The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณกำลังมีอาการเหล่านี้หรือเปล่า มือขา ปวดมือ ข้อนิ้วเคล็ด นิ่วเหยียดไม่สุด จนนำไปสู่โรงทางมือ พบกับเคล็ดลับการดูแลและป้องกันโรคฮิตในหมู่วัยทำงานไปจนถึงวัยชรา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มือป่วยได้ ถ้าใช้มากเกิน

คุณกำลังมีอาการเหล่านี้หรือเปล่า มือขา ปวดมือ ข้อนิ้วเคล็ด นิ่วเหยียดไม่สุด จนนำไปสู่โรงทางมือ พบกับเคล็ดลับการดูแลและป้องกันโรคฮิตในหมู่วัยทำงานไปจนถึงวัยชรา

Keywords: สุขภาพ,สสส.

มอื เปน็ อวยั วะทเ่ี ราใชง้ านเกอื บตลอดเวลาและทงั้ ชวี ติ ไมว่ า่
เราจะทำ�อะไรก็มักมีมือเป็นองค์ประกอบร่วมเสมอ ซ่ึงการ
ใชง้ านมอื ดว้ ยลกั ษณะทา่ ทางทแี่ ตกตา่ งกนั ไปบางทา่ นน้ั อาจ
เป็นปัจจัยท่ีทำ�ให้เราเกิดอาการเคล็ด ติดขัด ตึง ปวดมือ
จนน�ำ ไปสโู่ รคทางมอื อยา่ งเชน่ โรคพงั ผดื กดทบั เสน้ ประสาท
มีเดยี นที่ข้อมอื (โรคพงั ผดื ข้อมอื ) และโรคน้วิ ล็อค อนั เปน็

โรคฮอตฮิตในหมู่วยั ท�ำ งานไปจนถึงวัยชรา

เร่ิมแรกลองสังเกตกนั ดวู ่า...
คณุ ก�ำ ลังมีอาการเหลา่ นห้ี รอื เปลา่
มอื ชา ปวดมือ ข้อน้ิวเคล็ด นิ้วเหยยี ดไมส่ ดุ !
ถ้าใช่ มอื ของคณุ อาจก�ำ ลังเสีย่ งกับการเปน็ ...

โรคพงั ผดื กดทับ
เส้นประสาทมเี ดียนที่ข้อมอื

หรือท่ีคนท่ัวไปรู้จักกันว่า โรคเส้นประสาทข้อมือถูกกดทับ
หรือโรคพังผืดข้อมือ เกิดจากการใช้งานข้อมือซำ้�ๆ หรือ
กระดกข้อมือค้างไว้นานๆ ทำ�ให้เกิดความดันในช่องกระดูก
หรืออุโมงค์ข้อมือเพิ่มข้ึน ซ่ึงผนังตรงช่องกระดูกข้อมือคือ
พังผืด เมื่อเส้นประสาทมีเดียนที่วิ่งผ่านช่องกระดูกข้อมือถูก
กดทับ ทำ�ให้ขาดเลือดไปเล้ียง เส้นประสาทจะบวมและถูก
ทำ�ลาย เกิดการหนาตัวของพังผืด ระยะแรกจะมีอาการชา
ที่ปลายนิ้ว และระยะต่อมาจะมีอาการกล้ามเน้ืออ่อนแรง

เสน้ ประสาทมเี ดยี นคอื อะไร

เส้นประสาทมเี ดยี น (Median Nerve) เปน็
เส้นประสาทที่วิ่งลงมาตามแขนและตามปลาย
แขน เปน็ เสน้ ประสาทเพยี งเสน้ เดยี วทผ่ี า่ นเขา้ มา
ในอุโมงคข์ ้อมือ (Carpal Tunnel) โดยทำ�หนา้ ที่
นำ�กระแสประสาทมาเล้ียงกล้ามเน้ือบริเวณมือ
และนิ้วมอื ตามภาพ

ลกั ษณะอาการ

รู้สึกชาหรือปวดท่ีบริเวณ
น้ิวหัวแม่มือ น้ิวช้ี นิ้วกลาง และ
ครึง่ หนึ่งของนวิ้ นาง บางขณะอาจ
ปวดรา้ วไปทที่ อ่ นแขน และมกั เปน็
ตอนกลางคืนขณะหลับ บางครั้ง
ปวดจนต้องต่ืนขึ้นกลางดึก หรือ
มอี าการตอนเชา้ หลงั ตนื่ นอน พอได้
ขยับมือจะเร่ิมอาการดีข้ึน ถ้ามี
อาการเรอ้ื รงั เปน็ เวลานานจะท�ำ ให้
กล้ามเนื้อบริเวณนิ้วหัวแม่มือ
ออ่ นแรง จนการใชง้ านของมอื ลดลง

