ผเู้ ชี่ยวชาญ ผมู้ ีประสบการณ์เฉพาะ
สาขาร่วมในการสอบมาตรฐานวชิ าชพี
4. โครงการ English Speaking Day
1. โครงการทดสอบฝีมือมาตรฐานวชิ าชีพ
2. โครงการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ น
อาชีวศึกษา V-NET และ PV-NET
3. โครงการพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวชิ าชพี รว่ มกับ
องค์กรภายนอกและประชาคมเครือข่าย
4. โครงการสอนติวเตอร์ (Tutor) เพ่ือเตรียมความ
พรอ้ มก่อนการสอบจรงิ (V-NET)
5. โครงการวิเคราะห์ขอ้ สอบ/จดั ทาธนาคารข้อสอบ
6. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกฝกึ อาชีพ
7. โครงการสัมมนาการฝึกอาชีพ
8. โครงการนิเทศฝกึ อาชีพภาคฤดรู อ้ น
9. โครงการแข่งขนั ทักษะวิชาชีพและวชิ าสามญั
10. โครงการ English Speaking Day
11. โครงการASEAN Day
12. โครงการจ้างครูต่างประเทศ
13. โครงการพัฒนาทกั ษะทางภาษาเพื่อการประกอบ
อาชีพหรือศกึ ษาต่อได้กับนกั เรียน นักศกึ ษา ปวช.3/
ปวส.2
14. โครงการ English Day Camp ได้กับนักเรียน
นักศกึ ษา
15. โครงการติวความรู้ภาษาองั กฤษกอ่ นสอบV-NET
ให้กับ นกั ศึกษา ปวช.3/ปวส.2
16. โครงการเปดิ หลกั สตู รการเรยี นการสอนระบบทวิศึกษา
มาตรฐานและประเด็นการประเมนิ 76
แผนพัฒนาเพอื่ ยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษาของ
สถานศกึ ษา (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)
17. โครงการเปดิ หลักสูตรการเรียนการสอนระบบทวภิ าคี
18. โครงการเปดิ หลกั สูตรการเรยี นการสอนระดบั
ปริญญาตรี
19. โครงการลดปญั หาการออกกลางคนั ของผเู้ รียน
อาชีวศึกษาผา่ นระบบ ออนไลน์ (SMS)
20. โครงการปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาใหม่ (ป.ตร)ี
21. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปัจฉิมนิเทศของ
สถานประกอบการ (ป.ตรี)
22. โครงการปจั ฉิมนเิ ทศ มอบใบประกาศนียบตั รและ
อาลาพระวิษณุกรรม
23. โครงการสง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมนกั เรียน นกั ศึกษา
24. โครงการส่งเสริมดนตรี กีฬา นันทนาการ
25. โครงการอบรมจริยธรรมนาชีวติ (นกั เรียน ระดบั
ปวช.)
26. โครงการมอบประกาศนียบตั รสอบธรรมะ
27. โครงการสอบธรรมศึกษาชนั้ นกั ธรรมตรี
28. โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม (ป.ตร)ี
29. โครงการเข้าค่ายปฐมนเิ ทศนกั เรยี นนกั ศึกษาใหม่
30. โครงการสง่ เสรมิ สวัสดกิ ารนักเรียน นักศึกษา
(อินเทอรเ์ นต็ )
31. โครงการสง่ เสรมิ หอ้ งเรียนพิเศษด้านวชิ าการ
32. โครงการศนู ยซ์ ่อมสรา้ งชุมชน (Fix it center)
33. โครงการอาชีวะอาสา
34. โครงการสอนหลกั สูตรระยะสั้น
35. โครงการพระราชดารฯิ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ
36. โครงการช่วยเหลือประชาชน จากภัยพบิ ตั ิ
ธรรมชาติฯ
37. โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาศักยภาพศูนย์บ่มเพาะ
ผู้ประกอบการอาชีวศึกษา
38. โครงการประกวดส่ือนวัตกรรม งานวิจยั
ส่ิงประดิษฐ์ของคนร่นุ ใหม่และโครงงาน
มาตรฐานและประเด็นการประเมนิ 77
แผนพฒั นาเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)
39. โครงการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์สมาคม
วทิ ยาศาสตรฯ์ อาชีวศึกษา-เอสโซ่ ระดับอาชีวศึกษา
จังหวดั เลย
40. โครงการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์สมาคม
วิทยาศาสตร์ฯอาชีวศึกษา-เอสโซ่ ระดบั อาชีวศกึ ษา
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
41. โครงงานวิทยาศาสตร์ระดบั ปวช. และ ปวส.