รู้ได้อยา่ งไร

ว่าเป็นโรคพงั ผดื กดทับ
เสน้ ประสาทมเี ดียนทขี่ ้อมอื

ลองเอาหลังมือชนกันโดยให้ปลาย
นว้ิ ชล้ี งทพ่ี น้ื ถา้ มอี าการชา หรอื ปวดท่ี
ปลายนว้ิ หวั แมม่ อื นว้ิ ช้ี นว้ิ กลาง หรอื
ครง่ึ หนง่ึ ของนว้ิ นางภายในเวลา 1 นาที
ให้สงสัยว่าอาจมีภาวะพังผืดกดทับ
เส้นประสาทมีเดียน ควรไปพบแพทย์
เพ่ือทำ�การตรวจวัดกระแสไฟฟ้าของ
เส้นประสาทมีเดียน จะช่วยยืนยันการ
วนิ จิ ฉยั และบอกความรนุ แรงของโรคได้

ใครสามารถเป็นโรคนไี้ ดบ้ ้าง

ทุกคนที่มีการทำ�งานที่ต้อง ผทู้ มี่ ภี าวะอว้ น
เคลื่อนไหวข้อมือซำ้�ๆ เช่น
การจับเมาส์ท่าเดิมนานๆ เล่น
สมารท์ โฟนหรอื แทบ็ เลต็ ตลอด
เวลา จับกรรไกร หรือการ
ทำ�งานบ้าน เข้าครัว ทำ�สวน
เช่น การจับไม้กวาด จับมีด
ร่วมกับการเกร็งข้อมือขณะกำ�
ส่ิงของจะทำ�ใหเ้ กดิ ภาวะพงั ผดื
กดทับเส้นประสาทได้มากข้ึน

เคยประสบ คนเป็นโรคเบาหวาน หรือ
อุบตั ิเหตุกระดูกหกั โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
บรเิ วณข้อมือ หรอื ไทรอยด์ เปน็ ตน้

คนที่มอี าการ เพศหญิงมีโอกาส
ข้อมือเส่ือม เป็นโรคนี้มากกว่า
เพศชาย

ท่านอนก็สามารถ
ทำ�ใหเ้ ปน็ โรคพังพืดขอ้ มือได้

• การทขี่ อ้ มอื เราอยใู่ นทา่ ทไี่ มเ่ หมาะสมไมว่ า่ จะ มเี พศสัมพันธผ์ ิดทา่
ตอนใช้งานหรือไม่ได้ใช้งาน เช่น เวลานอนหลับ
มกี ารกระดกขอ้ มอื มากเกนิ 32.7 องศา หรอื กระดก ทำ�ให้เกิดโรคพังผืดข้อมือ
ข้อมือลงมากเกิน 48.6 องศา เป็นเวลานานเกิน หากมีเพศสัมพันธ์กันในท่า
2 ชวั่ โมง ท�ำ ใหเ้ สน้ ประสาทมเี ดยี นถกู กดทบั มากขน้ึ กระดกข้อมือข้ึนเป็นเวลา
• การนอนตะแคงมีผลกับการเกิดโรคพังผืด นาน รว่ มกบั การท่ีตอ้ งแบก
กดทับเส้นประสาทมีเดียนในข้างน้ันๆ ด้วยเช่น รับนำ้�หนักของร่างกายส่วน
กัน เพราะการนอนตะแคงจะทำ�ให้ข้อมืองอหรือ บนนั้น มีความสัมพันธ์กับ
เอียงมากกว่าปกติ ไปเพิ่มความดันในช่องข้อมือที่ การเกดิ โรคพงั ผดื กดทบั เสน้
เสน้ ประสาทมากข้นึ ประสาททีข่ อ้ มอื ได้

โรคนิว้ ล็อค

เป็นโรคทางมือที่เกิดจากการกำ�มือแน่น งอน้ิวมือนานหรือซ้ำ�ๆ
ทำ�ให้เส้นเอ็นและปลอกหุ้มเส้นเอ็นที่ฝ่ามือมีแรงกระทำ�ต่อกัน
มากจนเส้นเอ็นและปลอกหุ้มเส้นเอ็นหนาตัวข้ึน มักพบบ่อยใน
กลุ่มผู้สูงอายุท่ีใช้มือทำ�กิจกรรมหยิบจับสิ่งของอยู่ตลอดเวลา
เชน่ หวิ้ ของหนกั บดิ ผา้ ดว้ ยมอื เปลา่ จ�ำ นวนมากๆ หรอื ผสู้ งู อายทุ ่ี
เป็นโรคเบาหวาน โรคในกลุ่มรูมาตอยด์ เป็นต้น แต่เป็นโรคที่
สามารถป้องกันและรักษาให้หายได้ ถ้าดูแลตนเองอย่างถูกวิธี