42. โครงการแขง่ ขันทักษะวิชาชีพและวชิ าสามญั
43. โครงการเสริมทักษะทางคณติ ศาสตร์
44. โครงการปรับพน้ื ฐานก่อนเรยี นของนักศกึ ษาป.ตรี ปี 1
45. โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารการพัฒนาหลกั สตู ร
และการเขียนแผนการจัดการเรียนรูฐ้ านสมรรถนะ
อาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
46. โครงการวิจยั รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน
อาชพี STEM Education การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะ
47. โครงการจา้ งครูหรือผู้เชีย่ วชาญในสาขาเฉพาะ
48. โครงการจัดซ้ือสือ่ การเรยี นรหู้ นงั สืออา่ น
ประกอบการเรยี นการสอน
49. โครงการเชิญผูเ้ ชี่ยวชาญ ผมู้ ปี ระสบการณ์เฉพาะ
สาขาร่วมในการสอบมาตรฐานวิชาชพี
50. โครงการ English Speaking Day
51. โครงการฝึกอบรมผูช้ ว่ ยเจา้ หนา้ ทีต่ ารวจงานจราจร
52. โครงการค่ายอาสาสามัญสมั พนั ธ์
55. โครงการอยู่คา่ ยพักแรมและเดินทางไกลลูกเสือ
(กิจกรรมลูกเสือ)
56. โครงการตรวจสขุ ภาพประจาปีสุขภาพดีมคี วามสุข
และป้องกนั ปราบปรามสารเสพติดในสถานศึกษา
57. โครงการตรวจเยยี่ มหอพักดว้ ยความรกั ศษิ ย์
58. โครงการตรวจสารเสพติดนกั เรยี น นักศึกษา
59. โครงการเยีย่ มบา้ นนักเรียนนักศกึ ษาท่ีมปี ญั หา
ดา้ นการเรยี น
มาตรฐานและประเดน็ การประเมิน 78
2.4 ด้านการนานโยบายสู่การปฏิบตั ิ
แผนพฒั นาเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม)
60. โครงการสมั มนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารการพัฒนาทักษะ
การชว่ ยเหลือนักเรียน นกั ศึกษาในการปรับปรุง
พฤติกรรมเบยี่ งเบนโดยกระบวนการให้คาปรึกษา
61. โครงการสานสัมพันธ์ของนกั ศึกษา ป.ตรี
วทิ ยาลยั เทคนคิ เลย
62. โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นาศกั ยภาพการ
วัดผลและประเมินผลผ้เู รยี นแบบองิ ฐานสมรรถนะ
63. โครงการสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารการพัฒนาทักษะ
การชว่ ยเหลือนกั เรียน นกั ศึกษาในการปรับปรุง
พฤติกรรมเบ่ยี งเบนโดยกระบวนการให้คาปรกึ ษา
64. โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์เพื่อพฒั นา
สถานศกึ ษาตามแนวทางนโยบายสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาภายใตห้ ลกั ปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง
65. โครงการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี 2561 ตาม
แนวทางนโยบายสานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษาภายใต้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
66. โครงการสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือในการจดั การ
เรยี นการสอนวิทยาลยั เทคนคิ และวชิ าชพี แบบประสม
สปป.ลาว
67. โครงการพฒั นาทกั ษะทางภาษาใหก้ ับเจ้าหน้าท่ี
งานและบุคลากรของ วทิ ยาลัยเทคนคิ เลย
68. โครงการพัฒนาศกั ยภาพทางภาษาให้กับกบั
ครผู ู้สอนแผนกต่าง ๆ ของวิทยาลัยเทคนิคเลย
69. โครงการจัดอบรมบุคลากรเกี่ยวกับงานพสั ดุ
วิทยาลัยเทคนคิ เลย
70. โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร
1. โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาศักยภาพการ
วดั ผลและประเมินผลผเู้ รียนแบบองิ ฐานสมรรถนะ
2. โครงการสัมมนาเชงิ ปฏิบตั ิการการพฒั นาทักษะการ
ช่วยเหลอื นกั เรียน นกั ศึกษาในการปรับปรงุ พฤตกิ รรม
เบ่ยี งเบนโดยกระบวนการให้คาปรกึ ษา
79
มาตรฐานและประเด็นการประเมิน แผนพัฒนาเพอื่ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศกึ ษา (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม)
3. โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์เพ่ือพัฒนา
สถานศกึ ษาตามแนวทางนโยบายสานกั งาน