ผูห้ ญงิ เปน็ โรคน้ิวล็อคมากกว่าผชู้ าย 2-6 เทา่

ช่วงอายุท่ีพบมากที่สุดคือ อายุ 50-60 ปีและ
ผู้ป่วยโรคเบาหวานเป็นโรคนิ้วล็อคมากกว่าคน
ปกตถิ งึ 4 เทา่ ! โดยรอ้ ยละ 4 เปน็ มากกวา่ หนงึ่ นว้ิ

ลักษณะอาการ

เป็นภาวะที่นิ้วมือล็อคติดอยู่ในท่างอ
เวลาเหยยี ดนว้ิ จะตดิ ขดั และสะดดุ อาการน้ี
สามารถเกดิ ขน้ึ ไดก้ บั ทกุ นว้ิ และเกดิ พรอ้ มกนั
ได้หลายน้ิว ส่วนใหญ่พบในนิ้วหัวแม่มือ
มากท่ีสุด รองลงมาคือ นิ้วนาง นิ้วกลาง
น้ิวกอ้ ย และนว้ิ ชี้ ตามลำ�ดบั และผู้ปว่ ยมัก
มอี าการนว้ิ ลอ็ คมากขน้ึ ในชว่ งหลงั ตนื่ นอน
โดยเฉพาะตอนทเ่ี รม่ิ ขยบั นวิ้ งอเหยยี ด จะมี
อาการปวดจากการสะดุดล็อคของเส้นเอน็
และปลอกหุ้มเส้นเอ็น แต่พองอเหยียดไป
สกั ระยะหนง่ึ อาการก็จะดีขึน้

ปวดน้ิวลอ็ คของคุณอยู่ระดับไหน

อาการของโรคนว้ิ ลอ็ คมีอยู่ 4 ระดบั ได้แก่
ระดับหนง่ึ ปวด และกดเจบ็ ทปี่ ลอกหุม้ เส้นเอน็ ตำ�แหน่ง
ฝ่ามือ เคยงอเหยยี ดนิ้วแลว้ สะดดุ แตต่ รวจ
รา่ งกายอาจไมพ่ บวา่ สะดดุ
ระดับสอง ตรวจพบการสะดดุ เวลางอเหยียดน้ิว ยัง
สามารถเหยยี ดนิว้ เองไดส้ ุด
ระดบั สาม น้วิ ตดิ ลอ็ คต้องใช้มอื ช่วยเหยียด หรืองอจงึ จะสดุ
ระดบั สี่ นวิ้ ติดล็อคไมส่ ามารถเหยยี ดนวิ้ ให้สุดได้

ใครสามารถเปน็ โรคนไ้ี ด้บา้ ง

คนท่ีใช้งานมือซ้ำ�ๆ หรือทำ�
กิจกรรมที่ต้องกำ�มือแน่นและ
เกร็งข้อมือ เช่น การทำ�ความ
สะอาดบ้าน (ซักผา้ , กวาดบา้ น
เป็นต้น) ทำ�ครัว ทำ�สวน การ
ใชง้ านโทรศพั ทส์ มารท์ โฟนหรอื
คอมพิวเตอร์ตลอดวัน ห้ิวของ
หนกั ๆ ใชก้ รรไกร
ผสู้ ูงอายุที่ป่วยเป็นโรค
เบาหวาน โรคไต โรคของ
ตอ่ มไทรอยด์ และโรคใน
กล่มุ รูมาตอยด์ เปน็ ต้น

งานอดิเรกเพิ่มความเสย่ี ง
ต่อการเกิดโรคน้วิ ล็อค

ควรระมดั ระวงั ในการท�ำ กจิ กรรมงานอดเิ รก อาทิ
งานหตั ถกรรม เชน่ การทำ�ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ การ
เยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย หรอื การเขยี นหนงั สอื ทตี่ อ้ งมกี าร
เหยียดงอหรือกดนวิ้ ซ�้ำ ๆ หากทำ�เป็นงานอดเิ รก
ระยะสนั้ ๆ จะมโี อกาสเกดิ โรคนว้ิ ลอ็ คต�่ำ แตห่ าก
ท�ำ เปน็ กจิ วตั รประจ�ำ วนั หรอื เปน็ อาชพี จะมคี วาม
เสยี่ งในการเปน็ โรคนวิ้ ลอ็ คสูงข้ึน

ท�ำ อย่างไร
ใหห้ า่ งไกลโรคทางมือ

1. หลีกเล่ียงการทำ�งานโดยการงอข้อมือ
กำ�มอื หรอื เกรง็ ขอ้ มอื ตดิ ต่อกนั นานๆ โดยควร
หยุดพกั การใชง้ านมือทุก 15-25 นาทใี น 1 ชั่วโมง
2. ฝึกการใชม้ ือที่ถกู ต้อง เช่น
• การเขยี นหนังสอื ควรใชป้ ากกาด้ามใหญแ่ ละ
หมกึ ไหลลนื่ เพอ่ื หลกี เลยี่ งการใชน้ ว้ิ จบั ปากกาแรง
และกดกระดาษแรง
• การใช้เมาสค์ อมพวิ เตอร์ ควรหาแผน่ รองเมาส์
ที่มสี ่วนรองรับข้อมือ
• กขอ้ารมใอื ชใ้แหปอ้ น้ยพูร่ ะิมดพบั ค์ ขอ้อมศพอกิวเหตอรือรต์ ค�ำ่ วกรวพา่ ยขาอ้ ยศาอมกยก

เล็กน้อย เปน็ ตน้
3. ควบคมุ น้ำ�หนักตวั และโรคเรื้อรงั ท่เี ป็นอยู่
4. ผอ่ นคลายอิริยาบถด้วยการบริหารมือและ
ข้อมอื ตามนี้

ท่าดดั น้ิวดนั ลง

ยกแขนขึ้นระดับไหล่ ใช้มือข้างหนึ่ง
ด5-นั 1ข0อ้ วมินือาทนีว้ิ ทมำ�ือซเห้ำ�ย5ีย-1ด0ลงคสรุดัง้ ค้างไว้
/ เซ็ต
สลบั ท�ำ อีกข้างหน่งึ วนั ละ 2-3 เซต็

ทา่ กระดกข้อมือ

เร่ิมจากควำ่�มือลง มือถือขวดนำ้�หรือวัตถุที่มีนำ้�
หนักพอเหมาะ จากนั้นค่อยๆ กระดกข้อมือข้ึน
คให่อมย่มการกะทดี่สกุดขเ้อทม่าือทล่ีทงำ�ใไนดท้ ิศนท่ิงคาง้าตงไรวง้ ก2ันวขิน้ามาทที แำ�ลซ้ว้ำ�
10-15 ครง้ั / เซต็ สลบั ท�ำ อกี ขา้ งหนง่ึ วนั ละ 2-3 เซต็

12345

ทา่ งอนวิ้ กำ�มือ

เร่ิมจากแบมือ คอ่ ยๆ งุ้มปลายนวิ้ ทง้ั ส่ีลงจนอยู่ในทา่ กำ�มือ หลงั จากน้นั ให้เหยยี ดปลายนิว้
ทเหงั้ ยสยีอ่ี ดอตกรใงนขทณ�ำ ซะ�ำ้ทๆมี่ อื1ย0งั-1งมุ้5อคยรู่ แั้งล/ว้ เงซอต็ นสว้ิ ทลบังั้ สทกี่ �ำ ลอบั กี มขา้าองหยใู่นนง่ึ ทวันา่ กล�ำ ะม2อื -อ3กี เคซรต็ งั้ โดยนวิ้ หวั แมม่ อื

ท่าบีบลกู บอล

ถือลูกเทนนิสไว้ในมือ ค่อยๆ ทอ�ำ อซก�้ำ แ1ร0ง-บ1ีบ5 1
มากเทา่ ทท่ี �ำ ไดแ้ ลว้ คลายออก
ครง้ั / เซต็ สลบั ท�ำ อกี ขา้ งหนง่ึ วนั ละ 2-3 เซต็
2

ท่ากางงา้ งนวิ้ มอื

ใช้ยางยืดคล้องปลายน้ิวมือในลักษณะห่อนิ้ว จาก
ทน้ั่ีนแคล่อว้ ยคๆอ่ ยกๆางปนลิ้วอ่ ทยั้งกหล้าับอสอู่ทกา่ ใเนรลมิ่ ักตษน้ ณทะำ�แซบ้ำ�ม1ือ0เ-ต1็ม5
1 2 ครั้ง / เซต็ แล้วสลบั ทำ�อกี ข้างหนงึ่ วันละ 2-3 เซ็ต

เรียบเรยี งขอ้ มลู บางสว่ นจาก
หนงั สอื วิถชี ีวติ กบั โรคทางมือ โดย อ.นพ.เทพรตั น์ กาญจนเทพศกั ด์ิ
คู่มือภาวะโรคทางกระดูกและข้อกับการออกกำ�ลังกายในผู้สูงอายุ
กรมพลศกึ ษา
เว็บไซตห์ มอชาวบา้ น www.doctor.or.th
สามารถสืบค้นข้อมลู และหนังสือเพิ่มเตมิ ได้ทหี่ อ้ งสร้างปญั ญา
ศูนยเ์ รียนรูส้ ขุ ภาวะ ส�ำ นกั งานกองทุนสนบั สนนุ การสง่ เสริมสขุ ภาพ (สสส.)
หรือดาวน์โหลดได้ท่ี resource.thaihealth.or.th โทร. 02-343-1500 กด 2


Click to View FlipBook Version