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาภายใตห้ ลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. โครงการจดั ทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี 2561 ตาม
แนวทางนโยบายสานกั งานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษาภายใต้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. โครงการฝึกอบรมผชู้ ว่ ยเจ้าหน้าทีต่ ารวจงานจราจร
6. โครงการสร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือในการจดั การ
เรียนการสอนวิทยาลัยเทคนคิ และวชิ าชพี แบบประสม
สปป.ลาว
7. โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาใหก้ บั เจา้ หน้าทง่ี าน
และบคุ ลากรของวทิ ยาลัยเทคนิคเลย
8. โครงการพัฒนาศักยภาพทางภาษาให้กบั กบั
ครผู ู้สอนแผนกต่าง ๆ ของวทิ ยาลยั เทคนิคเลย
9. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการการพฒั นาหลักสตู ร
และการเขียนแผนการจัดการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ
อาชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
10. โครงการวิจยั รปู แบบการจดั การเรียนการสอน
อาชพี STEM Education การศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะ
11. โครงการจัดอบรมบุคลากรเกี่ยวกบั งานพัสดุ
วทิ ยาลัยเทคนคิ เลย
12. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
มาตรฐานที่ 3 การสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ 1. โครงการสง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมนกั เรียน นักศึกษา
3.1 ดา้ นความร่วมมือในการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ 2. โครงการส่งเสรมิ ดนตรี กีฬา นันทนาการ
3. โครงการอยู่ค่ายพักแรมและเดินทางไกลลูกเสอื
(กิจกรรมลูกเสือ)
4. โครงการตรวจสขุ ภาพประจาปสี ขุ ภาพดีมีความสขุ
และปอ้ งกนั ปราบปรามสารเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
5. โครงการตรวจเย่ยี มหอพกั ดว้ ยความรกั ศิษย์
80
มาตรฐานและประเด็นการประเมนิ แผนพฒั นาเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม)
6. โครงการตรวจสารเสพติดนักเรยี น นักศึกษา
7. โครงการเยย่ี มบา้ นนักเรียนนกั ศึกษาท่ีมปี ัญหาด้าน
การเรียน
8. โครงการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั ิการการพฒั นาทักษะการ
ช่วยเหลือนักเรยี น นกั ศึกษาในการปรบั ปรุงพฤติกรรม
เบย่ี งเบนโดยกระบวนการให้คาปรึกษา
9. โครงการสานสมั พันธ์ของนักศึกษา ป.ตรี
วทิ ยาลยั เทคนคิ เลย
3.2 ดา้ นนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจยั 1. โครงการนาผลงานสงิ่ ประดิษฐไ์ ปใชป้ ระโยชนแ์ ละ
เผยแพรส่ ชู่ มุ ชน
2. โครงการประกวดสื่อนวตั กรรม งานวิจัย
ส่ิงประดิษฐ์ของคนร่นุ ใหม่และโครงงาน ระดบั
สถานศึกษา
3. โครงการประกวดส่ือนวัตกรรม งานวจิ ยั
สง่ิ ประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และโครงงาน ระดบั
อาชวี ศกึ ษาจังหวัด
4. โครงการประกวดสื่อนวตั กรรม งานวจิ ยั
สิ่งประดิษฐ์ของคนรนุ่ ใหมแ่ ละโครงงาน ระดบั
อาชวี ศกึ ษาภาค
5. โครงการประกวดส่ือนวตั กรรม งานวจิ ัย
สิ่งประดิษฐข์ องคนรุน่ ใหม่และโครงงาน ระดับ
อาชวี ศกึ ษาชาติ
6. โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สมาคม
วิทยาศาสตร์ฯอาชวี ศึกษา-เอสโซ่ ระดบั อาชีวศกึ ษา
จังหวดั เลย
7. โครงการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์สมาคม
วิทยาศาสตร์ฯอาชีวศึกษา-เอสโซ่ ระดบั อาชีวศึกษา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
8. โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับ ปวช. และ ปวส.
ภาคผนวก
82
ภาคผนวก ก
- รางวลั และผลงานของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564
83
84
85
86
87
88
.
89
90
91
92
93
94